• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:66da06908ecd10a59a92a86ab573e8f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>ระบบสุริยะ (THE SOLAR SYSTEM)</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"325\" src=\"/files/u19930/325px-Solar_sys.jpg\" height=\"204\" style=\"width: 313px; height: 195px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มาของรูป  m3-2.tmv.ac.th/7008/\n</p>\n<p>\n          ในบรรดาดาวฤกษ์นับพัน ๆ ดวงที่ประกอบเป็นกาแล็กซีของเรานั้นมีอยู่ดวงหนึ่งซึ่งเป็นดาวฤกษ์ขนาดกลางอยู่แถบชายขอบของกาแล็กซี ที่เราควรให้ความสนใจเป็นพิเศษเพราะว่าเราอยู่ใกล้กับมัน  ดาวฤกษ์ดวงนี้คือดวงอาทิตย์ (the sun) นั่นเอง  ดาวฤกษ์ที่ไม่เหมือนดาวฤกษ์ใดดวงนี้กับดาวเคราะห์ทั้งหลายที่เป็นบริวารซึ่งหมุนรอบตัวเองและโคจรไปรอบดวงอาทิตย์นี้ก่อให้เกิดสิ่งที่เราเรียกว่า ระบบสุริยะ (solar system)  ซึ่งประกอบด้วยดาวเคราะห์ที่รู้จักกับแล้ว  ดาวบริวารต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นสิ่งที่เราเรียกว่าวงแถบดาวเคราะห์น้อย (the Asteriod belt) ซึ่งอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี   วงแถบดาวเคราะห์น้อยนี้อาจจะเป็นเศษเหลือจกาการที่ดาวเคราะห์เก่าแก่ที่ถูกทำลายลงก็ได้\n</p>\n<p>\n<strong>ดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์ที่เป็นบริวาร (THE SUN AND ITS PLANETS)<br />\n</strong>          ดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่กว่าดาวเคราะห์ทุกดวง  แม้แต่ดาวพฤหัสบดีซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุด  มวลสารของระบบสุริยจักรวาลเกือบร้อยละ  99  อยู่ในดวงอาทิตย์  ส่วนที่เหลือกระจัดกระจายกันไปเป็นดาวเคราะห์ทั้งหมด  ดาวเคราะห์เหล่านี้หมุนรอบตัวเองตามวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ ระยะเวลาที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ครบ  1  รอบ เรียกว่า  1  ปี สำหรับโลกใช้เวลาประมาณ 365 วัน แต่ระยะเวลา  1 ปีของดาวเคราะห์แต่ละดวงนั้นก็ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับว่าดาวเคราะห์ดวงนั้น ๆ  อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากเท่าใด  ระยะเวลา 1 ปีที่สั้นที่สุดเป็นของดาวพุธ (Mercury) คือเพียง  88  วันเท่านั้น และระยะเวลา  1  ปีที่ยาวที่สุดเป็นของดาวยม (พลูโต  pluto)  ซึ่งเท่ากับ  248  ปีของโลก\n</p>\n<p>\n<strong>การก่อเกิด (ORIGINS)</strong><br />\n          เมื่อราว  5  พันล้านปีมาแล้ว  ในบริเวณที่เป็นระบบสุริยะปัจจุบันเต็มไปด้วยธุลีและก๊าซจากดาวฤกษ์ประเภทซูเปอร์โนวา (supernova)  ดวงหนึ่งที่ระเบิดออกมาก่อนหน้านั้น  ต่อมาสสารต่าง ๆ  เหล่านี้ก็ควบแน่นเข้ากันด้วย แรงของความถ่วง (the force of gravity)  ทำให้เกิดเป็นแกนที่มีความหนาแน่นสูงขึ้นแกนหนึ่ง  ซึ่งแกนนี้ได้ดึงดูดเอาสสารทั้งหลายเข้ามารวมกันเป็นกลุ่มที่ก่อรูปขึ้นเป็นดวงอาทิตย์  ส่วนสสารที่เหลือก็ก่อรูปขึ้นเป็นกลุ่มรูปจานแบนรอบดาวฤกษ์ดวงนี้  ต่อมาการปะทะกันระหว่างอนุภาคต่าง ๆ  และก้อนหินเล็ก ๆ  ยังผลให้เกิดการคอดตัวขึ้นในที่บางแห่ง  ซึ่งต่อมาก็ขาดออกจากกันกลายเป็นก้อนมวลหลายก้อนที่เราเรียกว่าดาวเคราะห์ในปัจจุบัน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/43260\">กลับหน้าแรก</a>                                                                                                                                  <a href=\"/node/46860\">หน้าต่อไป</a>\n</p>\n', created = 1715472554, expire = 1715558954, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:66da06908ecd10a59a92a86ab573e8f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ (THE SOLAR SYSTEM)

ที่มาของรูป  m3-2.tmv.ac.th/7008/

          ในบรรดาดาวฤกษ์นับพัน ๆ ดวงที่ประกอบเป็นกาแล็กซีของเรานั้นมีอยู่ดวงหนึ่งซึ่งเป็นดาวฤกษ์ขนาดกลางอยู่แถบชายขอบของกาแล็กซี ที่เราควรให้ความสนใจเป็นพิเศษเพราะว่าเราอยู่ใกล้กับมัน  ดาวฤกษ์ดวงนี้คือดวงอาทิตย์ (the sun) นั่นเอง  ดาวฤกษ์ที่ไม่เหมือนดาวฤกษ์ใดดวงนี้กับดาวเคราะห์ทั้งหลายที่เป็นบริวารซึ่งหมุนรอบตัวเองและโคจรไปรอบดวงอาทิตย์นี้ก่อให้เกิดสิ่งที่เราเรียกว่า ระบบสุริยะ (solar system)  ซึ่งประกอบด้วยดาวเคราะห์ที่รู้จักกับแล้ว  ดาวบริวารต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นสิ่งที่เราเรียกว่าวงแถบดาวเคราะห์น้อย (the Asteriod belt) ซึ่งอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี   วงแถบดาวเคราะห์น้อยนี้อาจจะเป็นเศษเหลือจกาการที่ดาวเคราะห์เก่าแก่ที่ถูกทำลายลงก็ได้

ดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์ที่เป็นบริวาร (THE SUN AND ITS PLANETS)
          ดวงอาทิตย์มีขนาดใหญ่กว่าดาวเคราะห์ทุกดวง  แม้แต่ดาวพฤหัสบดีซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุด  มวลสารของระบบสุริยจักรวาลเกือบร้อยละ  99  อยู่ในดวงอาทิตย์  ส่วนที่เหลือกระจัดกระจายกันไปเป็นดาวเคราะห์ทั้งหมด  ดาวเคราะห์เหล่านี้หมุนรอบตัวเองตามวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ ระยะเวลาที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ครบ  1  รอบ เรียกว่า  1  ปี สำหรับโลกใช้เวลาประมาณ 365 วัน แต่ระยะเวลา  1 ปีของดาวเคราะห์แต่ละดวงนั้นก็ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับว่าดาวเคราะห์ดวงนั้น ๆ  อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากเท่าใด  ระยะเวลา 1 ปีที่สั้นที่สุดเป็นของดาวพุธ (Mercury) คือเพียง  88  วันเท่านั้น และระยะเวลา  1  ปีที่ยาวที่สุดเป็นของดาวยม (พลูโต  pluto)  ซึ่งเท่ากับ  248  ปีของโลก

การก่อเกิด (ORIGINS)
          เมื่อราว  5  พันล้านปีมาแล้ว  ในบริเวณที่เป็นระบบสุริยะปัจจุบันเต็มไปด้วยธุลีและก๊าซจากดาวฤกษ์ประเภทซูเปอร์โนวา (supernova)  ดวงหนึ่งที่ระเบิดออกมาก่อนหน้านั้น  ต่อมาสสารต่าง ๆ  เหล่านี้ก็ควบแน่นเข้ากันด้วย แรงของความถ่วง (the force of gravity)  ทำให้เกิดเป็นแกนที่มีความหนาแน่นสูงขึ้นแกนหนึ่ง  ซึ่งแกนนี้ได้ดึงดูดเอาสสารทั้งหลายเข้ามารวมกันเป็นกลุ่มที่ก่อรูปขึ้นเป็นดวงอาทิตย์  ส่วนสสารที่เหลือก็ก่อรูปขึ้นเป็นกลุ่มรูปจานแบนรอบดาวฤกษ์ดวงนี้  ต่อมาการปะทะกันระหว่างอนุภาคต่าง ๆ  และก้อนหินเล็ก ๆ  ยังผลให้เกิดการคอดตัวขึ้นในที่บางแห่ง  ซึ่งต่อมาก็ขาดออกจากกันกลายเป็นก้อนมวลหลายก้อนที่เราเรียกว่าดาวเคราะห์ในปัจจุบัน

 

กลับหน้าแรก                                                                                                                                  หน้าต่อไป

สร้างโดย: 
นางสาว สุดารัตน์ ธัญรัตนมงคล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 312 คน กำลังออนไลน์