• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6c3d9d929a7e94852eaf76ab3c3dffd6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u20220/banner_vio3.jpg\" height=\"238\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"35\" src=\"/files/u20220/badtz_maru_12.gif\" height=\"30\" />  <img border=\"0\" width=\"236\" src=\"/files/u20220/Untitled-copy.jpg\" height=\"70\" />  <img border=\"0\" width=\"35\" src=\"/files/u20220/badtz_maru_12.gif\" height=\"30\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n        <a href=\"/node/42978\"><img border=\"0\" width=\"170\" src=\"/files/u20220/front.jpg\" hspace=\"20\" height=\"82\" style=\"width: 170px; height: 75px\" /></a><a href=\"/node/48721\"><img border=\"0\" width=\"180\" src=\"/files/u20220/link2.jpg\" height=\"71\" /></a> <a href=\"/node/44234\"><img border=\"0\" width=\"160\" src=\"/files/u20220/link8.jpg\" hspace=\"10\" height=\"73\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">          <span style=\"color: #800000\"> จากการที่โลหะเงินสามารถหาได้ง่ายกว่าโลหะทองคำ จึงมีมูลค่า                                                                      ในการแลกเปลี่ยนสินค้าอื่นน้อยกว่าโลหะทองคำ ประกอบกับมีจำนวนมาก                              <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"140\" src=\"/files/u20220/m102_01copy.jpg\" hspace=\"70\" height=\"107\" />                                       โลหะเงินจึงเหมาะที่จะนำมาใช้เป็นสื่อกลาง ในการแลกเปลี่ยน หรืออีกนัยหนึ่งเพราะการนำโลหะเงินมาซื้อสินค้าที่ต้องการ เป็นที่นิยมกันเป็นจำนวนมากและกว้างขวางกว่าโลหะทองคำ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #800000\">         </span><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800000\"> การยอมรับก้อนโลหะเงินว่าเป็นสื่อกลาง ในการชำระหนี้อย่าง        กว้างขวางในสังคมต่างๆ นี้ มีผลช่วยให้การแลกเปลี่ยนสินค้า กระทำ        กันได้กว้างขวางมาก การค้าระหว่างหมู่บ้านและเมืองต่างๆ จึงเจริญขึ้น     แต่ก็ยังมีปัญหาและความ ยุ่งยากในเรื่องของน้ำหนัก และความบริสุทธิ์</span>    <span style=\"color: #800000\">ของเนื้อเงิน</span></span>                                                                                         <span style=\"color: #808000\"> </span></span><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">จารึกกฎหมายของกษัตริย์ฮัมบูราบีและ<br />\n</span></span>                                                                                                               <span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\">เงินรูปนกฮูกของชาวกรีก</span></span></span></span><span style=\"color: #808000\"> </span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #008080\">                                                      <span style=\"color: #999999\">  <span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"> แหล่งที่มา : </span></span></span><a href=\"http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_01.jpg\"><u><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_01.jpg</span></span></span></span></u></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">          <span style=\"color: #800000\">ดังนั้น ผู้ที่ใช้โลหะเงินชำระหนี้ค่าสินค้า จึงมักรับรองในเรื่องน้ำหนัก                                                                    และความบริสุทธิ์ของเนื้อเงิน โดยการประทับตราอันเป็นเครื่องหมายเฉพาะตัว                                     <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"79\" src=\"/files/u20220/m102_02copy.jpg\" hspace=\"80\" height=\"70\" />                              ลงไปบนแท่งเงิน จึงเกิดเป็น “เงินตรา” ขึ้นการค้าขายก็คล่องตัวมากยิ่งขึ้น แต่      ถึงแม้จะเป็นเช่นนั้น การนำแท่งเงินประทับตรา ไปใช้ในเมืองที่ห่างไกลออกไป       ก็ยังคงมีปัญหาเรื่องความบริสุทธิ์ของเนื้อเงิน ซึ่งโยงไปถึงเรื่องการยอมรับชำระ    หนี้ค่าสินค้า</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">                              <span style=\"color: #808000\">                                                                                  <span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\"> <span style=\"color: #808000\">  เหรียญทองของชาวลิเดีย</span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">แหล่งที่มา : </span></span></span><a href=\"http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_02.jpg\"><span style=\"color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_02.jpg</span></span></span></u></span></a>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #008080\">         <span style=\"color: #800080\"> <span style=\"color: #800000\"> <span style=\"color: #800000\">ดังนั้นเพื่อความสงบสุขของประชาชน พระเจ้าแผ่นดินหรือ หัวหน้า                                   <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"161\" src=\"/files/u20220/m102_04copy.jpg\" hspace=\"40\" height=\"101\" />                                     ผู้ปกครองของแต่ละเมืองจึงจำเป็นต้องมีหน้าที่ ที่จะต้องจัดทำเงินตราของตน       ให้ได้มาตรฐานเดียวกัน ทั้งน้ำหนัก ความบริสุทธิ์ และมีขนาดต่างๆเพื่อความ    สะดวกในการชำระหนี้ โดยตีตราประจำพระองค์ และตราประจำแผ่นดิน ไว้เป็นสำคัญ</span></span></span><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">            แท่งเงินประทับตรา จึงมีขนาดต่างๆ ลดหลั่นกันลงไป ตามขนาดของ น้ำหนัก และใช้เป็นมาตรฐานที่เรียกว่า “หน่วยของเงิน” ซึ่งปรากฏในจารึกกฎหมาย ของพระเจ้าฮัมมูราบิ (Hammurabi) กษัตริย์แห่งบาบิโลน ในสมัยเมื่อ 1792 ปี ถึง 1750 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งกล่าวไว้เกี่ยวกับการใช้ก้อนเงิน ในขนาด</span><span style=\"color: #800000\">และน้ำหนัก ตามที่กฏหมายกำหนดไว้ในสมัยนั้นว่า “ถ้าคนสามัญตบหน้าคนสามัญ</span></span>               <span style=\"color: #808000\"> <span style=\"color: #808000\">   <span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #808000\">เงินจอบและเงินมีดของมีด</span></span></span></span>             <span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">จะต้องเสียค่าปรับเป็น (โลหะ) เงินสิบเชคเกล”</span> </span></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #999999\">                                   <span style=\"color: #999999\"> <span style=\"color: #999999\">แหล่งที่มา : </span></span></span><a href=\"http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_04.jpg\"><span style=\"color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_04.jpg</span></span></span></u></span></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">           <span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800080\"> <span style=\"color: #800000\">ส่วนการผลิตเหรียญเงินขึ้นใช้เป็นครั้งแรกในโลกนั้น เกิดขึ้นเมื่อประมาณ                                                            700 ปีก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าแผ่นดินแห่งอาณาจักรลิเดีย (Lydia) ซึ่งปัจจุบัน                                                              เป็นส่วนหนึ่งของประเทศตุรกี ได้นำเม็ดโลหะเงินผสมทอง ที่เรียกว่าอีเลคตรัม                                                     (Electrum)  ประทับตราหัวสิงห์โต ซึ่งเป็นตราพระราชลัญจกรของพระองค์ลงไป                                                              เพื่อรับรองน้ำหนักหรือนัยหนึ่งคือให้มูลค่าของเหรียญที่มีขนาดต่างๆ กัน</span></span><span style=\"color: #800000\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">            ระบบการผลิตเงินตรา จึงเป็นระเบียบและแพร่ไปทางตะวันตกของ                                      <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"184\" src=\"/files/u20220/m102_03copy.jpg\" hspace=\"25\" height=\"82\" />                              ประเทศตุรกี รวมไปถึงประเทศกรีกโบราณ ภายในเวลาไม่ช้านักชาวกรีกก็รับระบบ  การผลิตเงินตราไปใช้ โดยที่ประเทศกรีกมีการเดินเรือและการค้าทางทะเลอย่างกว้างขวางทำให้เหรียญเงินและเหรียญทองแบบกรีก ซึ่งมีลักษณะกลม มีตราประทับทั้งสองด้านสามารถแพร่ไปยังเมืองต่างๆ อย่างกว้างขวางโดยรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและโดยเฉพาะกรุงโรม </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #800000\">            </span><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #800000\"> <span style=\"color: #800000\">ในที่สุดระบบเงินตราก็เป็นที่นิยมกันในทวีปยุโรป และประเทศ</span></span><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">ใกล้เคียง</span></span>               <span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\"> <span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #808000\">เงินกากบาทของชาวตังก้าและ</span></span></span></span>        <span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #800000\">เมื่ออาณาจักรโรมันขยายอำนาจออกไป ระบบการผลิตเหรียญเงินก็แพร่ออกไปทั่วโลก</span></span></span>          <span style=\"color: #808000\"> <span style=\"color: #808000\"> </span></span></span><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #808000\">เงินห่วงทองคำของชาวซูดาน</span></span> </span></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">แหล่งที่มา : </span></span></span><a href=\"http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_03.jpg\"><span style=\"color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_03.jpg</span></span></span></u></span></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\">             <span style=\"color: #800000\">นอกจากโลหะเงินแล้ว ยังมีการนำโลหะชนิดอื่นๆ มาผลิตขึ้น เป็นเงินตรา                                                            ในดินแดนส่วนต่างๆ ของโลก เช่นกัน ดังเช่น เงินเครื่องมือรูปจอบ และมีดทำด้วย                                                               โลหะบรอนซ์ของจีน ซึ่งประเทศจีน ผลิตขึ้นเป็นเงินตรา เมื่อประมาณ 500 ปีก่อน                                                           คริสต์ศักราช ต่อมา จึงได้เริ่มผลิตเหรียญกลม มีรูสี่เหลี่ยมอยู่ตรงกลาง เมื่อประมาณ                                                           221 ปีก่อนคริสต์ศักราช  แม้ว่าประเทศจีนจะมีแร่เงิน เป็นจำนวนมาก แต่เงินตราของ                                                            จีนก็ยังคงเป็นก้อนโดย มีรูปและขนาดต่างๆ กัน ต่อมาอีกนานการผลิตเหรียญเงินขึ้นใช้ในจีน                                                  เพิ่งจะเริ่มมีขึ้นก็ต่อเมื่อ  มีการค้ากับทวีปยุโรป และมีเหรียญกลมแบน เข้ามาในประเทศแล้ว                                                   นอกจากนี้ ในทวีปแอฟริกา มีการใช้เงินรูปกำไลทองแดงของประเทศไนจีเรีย เงินทำด้วย                                                      ทองแดง รูปกากบาทของประเทศคองโก เงินตราที่ทำเป็นรูปห่วงทองคำของประเทศอียิปต์                                                 และประเทศซูดานในสมัยโบราณ เป็นต้น</span></span><span style=\"color: #800000\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"358\" src=\"/files/u20220/line32.gif\" height=\"34\" />\n</p>\n', created = 1726863646, expire = 1726950046, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6c3d9d929a7e94852eaf76ab3c3dffd6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เงินตราโลก

 

   

 

         

 

           จากการที่โลหะเงินสามารถหาได้ง่ายกว่าโลหะทองคำ จึงมีมูลค่า                                                                      ในการแลกเปลี่ยนสินค้าอื่นน้อยกว่าโลหะทองคำ ประกอบกับมีจำนวนมาก                                                                     โลหะเงินจึงเหมาะที่จะนำมาใช้เป็นสื่อกลาง ในการแลกเปลี่ยน หรืออีกนัยหนึ่งเพราะการนำโลหะเงินมาซื้อสินค้าที่ต้องการ เป็นที่นิยมกันเป็นจำนวนมากและกว้างขวางกว่าโลหะทองคำ

          การยอมรับก้อนโลหะเงินว่าเป็นสื่อกลาง ในการชำระหนี้อย่าง        กว้างขวางในสังคมต่างๆ นี้ มีผลช่วยให้การแลกเปลี่ยนสินค้า กระทำ        กันได้กว้างขวางมาก การค้าระหว่างหมู่บ้านและเมืองต่างๆ จึงเจริญขึ้น     แต่ก็ยังมีปัญหาและความ ยุ่งยากในเรื่องของน้ำหนัก และความบริสุทธิ์    ของเนื้อเงิน                                                                                          จารึกกฎหมายของกษัตริย์ฮัมบูราบีและ
                                                                                                               เงินรูปนกฮูกของชาวกรีก

                                                         แหล่งที่มา : http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_01.jpg

          ดังนั้น ผู้ที่ใช้โลหะเงินชำระหนี้ค่าสินค้า จึงมักรับรองในเรื่องน้ำหนัก                                                                    และความบริสุทธิ์ของเนื้อเงิน โดยการประทับตราอันเป็นเครื่องหมายเฉพาะตัว                                                                   ลงไปบนแท่งเงิน จึงเกิดเป็น “เงินตรา” ขึ้นการค้าขายก็คล่องตัวมากยิ่งขึ้น แต่      ถึงแม้จะเป็นเช่นนั้น การนำแท่งเงินประทับตรา ไปใช้ในเมืองที่ห่างไกลออกไป       ก็ยังคงมีปัญหาเรื่องความบริสุทธิ์ของเนื้อเงิน ซึ่งโยงไปถึงเรื่องการยอมรับชำระ    หนี้ค่าสินค้า

                                                                                                                   เหรียญทองของชาวลิเดีย

แหล่งที่มา : http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_02.jpg


           ดังนั้นเพื่อความสงบสุขของประชาชน พระเจ้าแผ่นดินหรือ หัวหน้า                                                                        ผู้ปกครองของแต่ละเมืองจึงจำเป็นต้องมีหน้าที่ ที่จะต้องจัดทำเงินตราของตน       ให้ได้มาตรฐานเดียวกัน ทั้งน้ำหนัก ความบริสุทธิ์ และมีขนาดต่างๆเพื่อความ    สะดวกในการชำระหนี้ โดยตีตราประจำพระองค์ และตราประจำแผ่นดิน ไว้เป็นสำคัญ

            แท่งเงินประทับตรา จึงมีขนาดต่างๆ ลดหลั่นกันลงไป ตามขนาดของ น้ำหนัก และใช้เป็นมาตรฐานที่เรียกว่า “หน่วยของเงิน” ซึ่งปรากฏในจารึกกฎหมาย ของพระเจ้าฮัมมูราบิ (Hammurabi) กษัตริย์แห่งบาบิโลน ในสมัยเมื่อ 1792 ปี ถึง 1750 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งกล่าวไว้เกี่ยวกับการใช้ก้อนเงิน ในขนาดและน้ำหนัก ตามที่กฏหมายกำหนดไว้ในสมัยนั้นว่า “ถ้าคนสามัญตบหน้าคนสามัญ                   เงินจอบและเงินมีดของมีด             จะต้องเสียค่าปรับเป็น (โลหะ) เงินสิบเชคเกล”

                                    แหล่งที่มา : http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_04.jpg

            ส่วนการผลิตเหรียญเงินขึ้นใช้เป็นครั้งแรกในโลกนั้น เกิดขึ้นเมื่อประมาณ                                                            700 ปีก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าแผ่นดินแห่งอาณาจักรลิเดีย (Lydia) ซึ่งปัจจุบัน                                                              เป็นส่วนหนึ่งของประเทศตุรกี ได้นำเม็ดโลหะเงินผสมทอง ที่เรียกว่าอีเลคตรัม                                                     (Electrum)  ประทับตราหัวสิงห์โต ซึ่งเป็นตราพระราชลัญจกรของพระองค์ลงไป                                                              เพื่อรับรองน้ำหนักหรือนัยหนึ่งคือให้มูลค่าของเหรียญที่มีขนาดต่างๆ กัน

            ระบบการผลิตเงินตรา จึงเป็นระเบียบและแพร่ไปทางตะวันตกของ                                                                    ประเทศตุรกี รวมไปถึงประเทศกรีกโบราณ ภายในเวลาไม่ช้านักชาวกรีกก็รับระบบ  การผลิตเงินตราไปใช้ โดยที่ประเทศกรีกมีการเดินเรือและการค้าทางทะเลอย่างกว้างขวางทำให้เหรียญเงินและเหรียญทองแบบกรีก ซึ่งมีลักษณะกลม มีตราประทับทั้งสองด้านสามารถแพร่ไปยังเมืองต่างๆ อย่างกว้างขวางโดยรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและโดยเฉพาะกรุงโรม

             ในที่สุดระบบเงินตราก็เป็นที่นิยมกันในทวีปยุโรป และประเทศใกล้เคียง                เงินกากบาทของชาวตังก้าและ        เมื่ออาณาจักรโรมันขยายอำนาจออกไป ระบบการผลิตเหรียญเงินก็แพร่ออกไปทั่วโลก            เงินห่วงทองคำของชาวซูดาน

แหล่งที่มา : http://www.thaibankmuseum.or.th/images/m102_03.jpg

             นอกจากโลหะเงินแล้ว ยังมีการนำโลหะชนิดอื่นๆ มาผลิตขึ้น เป็นเงินตรา                                                            ในดินแดนส่วนต่างๆ ของโลก เช่นกัน ดังเช่น เงินเครื่องมือรูปจอบ และมีดทำด้วย                                                               โลหะบรอนซ์ของจีน ซึ่งประเทศจีน ผลิตขึ้นเป็นเงินตรา เมื่อประมาณ 500 ปีก่อน                                                           คริสต์ศักราช ต่อมา จึงได้เริ่มผลิตเหรียญกลม มีรูสี่เหลี่ยมอยู่ตรงกลาง เมื่อประมาณ                                                           221 ปีก่อนคริสต์ศักราช  แม้ว่าประเทศจีนจะมีแร่เงิน เป็นจำนวนมาก แต่เงินตราของ                                                            จีนก็ยังคงเป็นก้อนโดย มีรูปและขนาดต่างๆ กัน ต่อมาอีกนานการผลิตเหรียญเงินขึ้นใช้ในจีน                                                  เพิ่งจะเริ่มมีขึ้นก็ต่อเมื่อ  มีการค้ากับทวีปยุโรป และมีเหรียญกลมแบน เข้ามาในประเทศแล้ว                                                   นอกจากนี้ ในทวีปแอฟริกา มีการใช้เงินรูปกำไลทองแดงของประเทศไนจีเรีย เงินทำด้วย                                                      ทองแดง รูปกากบาทของประเทศคองโก เงินตราที่ทำเป็นรูปห่วงทองคำของประเทศอียิปต์                                                 และประเทศซูดานในสมัยโบราณ เป็นต้น

 

 

สร้างโดย: 
อ.อรกุล ไวว่อง และ น.ส.ชัญญานุช จันทโชติวรรณ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 463 คน กำลังออนไลน์