• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4f615cdf3fef103feef813b1817cfca7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #800080\">โรคหัดญี่ปุ่น Kawasaki syndrome </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #800080\">เราคุ้นเคยกับโรคหัดธรรมดา โรคหัดเยอรมัน แต่เรายังไม่คุ้นเคยกับโรคหัดญี่ปุ่นซึ่งเป็นโรคที่พบไม่บ่อยและหากวินิจฉัยไม่ได้</span>อา<span style=\"color: #0000ff\">จจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา โรคนี้ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อ ปี 1967 โดยครั้งแรกเรียกกลุ่มอาการ mucocutaneous lymph node syndrome ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการที่สำคัญดังนี้ ไข้ เยื่อบุตาอักเสบ ผื่นตามตัว ต่อมน้ำเหลืองโต ริมฝีปากและในช่องปากมีการอักเสบ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\">ใครมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคหัดญี่ปุ่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\">โรคหัดญี่ปุ่นหรือ Kawasaki syndrome มักจะเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ร้อยละ80ของผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 5 ปีเด็กชายจะเป็นมากกว่าเด็กหญิง1.5 ต่อ1น้อยกว่าร้อยละ2ของผู้ป่วยมีโอกาสเป็นซ้ำอีกครั้ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\">สาเหตุของโรคหัดญี่ปุ่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\">สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบแต่จากกลไกการเกิดคิดว่าน่าจะเกิดจากการติดเชื้อ </span>\n</p>\n<p>\n<center></center></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"> การวินิจฉัย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">เนื่องจากโรคนี้ยังไม่การตรวจวินิจฉัยใดๆที่บอกโรคได้ 100 % การวินิจฉัยอาศัยประวัติและการตรวจร่างกายโดยมีเกณฑ์การวินิจฉัยดังนี้ </span>\n</p>\n<ol>\n<li>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\">จะต้องมีไข้อย่างน้อย 5 วันไข้สูง 40 องศาไข้อาจจะเป็นนาน 10-14 วันในรายที่ไม่ได้รักษา </span>\n </p>\n</li>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\">ต้องมีเกณฑ์ข้อ 1 ร่วมกับเกณฑ์ต่อไปนี้อย่างน้อย 4 ข้อ </span>\n</p>\n<ol start=\"2\">\n<li>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\">มีการเปลี่ยนแปลงบริเวณแขนหรือขา</span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small\"><img border=\"0\" width=\"149\" src=\"/files/u17169/edema.jpg\" height=\"112\" />      <img border=\"0\" width=\"177\" src=\"/files/u17169/desquamation.jpg\" height=\"90\" /></span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"line-height: 150%\">\n <span style=\"font-size: x-small\">ผื่นแดงและบวมมักเกิดใน5วัน     <span style=\"font-size: x-small\">ผิวลอกมักเกิดหลังจากไข้ 2 สัปดาห์ </span></span>\n </p>\n</li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\"><br />\n<p style=\"line-height: 150%\">\n <span style=\"font-size: x-small\">ผิวลอกมักเกิดหลังจากไข้ 2 สัปดาห์ </span>\n </p>\n<p> </p></span></li>\n<li><span style=\"font-size: x-small\"><br />\n<p style=\"line-height: 150%\">\n <img border=\"0\" width=\"177\" src=\"/files/u17169/rash.jpg\" height=\"90\" />\n </p>\n<p> </p></span></li>\n<p><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<li>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; color: #008080\">เยื่อบุตาอักเสบทั้งสองข้าง ไม่แสบหรือเคืองตา ไม่มีขี้ตา </span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; color: #008080\">การเปลี่ยนแปลงที่ปากและริมฝีปาก ลิ้นจะแดงเหมือน strawbery ริมปีปากจะบวมแดงและมีรอยแตกที่สำคัญจะไม่มีแผล </span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"177\" src=\"/files/u17169/strawbery_0.jpg\" height=\"74\" />\n </p>\n</li>\n<p>\n</p></ol>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<ol start=\"6\">\n<li>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; color: #008000\">มีต่อมน้ำเหลืองโตมักโตข้างเดียวขนาด 1.5 ซม. </span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; color: #008000\">ต้องแยกโรคอื่นที่มีลักษณะคล้ายกัน </span>\n </p>\n</li>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #008000\">การวินิจฉัยแยกโรค</span>  </span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<center>\n<table style=\"width: 96.85%; height: 181px\">\n<tbody>\n<tr>\n<td bgColor=\"#cc6699\" align=\"left\">\n<p style=\"line-height: 150%\">\n <span style=\"font-size: x-small\">โรคที่มีลักษณะคล้ายกับ Kawasaki Disease</span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td align=\"left\" vAlign=\"top\">\n<p style=\"line-height: 150%\">\n <span style=\"font-size: x-small; color: #808000\">Measles </span><span style=\"font-size: small\"><br />\n </span><span style=\"font-size: x-small; color: #808000\">Scarlet fever </span><span style=\"font-size: small\"><br />\n <span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: x-small\">Drug reactions </span><br />\n <span style=\"font-size: x-small\">Stevens-Johnson syndrome </span><br />\n <span style=\"font-size: x-small\">Other febrile viral exanthems </span><br />\n <span style=\"font-size: x-small\">Toxic shock syndrome </span><br />\n <span style=\"font-size: x-small\">Rocky Mountain spotted fever </span><br />\n <span style=\"font-size: x-small\">Staphylococcal scalded skin syndrome </span><br />\n <span style=\"font-size: x-small\">Juvenile rheumatoid arthritis </span><br />\n <span style=\"font-size: x-small\">Leptospirosis </span><br />\n <span style=\"font-size: x-small\">Mercury poisoning</span></span></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p></p></center>\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #808000\">การตรวจทางห้องปฏิบัติการ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #808000\">การเจาะเลือดไม่ช่วยในการวินิจฉัยโรค เม็ดเลือดขาวอาจจะสูง เกร็ดเลือดอาจจะต่ำ อาจจะพบไข่ขาวในปัสสาวะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: x-small\">การรักษา </span><span style=\"font-size: x-small\">ให้ยาลดไข้ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #808000\">ให้ acetylsalicylic acid (aspirin) ขนาดสูงเพื่อลดการอักเสบและลดไข้ขนาดที่ให้ 80-100 mg/kgให้จนกระทั่งไข้ลงหลายวันหลังจากนั้นจึงลดขนาดยาลงเหลือ 3-5 mg/kgใหยาไป 6-8 สัปดาห์หากไม่มีโรคหัวใจแทรกซ้อน</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #ff0000\">ให้ immunoglobulin ขนาด 2 gm/kg โดยจะให้ภายใน 10 วันหลังเกิดอาการไข้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #ff0000\">โรคแทรกซ้อนที่สำคัญ </span>\n</p>\n<ol>\n<li>\n<p>\n <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: x-small\">โรคทางหัวใจมักจะพบช่วงแรกของอาการเจ็บป่วย </span><span style=\"font-size: x-small\">เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบพบได้ร้อยละ 30 และมีน้ำในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ วินิจฉัยได้จากการทำ ultrasound หัวใจ หายได้เอง </span></span>\n </p>\n</li>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #ff0000\">กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ myocarditis ทำให้เกิดอาการหัวใจวายผู้ป่วยจะหอบเหนื่อย ความดันโลหิตต่ำ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"color: #ff0000\">หลอดเลือดแดง Coronary artery โป่งพบได้ร้อยละ 20-25 วินิจฉัยได้จากการทำ ultrasound หัวใจ เด็กอาจจะเสียชีวิตจากหัวใจขาดเลือดได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"275\" src=\"/files/u17169/aneurysm.jpg\" height=\"186\" style=\"width: 240px; height: 152px\" />\n</p>\n<p style=\"line-height: 150%\">\n<span style=\"font-size: x-small; color: #999999\">ภาพแสดงหลอดเลือดแดงหัวใจโป่งพอง </span>\n</p>\n<ol start=\"2\">\n<li>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; color: #999999\">โรคแทรกซ้อนอื่นที่พบได้แก่ ข้ออักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ปวดท้อง ถ่ายเหลว</span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p>\n <a href=\"/node/39658\">&lt; กลับสู่หน้าหลัก</a>\n </p>\n</li>\n</ol>\n', created = 1715416891, expire = 1715503291, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4f615cdf3fef103feef813b1817cfca7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคหัดญี่ปุ่น Kawasaki syndrome

โรคหัดญี่ปุ่น Kawasaki syndrome

เราคุ้นเคยกับโรคหัดธรรมดา โรคหัดเยอรมัน แต่เรายังไม่คุ้นเคยกับโรคหัดญี่ปุ่นซึ่งเป็นโรคที่พบไม่บ่อยและหากวินิจฉัยไม่ได้อาจจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา โรคนี้ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อ ปี 1967 โดยครั้งแรกเรียกกลุ่มอาการ mucocutaneous lymph node syndrome ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการที่สำคัญดังนี้ ไข้ เยื่อบุตาอักเสบ ผื่นตามตัว ต่อมน้ำเหลืองโต ริมฝีปากและในช่องปากมีการอักเสบ

ใครมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคหัดญี่ปุ่น

โรคหัดญี่ปุ่นหรือ Kawasaki syndrome มักจะเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ร้อยละ80ของผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 5 ปีเด็กชายจะเป็นมากกว่าเด็กหญิง1.5 ต่อ1น้อยกว่าร้อยละ2ของผู้ป่วยมีโอกาสเป็นซ้ำอีกครั้ง

สาเหตุของโรคหัดญี่ปุ่น

สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบแต่จากกลไกการเกิดคิดว่าน่าจะเกิดจากการติดเชื้อ

 การวินิจฉัย

เนื่องจากโรคนี้ยังไม่การตรวจวินิจฉัยใดๆที่บอกโรคได้ 100 % การวินิจฉัยอาศัยประวัติและการตรวจร่างกายโดยมีเกณฑ์การวินิจฉัยดังนี้

  1. จะต้องมีไข้อย่างน้อย 5 วันไข้สูง 40 องศาไข้อาจจะเป็นนาน 10-14 วันในรายที่ไม่ได้รักษา

ต้องมีเกณฑ์ข้อ 1 ร่วมกับเกณฑ์ต่อไปนี้อย่างน้อย 4 ข้อ

  1. มีการเปลี่ยนแปลงบริเวณแขนหรือขา

  2.      

  3. ผื่นแดงและบวมมักเกิดใน5วัน     ผิวลอกมักเกิดหลังจากไข้ 2 สัปดาห์


  4. ผิวลอกมักเกิดหลังจากไข้ 2 สัปดาห์


  5. เยื่อบุตาอักเสบทั้งสองข้าง ไม่แสบหรือเคืองตา ไม่มีขี้ตา

  6. การเปลี่ยนแปลงที่ปากและริมฝีปาก ลิ้นจะแดงเหมือน strawbery ริมปีปากจะบวมแดงและมีรอยแตกที่สำคัญจะไม่มีแผล

 

  1. มีต่อมน้ำเหลืองโตมักโตข้างเดียวขนาด 1.5 ซม.

  2. ต้องแยกโรคอื่นที่มีลักษณะคล้ายกัน

การวินิจฉัยแยกโรค 

โรคที่มีลักษณะคล้ายกับ Kawasaki Disease

Measles
Scarlet fever
Drug reactions
Stevens-Johnson syndrome
Other febrile viral exanthems
Toxic shock syndrome
Rocky Mountain spotted fever
Staphylococcal scalded skin syndrome
Juvenile rheumatoid arthritis
Leptospirosis
Mercury poisoning

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การเจาะเลือดไม่ช่วยในการวินิจฉัยโรค เม็ดเลือดขาวอาจจะสูง เกร็ดเลือดอาจจะต่ำ อาจจะพบไข่ขาวในปัสสาวะ

การรักษา ให้ยาลดไข้

ให้ acetylsalicylic acid (aspirin) ขนาดสูงเพื่อลดการอักเสบและลดไข้ขนาดที่ให้ 80-100 mg/kgให้จนกระทั่งไข้ลงหลายวันหลังจากนั้นจึงลดขนาดยาลงเหลือ 3-5 mg/kgใหยาไป 6-8 สัปดาห์หากไม่มีโรคหัวใจแทรกซ้อน

ให้ immunoglobulin ขนาด 2 gm/kg โดยจะให้ภายใน 10 วันหลังเกิดอาการไข้

โรคแทรกซ้อนที่สำคัญ

  1. โรคทางหัวใจมักจะพบช่วงแรกของอาการเจ็บป่วย เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบพบได้ร้อยละ 30 และมีน้ำในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ วินิจฉัยได้จากการทำ ultrasound หัวใจ หายได้เอง

กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ myocarditis ทำให้เกิดอาการหัวใจวายผู้ป่วยจะหอบเหนื่อย ความดันโลหิตต่ำ

หลอดเลือดแดง Coronary artery โป่งพบได้ร้อยละ 20-25 วินิจฉัยได้จากการทำ ultrasound หัวใจ เด็กอาจจะเสียชีวิตจากหัวใจขาดเลือดได้

ภาพแสดงหลอดเลือดแดงหัวใจโป่งพอง

  1. โรคแทรกซ้อนอื่นที่พบได้แก่ ข้ออักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ปวดท้อง ถ่ายเหลว

  2. < กลับสู่หน้าหลัก

สร้างโดย: 
นายฌัฐพล ชัยศรี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 433 คน กำลังออนไลน์