• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c7ae87cd772d0b0a76a38ea7d0b4e9da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b>ไข้ไทฟอยด์คืออะไร</b>\n</p>\n<p>\nไข้ไทฟอยดท์เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่เรียกว่า Salmonella Typhi เชื้อนี้จะอยู่ในน้ำและอาหาร หากการสาธารณะสุขดีการระบาดของเชื้อนี้จะลดลง\n</p>\n<p>\n<b>คนรับเชื้อนี้ได้อย่างไร</b>\n</p>\n<p>\nคนจะรับเชื้อนี้จากการรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อโรค คนที่เป็นโรคจะขับถ่ายเชื้ออกทางอุจาระ เชื้อนี้อาจจะปนเปื้อนในน้ำตามธรรมชาติ หรืออาจจะปนเปื้อนอาหาร ผู้ป่วยบางคนจะมีเชื้อในร่างกายที่เรียก carrier ซึ่งสามารถขับเชื้อออกสิ่งแวดล้อมได้ตลอดเวลาโดยที่ไม่มีอาการเมื่อคนได้รับเชื้อ เชื้อจะเข้าสู่ลำไส้ ต่อมน้ำเหลือง ตับ ม้าม โดยทางกระแสเลือด\n</p>\n<p>\n<b>อาการของโรคนี้เป็นอย่างไร</b>\n</p>\n<p>\nหลังจากได้รับเชื้อนี้1-2 สัปดาห์ผู้ป่วยจะเริ่มเกิดอาการเบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ปวดตามตัว มีไข้สูง 40.5 องศา มีอาการท้องร่วง บางรายอาจจะมีผื่นขึ้นตามตัว บางรายอาจจะมีอาการแน่นท้อง หากไม่รักษาผู้ป่วยบางรายหายเองได้ใน3-4 สัปดาห์\n</p>\n<p>\n<b>การวินิจฉัย</b>\n</p>\n<p>\nสามารถเพาะเชื้อจากเลือดในสัปดาห์แรก การวินิจฉัยอย่างอื่นไม่บ่งจำเพาะ\n</p>\n<p>\n<b>การรักษา</b>\n</p>\n<p>\nก่อนที่จะมียาปฏิชีวนะอัตราการตายประมาณร้อยละ 10 แต่หลังจากมียาปฏิชีวนะอัตราการตายลดลงผู้ป่วยอาจจะตายจากปอดบวม ลำไส้ทะลุถ้าผู้ป่วยเพลียมากก็ให้น้ำเกลือ และยาปฏิชีวนะ\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<b>โรคแทรกซ้อน</b>\n</p>\n<p>\nเลือดออกทางเดินอาหาร\n</p>\n<p>\nลำไส้ทะลุ\n</p>\n<p>\nไตวาย\n</p>\n<p>\nช่องท้องอักเสบ\n</p>\n<p>\n<b>การป้องกัน</b>\n</p>\n<ol>\n<li>หลีกเลี่ยงอาหารที่มีเชื้อโรค </li>\n</ol>\n<p>\nให้ดื่นน้ำต้มสุกทุกครั้ง\n</p>\n<p>\nน้ำขวดจะมีความปลอดภัยสูงกว่าน้ำดื่มทั่วไป\n</p>\n<p>\nเวลาดื่มน้ำไม่ต้องใส่น้ำแข็ง\n</p>\n<p>\nรับประทานอาหารที่ทำให้สุกใหม่ๆ\n</p>\n<p>\nผักหรือผลไม่ต้องล้างให้สะอาดจริงๆเพราะปนเปื้อนเชื้อได้ง่าย\n</p>\n<p>\nผลไม้ที่มีเปลือกให้ปลอกเปลือกออก\n</p>\n<p>\nล้างมือก่นรับประทานอาหารทุกครั้ง\n</p>\n<p>\nหลีกเลี่ยงอาหารจากร้านค้าข้างถนน\n</p>\n<ol start=\"2\">\n<li><span style=\"font-size: x-small\">การทำลายเชื้อในอุจจาระปัสสาวะ และสิ่งปนเปื้อน : ให้ทำลายพร้อมๆ กัน ในชุมชนที่มีระบบการกำจัดที่ทันสมัยและเพียงพอ ให้ทิ้งโดยตรงลงท่อไม่ต้องทำลายเชื้อก่อน <br />\n การกักกัน : ไม่มี <br />\n การให้ภูมิคุ้มกันแก่ผู้สัมผัส: เนื่องจากการฉีดวัคซีนทัยฟอยด์ไม่มีประสิทธิผลจึงไม่แนะนำให้ใช้กับผู้สัมผัสผู้ป่วย เช่นผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้อยู่ในครอบครัวและบุคลากรทางสาธารสุขที่อาจได้รับเชื้อจากคนป่วย แต่อาจพิจารณาให้กับผู้สัมผัสกับผู้เป็นพาหะ <br />\n การสอบสวนผู้สัมผัสและแหล่งโรค:ควรดำเนินการค้นหาผู้ป่วยที่ไม่รายงาน คนที่เป็นพาหะหรือค้นหาแหล่งอาหารน้ำนมและอาหารทะเลในกลุ่มนักเดินทางท่องเที่ยว ที่พบผู้ป่วย ควรได้ติดตามเฝ้าระวังคนอื่น ๆ ด้วย การที่มีระดับของภูมิคุ้มกันต่อVi polysaccarideที่สูงขึ้น มักจะบ่งชี้ว่าคนนั้นเป็นพาหะของไข้ทัยฟอยด ์การแยกเชื้อเพื่อให้ทราบ phage type ในผู้ป่วยและผู้ที่เป็นพาหะนั้น ก็เพื่อจะค้นหาวงจรของการแพร่เชื้อ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน หรือผู้สัมผัสใกล้ชิดไม่ควรจะประกอบอาชีพที่มีโอกาสแพร่เชื้อ เช่นประกอบอาหาร/ปรุงอาหารจนกว่าจะไม่พบเชื้อในอุจจาระและปัสสาวะอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน24 ชั่วโมง <br />\n การรักษาเฉพาะ:ใช้ยา chloramphenicol, amoxicillin หรือ co-trimoxazole ในการรักษาการติดเชื้อแบบเฉียบพลันซึ่งให้ผลการรักษาที่ดีกลุ่มยา quinoloneและcephalosporins ก็ให้ผลการรักษาที่ดีเช่นกันเชื้อที่ทำการแยกได้แล้วสมควรจะทำการทดสอบหาการดื้อยาด้วย บางสายพันธุ์พบว่าดื้อต่อยา chloramphenicol, ampicillin และ amoxicillin แต่มีความไวต่อยา co-trimoxazoleสำหรับยาพวก steroidพบว่าให้ผลกับคนไข้ที่มีอาการหนัก <br />\n ค. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด<br />\n ค้นหาผู้ป่วยหรือพาหะซึ่งเป็นแหล่งแพร่เชื้อและอาหารหรือน้ำที่อาจเป็นสาเหตุของการระบาด <br />\n เรียกเก็บอาหารที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุ หรือห้ามบริโภค <br />\n พาสเจอร์ไรส์หรือต้มนมและหยุดการบริโภคผลิตภัณฑ์นมหรืออาหาที่สงสัย จนกว่าจะมีการตรวจที่แน่ชัดว่าปลอดภัย <br />\n ใส่คลอรีนในแหล่งน้ำที่สงสัยให้เพียงพอภายใต้การแนะนำที่เหมาะสม หรือหยุดการใช้น้ำฆ่าเชื้อน้ำดื่มด้วยคลอรีนไอโอดีนหรือต้มสุก <br />\n ไม่แนะนำให้ใช้วัคซีนแก่คนทั่วไป อาจพิจารณาใช้ในบางกรณี <br />\n ง. สัญญาณภัยที่ควรระวัง : การแพร่เชื้อไข้ทัยฟอยด์อาจเกิดขึ้นในที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบการจัดหาน้ำ การกำจัดสิ่งปฏิกูลและการสุขาภิบาลอาหาร และน้ำซึ่งอาจเนื่องมาจากมีผู้ป่วย หรือพาหะในกลุ่มคนที่มีการอพยพเคลื่อนย้าย การใช้ความพยายามในการปรับปรุงแหล่งน้ำดื่ม และการกำจัดสิ่งปฏิกูลให้ปลอดภัยจะมีประโยชน์มากกว่าการให้วัคซีนทัยฟอยด์แก่ชุมชน </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">จ. มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ </span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\">นักท่องเที่ยวที่จะเข้าไปยังพื้นที่ที่มีมีโรคประจำถิ่น ควรได้รับวัคซีนไข้ทัยฟอยด์โดยเฉพาะ ถ้าการเดินทางนั้นมีโอกาสได้บริโภคอาหารและน้ำที่ไม่ปลอดภัยหรือต้องไปสัมผัสใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะชนบทไม่มีกฎหมายบังคับการให้ฉีดวัคซีนก่อนเข้าประเทศ <br />\n ให้ความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลกเรื่องไข้ทัยฟอยด์และไข้พาราทัยฟอยด์ </span></li>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><a href=\"/node/39658\"> &lt;</a></span> <a href=\"/node/39658\">กลับสู่หน้าหลัก</a>\n</p>\n', created = 1715496180, expire = 1715582580, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c7ae87cd772d0b0a76a38ea7d0b4e9da' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไข้ไทฟอยด์

ไข้ไทฟอยด์คืออะไร

ไข้ไทฟอยดท์เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่เรียกว่า Salmonella Typhi เชื้อนี้จะอยู่ในน้ำและอาหาร หากการสาธารณะสุขดีการระบาดของเชื้อนี้จะลดลง

คนรับเชื้อนี้ได้อย่างไร

คนจะรับเชื้อนี้จากการรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่ปนเปื้อนเชื้อโรค คนที่เป็นโรคจะขับถ่ายเชื้ออกทางอุจาระ เชื้อนี้อาจจะปนเปื้อนในน้ำตามธรรมชาติ หรืออาจจะปนเปื้อนอาหาร ผู้ป่วยบางคนจะมีเชื้อในร่างกายที่เรียก carrier ซึ่งสามารถขับเชื้อออกสิ่งแวดล้อมได้ตลอดเวลาโดยที่ไม่มีอาการเมื่อคนได้รับเชื้อ เชื้อจะเข้าสู่ลำไส้ ต่อมน้ำเหลือง ตับ ม้าม โดยทางกระแสเลือด

อาการของโรคนี้เป็นอย่างไร

หลังจากได้รับเชื้อนี้1-2 สัปดาห์ผู้ป่วยจะเริ่มเกิดอาการเบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ปวดตามตัว มีไข้สูง 40.5 องศา มีอาการท้องร่วง บางรายอาจจะมีผื่นขึ้นตามตัว บางรายอาจจะมีอาการแน่นท้อง หากไม่รักษาผู้ป่วยบางรายหายเองได้ใน3-4 สัปดาห์

การวินิจฉัย

สามารถเพาะเชื้อจากเลือดในสัปดาห์แรก การวินิจฉัยอย่างอื่นไม่บ่งจำเพาะ

การรักษา

ก่อนที่จะมียาปฏิชีวนะอัตราการตายประมาณร้อยละ 10 แต่หลังจากมียาปฏิชีวนะอัตราการตายลดลงผู้ป่วยอาจจะตายจากปอดบวม ลำไส้ทะลุถ้าผู้ป่วยเพลียมากก็ให้น้ำเกลือ และยาปฏิชีวนะ

โรคแทรกซ้อน

เลือดออกทางเดินอาหาร

ลำไส้ทะลุ

ไตวาย

ช่องท้องอักเสบ

การป้องกัน

  1. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีเชื้อโรค

ให้ดื่นน้ำต้มสุกทุกครั้ง

น้ำขวดจะมีความปลอดภัยสูงกว่าน้ำดื่มทั่วไป

เวลาดื่มน้ำไม่ต้องใส่น้ำแข็ง

รับประทานอาหารที่ทำให้สุกใหม่ๆ

ผักหรือผลไม่ต้องล้างให้สะอาดจริงๆเพราะปนเปื้อนเชื้อได้ง่าย

ผลไม้ที่มีเปลือกให้ปลอกเปลือกออก

ล้างมือก่นรับประทานอาหารทุกครั้ง

หลีกเลี่ยงอาหารจากร้านค้าข้างถนน

  1. การทำลายเชื้อในอุจจาระปัสสาวะ และสิ่งปนเปื้อน : ให้ทำลายพร้อมๆ กัน ในชุมชนที่มีระบบการกำจัดที่ทันสมัยและเพียงพอ ให้ทิ้งโดยตรงลงท่อไม่ต้องทำลายเชื้อก่อน
    การกักกัน : ไม่มี
    การให้ภูมิคุ้มกันแก่ผู้สัมผัส: เนื่องจากการฉีดวัคซีนทัยฟอยด์ไม่มีประสิทธิผลจึงไม่แนะนำให้ใช้กับผู้สัมผัสผู้ป่วย เช่นผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้อยู่ในครอบครัวและบุคลากรทางสาธารสุขที่อาจได้รับเชื้อจากคนป่วย แต่อาจพิจารณาให้กับผู้สัมผัสกับผู้เป็นพาหะ
    การสอบสวนผู้สัมผัสและแหล่งโรค:ควรดำเนินการค้นหาผู้ป่วยที่ไม่รายงาน คนที่เป็นพาหะหรือค้นหาแหล่งอาหารน้ำนมและอาหารทะเลในกลุ่มนักเดินทางท่องเที่ยว ที่พบผู้ป่วย ควรได้ติดตามเฝ้าระวังคนอื่น ๆ ด้วย การที่มีระดับของภูมิคุ้มกันต่อVi polysaccarideที่สูงขึ้น มักจะบ่งชี้ว่าคนนั้นเป็นพาหะของไข้ทัยฟอยด ์การแยกเชื้อเพื่อให้ทราบ phage type ในผู้ป่วยและผู้ที่เป็นพาหะนั้น ก็เพื่อจะค้นหาวงจรของการแพร่เชื้อ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน หรือผู้สัมผัสใกล้ชิดไม่ควรจะประกอบอาชีพที่มีโอกาสแพร่เชื้อ เช่นประกอบอาหาร/ปรุงอาหารจนกว่าจะไม่พบเชื้อในอุจจาระและปัสสาวะอย่างน้อย 2 ครั้งห่างกัน24 ชั่วโมง
    การรักษาเฉพาะ:ใช้ยา chloramphenicol, amoxicillin หรือ co-trimoxazole ในการรักษาการติดเชื้อแบบเฉียบพลันซึ่งให้ผลการรักษาที่ดีกลุ่มยา quinoloneและcephalosporins ก็ให้ผลการรักษาที่ดีเช่นกันเชื้อที่ทำการแยกได้แล้วสมควรจะทำการทดสอบหาการดื้อยาด้วย บางสายพันธุ์พบว่าดื้อต่อยา chloramphenicol, ampicillin และ amoxicillin แต่มีความไวต่อยา co-trimoxazoleสำหรับยาพวก steroidพบว่าให้ผลกับคนไข้ที่มีอาการหนัก
    ค. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด
    ค้นหาผู้ป่วยหรือพาหะซึ่งเป็นแหล่งแพร่เชื้อและอาหารหรือน้ำที่อาจเป็นสาเหตุของการระบาด
    เรียกเก็บอาหารที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุ หรือห้ามบริโภค
    พาสเจอร์ไรส์หรือต้มนมและหยุดการบริโภคผลิตภัณฑ์นมหรืออาหาที่สงสัย จนกว่าจะมีการตรวจที่แน่ชัดว่าปลอดภัย
    ใส่คลอรีนในแหล่งน้ำที่สงสัยให้เพียงพอภายใต้การแนะนำที่เหมาะสม หรือหยุดการใช้น้ำฆ่าเชื้อน้ำดื่มด้วยคลอรีนไอโอดีนหรือต้มสุก
    ไม่แนะนำให้ใช้วัคซีนแก่คนทั่วไป อาจพิจารณาใช้ในบางกรณี
    ง. สัญญาณภัยที่ควรระวัง : การแพร่เชื้อไข้ทัยฟอยด์อาจเกิดขึ้นในที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบการจัดหาน้ำ การกำจัดสิ่งปฏิกูลและการสุขาภิบาลอาหาร และน้ำซึ่งอาจเนื่องมาจากมีผู้ป่วย หรือพาหะในกลุ่มคนที่มีการอพยพเคลื่อนย้าย การใช้ความพยายามในการปรับปรุงแหล่งน้ำดื่ม และการกำจัดสิ่งปฏิกูลให้ปลอดภัยจะมีประโยชน์มากกว่าการให้วัคซีนทัยฟอยด์แก่ชุมชน
  2. จ. มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ
  3. นักท่องเที่ยวที่จะเข้าไปยังพื้นที่ที่มีมีโรคประจำถิ่น ควรได้รับวัคซีนไข้ทัยฟอยด์โดยเฉพาะ ถ้าการเดินทางนั้นมีโอกาสได้บริโภคอาหารและน้ำที่ไม่ปลอดภัยหรือต้องไปสัมผัสใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะชนบทไม่มีกฎหมายบังคับการให้ฉีดวัคซีนก่อนเข้าประเทศ
    ให้ความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลกเรื่องไข้ทัยฟอยด์และไข้พาราทัยฟอยด์

 < กลับสู่หน้าหลัก

สร้างโดย: 
นายฌัฐพล ชัยศรี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 368 คน กำลังออนไลน์