• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0823b03bca693659be929b87d801abb2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000; font-family: Tahoma\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"> <img border=\"0\" width=\"1\" src=\"http://www.kbeautifullife.com/UserFiles/Image/health/on_month/8.jpg\" height=\"1\" /> </v:shapetype></span><span style=\"color: #000000; font-family: Tahoma\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"></v:shapetype></span></p>\n<p align=\"center\" class=\"style4\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ff99cc\">มหัศจรรย์น้ำมันมะพร้าว</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style1\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style1\">\n      <img src=\"http://www.panditjiusa.com/coconut_tree2.jpg\" /><strong></strong>    \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300; background-color: #ffcc99\">คุณสมบัติน้ำมันมะพร้าว</span> </strong>\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #ff9900\">น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันที่ได้จากธรรมชาติ ปราศจากสารเคมีสังเคราะห์ใดๆเจือปน โดยเฉพาะสารกำจัดศัตรูพืช ซึ่งมักจะมีเจือปนอยู่ในน้ำมันพืชชนิดอื่นๆ เราสามารถใช้น้ำมันมะพร้าวในสภาพที่สกัดได้ตามธรรมชาติทันที โดยไม่ต้องทำให้บริสุทธิ์ ฟอกสี และกำจัดกลิ่น ดังเช่นน้ำมันพืชอื่นๆ จึงปลอดภัยจากอันตรายของสารเคมี น้ำมันมะพร้าวมีคุณสมบัติที่ดีเด่นที่ไม่มีในน้ำมันพืชอื่นใดในโลก ดังต่อไปนี้</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808000; background-color: #ccffcc\">เป็นกรดไขมันอิ่มตัว</span> </strong>\n</p>\n<p>\n        <span style=\"color: #33cccc\">น้ำมันมะพร้าว ประกอบด้วยกรดไขมันอิ่มตัว ประมาณ 92% ธาตุคาร์บอน (C) จับกันด้วยพันธะ (bond) เดี่ยว ไม่เปิดโอกาสให้ไฮโดรเจน (H<sub>2</sub>) และออกซิเจน (O<sub>2</sub>) แทรก ดังนั้น น้ำมันมะพร้าว “อิ่มตัว” ส่วนที่เหลือ (8%) เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่ที่ C บางตัว จับกันด้วยพันธะคู่ เปิดโอกาสให้ H<sub>2</sub> และ O<sub>2</sub> แทรกจึง “ไม่อิ่มตัว” ดูสูตรโครงสร้างของน้ำมัน ได้ดังภาพ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"360\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/chemical_formula.gif\" alt=\"โครงสร้างน้ำมันมะพร้าว\" height=\"282\" />\n</p>\n<p class=\"style5\">\n<em><span style=\"color: #993366; background-color: #cc99ff\">สูตรโครงสร้างของน้ำมันอิ่มตัว (บน) เปรียบเทียบกับน้ำมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว (กลาง) และน้ำมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน (ล่าง)</span></em>\n</p>\n<p>\n       <em><strong> <span style=\"color: #ff00ff\">การเติมออกซิเจน (Oxidation)</span></strong></em><span style=\"color: #ff00ff\"> เป็นการะบวนการที่เกิดขึ้นตลอกเวลา ก่อให้เกิดความเสื่อมของโมเลกุล กล่าวคือ เกอดอนุมูลอิสระขึ้นมาจากผลของการเติมออกซิเจน ซึ่งเป็นที่รู้กันดีอยู่แล้วว่า “อนุมูลอิสระ” เป็นตัวการของการเกิดโรคแห่งความเสื่อมมากมาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">        <em><strong>การเติมไฮโดรเจน (Hydrogenation)</strong></em> เกิดจากการนำน้ำมันไม่อิ่มตัวไปถูกกับอุณหภูมิสูง เช่น ในการทอดอาหารในน้ำมันท่วม จึงเกิดเป็นสารตัวใหม่ชื่อว่า “ไขมันทรานส์ (Trans fats)” ซึ่งเป็นโมเลกุลที่เปลี่ยนรูปร่างไป และเกิดผลเสียต่อเซลล์ เช่น ทำให้เยื่อบุเซลล์บุบสลาย ทำให้เชื้อโรคหรือสารพิษเข้าไปในเซลล์ได้ หรือเกิดการเปลี่ยนแปลง DNA ของเซลล์ นอกจากนั้น ยังเกิดจากการนำน้ำมันไม่อิ่มตัวไปเติมไฮโดรเจนเพียงบางส่วนในทางอุตสาหกรรม โดยต้องใช้ความดันและสารแคตาลิสต์เข้าช่วย เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นน้ำมันไม่อิ่มตัวเปลี่ยนเป็นน้ำมันอิ่มตัว เพื่อจะได้ไม่เกิดการหืน (เพราะถูกเติมออกซิเจน) และทำให้น้ำมันอยู่ในรูปที่แข็งตัว ทำให้จับต้องผลิตภัณฑ์อาหารได้สะดวกไม่เหนียวเหนอะหนะ</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808000; background-color: #ccffcc\">เป็นกรดไขมันขนาดกลาง</span> </strong>\n</p>\n<p>\n  <span style=\"color: #339966\">      น้ำมันมะพร้าวมีองค์ประกอบส่วยใหญ่ (62.5%) เป็นกรดไขมันขนาดกลาง (Medium-Chain Fatty Acids – MCFAs) ร่างกายตอบสนองไขมันขนาดต่างๆแตกต่างกัน ทำให้น้ำมันมะพร้าวมีคุณสมบัติพิเศษในด้านการแพทย์และโชนาการ การเป็นกรดไขมันขนาดกลางมีข้อได้เปรียบ คือ</span>\n</p>\n<p>\n     <span style=\"color: #800000\">  <strong><em>เปลี่ยนเป็นพลังงานได้อย่างรวดเร็ว</em></strong>น้ำมันมะพร้าวถูกดูดซึมและเคลื่อนย้ายอย่างรวดเร็วเมื่อบริโภคเข้าไป จะผ่านกระเพาะไปยังลำไส้ เข้าไปในกระแสเลือด แล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานที่ตับอย่างรวดเร็ว (ภายในหนึ่งชั่วโมง) ทำให้ไม่เกอดเป็นไขมันสะสมในร่างกาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">       <strong><em>เพิ่มอัตราเมตาบอลิสซึม</em></strong> น้ำมันมะพร้าวช่วยเร่งอัตราเมตาบอลิสซึม (Metabolism) จากการเพิ่มประสิทธิภาพของต่อมธัยรอยด์ ผลของความร้อนที่เกิดขึ้น (Thermogenic Effect) เกิดขึ้นเป็นเวลานาน (กว่า 24 ชม.) จึงได้พลังงานมากขึ้นและมีอัตราเผาผลาญที่เร็วขึ้น นอกจากตัวมันเองจะถูกเผาผลาญในอัตราที่เร็วแล้ว ยังช่วยเผาผลาญอาหารที่รับประทานเข้าไปพร้อมกัน ทำให้ไม่ไปสะสมเป็นไขมัน อีกทั้งยังไปเผาผลาญไขมันที่สะสมไว้แต่เดิม ทำให้ร่างกายผอมลง </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"><span style=\"background-color: #ccffcc\">มีสารฆ่าเชื้อโรค</span> </span></strong>\n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #0000ff\">น้ำมันมะพร้าวมีกรดลอริก (Lauric Acid; C=12) อยู่สูง (48-53%) เมื่อบริโภคเข้าไปในร่างกาย จะเปลี่ยนเป็นโมโนกลีเซอไรด์ ชื่อโมโนลอรินที่ช่วยสร้างภูมิคุ้มกัน และยังมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรค Enig (1999) ได้รายงานว่าน้ำมันมะพร้าวสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย รา ยีสต์ โปรโตซัว และแม้กระทั่งเชื้อไวรัส ผลงานวิจัยของ Dayrit (2000) พบว่า กรดลอริกและโมโนลอรินสามารถช่วยลดปริมาณของเชื้อไวรัส (HIV) ในคนไข้โรคเอดส์ได้ อย่างไรก็ตาม โมโนลอรินก็ไม่สามารถฆ่าจุลินทรีย์ได้ทุกชนิด จะฆ่าได้ก็เฉพาะเชื้อโรคที่มีเยื่อหุ้มเซลล์ที่เป็นไขมัน เช่น เชื้อไข้หวัดใหญ่ โรคเริม คางทูม โรคซาร์ และโรคเอดส์ การที่โมโนลอรินไม่ฆ่าจุลินทรีย์ทุกชนิดก็เป็นข้อดี เพราะแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ในกระเพาะจะไม่ถูกทำลาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">       นอกจากกรดลอริกแล้ว น้ำมันมะพร้าวยังมีกรดไขมันขนาดกลางอีก 2 ตัว คือ กรดคาปริก (Capric Acid; C-10, 7%) และกรดคาปริลลิก (Capryllic Acid; C-8, 8%) ที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรคได้เช่นกัน และต่างก็ช่วยเสริมกรดลอริกในการเพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเหล่านี้ก่อให้เกิดโรคแก่ร่างกาย หรือฆ่าเชื้อโรคเหล่านี้เมื่อปรากฏตัวขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #808000; background-color: #ccffcc\">มีสารแอนตีออกซิแดนต์</span> </strong>\n</p>\n<p>\n      <span style=\"color: #800080\"> น้ำมันมะพร้าวมีสารแอนตีออกซิแดนต์ (Antioxidant) หลายประเภททีมีประสิทธิภาพสูงและในปริมาณมาก สารเหล่านี้ทำหน้าที่ต่อต้านการเติมออกซิเจน (Oxidation) ที่เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดอนุมูลอิสระ (Free Radicals) ซึ่งเป็นโมเลกุลที่เปลี่ยนสภาพ เพราะสูญเสียอิเล็คตรอนในวงแหวนรอบนอก กลายเป็น “โมเลกุลเกเร” เที่ยวไปโจมตีโมเลกุลอื่นๆ โดยไปดึงอีเล็คตรอนจากโมเลกุลที่อยู่ใกล้เคียงตัวหนึ่ง และโมเลกุลนี้ก็ไปดึงอิเล็คตรอนจากโมเลกุลข้างเคียงอื่นๆต่อไป เกิดเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ ทำให้เซลล์ผิดปกติ เช่น เยื่อบุเซลล์ฉีกขาด ผิวหนังเหี่ยวย่น เปลี่ยนสารพันธุกรรมในนิวเคลียส ทำให้เกิดการกลายพันธุ์อันเป็นสาเหตุของการเกิดโรคที่เกี่ยวกับความเสื่อมของร่างกายไม่ต่ำกว่า 60 โรค โดยเฉพาะโรคหัวใจ มะเร็ง ไขข้ออักเสบ เบาหวาน ภูมิแพ้ และชราภาพ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">       อนุมูลอิสระเกิดจากมลพิษในสิ่งแวดล้อม และในอาหาร เครื่องดื่ม การสูบบุหรี่ ความเครียด ฯลฯ และโดยเฉพาะในน้ำมันไม่อิ่มตัว ซึ่งจะถูกเติมออกซิเจน (Oxidized) ได้โดยง่ายเพราะมีพันธะคู่ (Double Bond) ในโมเลกุลตั้งแต่เริ่มสกัด ตลอดจนระหว่างทางก่อนถูกนำไปบริโภค จึงเกิดเป็นอนุมูลอิสระได้ง่าย อนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นนี้ไปลดสารแอนตีออกซิแดนต์ที่มีอยู่ในร่างกาย ทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีทีทำให้เกิดผลเสียแก่เซลล์และเนื้อเยื่อ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"291\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/infection_clip_image001_0001.gif\" alt=\"ดเด่\" height=\"13\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\">ที่มา: หนังสือ &quot;มหัศจรรย์น้ำมันมะพร้าว&quot; โดย ดร. ณรงค์ โฉมเฉลา หน้า 6 - 10</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\" class=\"style4\">\n<span style=\"color: #993300; background-color: #ffff99\"><strong>กระบวนการเหวี่ยงแยก<br />\n(Centrifuge Process)</strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style1\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style1\">\n<img width=\"231\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/centrifuge001.gif\" alt=\"centrifuge force\" height=\"169\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #339966\">          วิธีการเหวี่ยงแยก (Centrifuge Process) หลักการทำงานคือ การใช้แรงหนีศูนย์กลาง ซึ่งอาศัยหลักการความแตกต่างกันระหว่างความหนาแน่นของสสาร (น้ำ น้ำมันมะพร้าว และตะกอนต่างๆ) โดยสสารที่มีความหนาแน่น (density) สูงกว่า ในที่นี้คือน้ำและตะกอนจะถูกเหวี่ยงแยกออก ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้ระยะเวลาอันสั้นในการผลิตและบรรจุ จึงส่งผลให้มีโอกาสปนเปื้อนต่ำ สามารถรักษาคุณภาพของน้ำมันมะพร้าวได้ดีที่สุด ซึ่งวิธีการนี้สามารถแยกชั้นน้ำและตะกอนออกจากน้ำมันได้อย่างสมบูรณ์ น้ำมันที่ได้มีความเสถียรสูง ปริมาณความชื้นต่ำมาก เพื่อหลีกเลี่ยง<u><span style=\"color: #0000ff\">ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส (Hydrolysis Reaction)</span></u> และ<u><span style=\"color: #0000ff\">ปฎิกริยาออกซิเดชัน (Oxidation Reaction)</span></u> อันส่งผลให้น้ำมันมะพร้าวมีกลิ่นเหม็นหืนและเหม็นเปรี้ยว </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><u><span style=\"color: #ff00ff\">ตัวอย่างข้อมูลอ้างอิง ซึ่งบ่งชี้ถึงข้อดีในการใช้เครื่องเหวี่ยงแยก ผลิตน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์</span></u></strong>\n</p>\n<p>\n<img width=\"612\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/centrifuge002.jpg\" alt=\"centifugal1\" height=\"543\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">หมายเหตุ : ปริมาณกรดไขมันอิสระ (free fatty acid) ที่สูงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้น้ำมันเกิดการเหม็นหืน</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n         <span style=\"color: #008000\">ที่มา : คัดลอกจาก หนังสือ Virgin Coconut Oil : production manual for micro- and village-scale processing by Divina D.Bawalan and Keith R. Chapman หน้า 22 </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n</p><p>     <span style=\"color: #ff6600\">   <span class=\"style5\"><span style=\"color: #ff0000\">ทางเรา เนเจอร์มายด์ ใช้<strong>เครื่องเหวี่ยงแยกชนิด 3 ทาง (three-stage centrifuge process) </strong>จากประเทศเยอรมัน ผนวกกับประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญเฉพาะของทางเรา จึงมั่นใจได้ว่า น้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ที่ท่านบริโภคนั้น เป็นเกรดน้ำมันที่ดีที่สุด เพื่อสุขภาพของท่าน ภายใต้อุดมการณ์ของเรา </span><span class=\"style6\"><strong><span style=\"color: #006600\">&quot;Prenimu Nature</span><span class=\"style7\"><span style=\"color: #009900\"> by Nature Mind</span></span><span style=\"color: #006600\">&quot; </span></strong></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #006600\"><span style=\"color: #ff6600\"></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">       จากที่ได้กล่าวถึงการผลิตน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์โดยวิธีเหวี่ยงแยก ซึ่งเป็นกระบวนการผลิตที่มีมาตรฐานสากล ทำให้ผู้ผลิตหลายๆรายได้นำเทคโนโลยีการเหวี่ยงแยกมาใช้ ดังเช่น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"498\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/centrifuge003.jpg\" alt=\"canada website\" height=\"235\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nผู้ประกอบการน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ในประเทศแคนาดา<br />\n<a href=\"http://www.virgincoconutoil.com\" title=\"www.virgincoconutoil.com\">www.virgincoconutoil.com</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"503\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/centrifuge004.jpg\" alt=\"usa website\" height=\"242\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nผู้ประกอบการน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ในประเทศสหรัฐอเมริกา<br />\n<a href=\"http://www.vivapura.net\" title=\"www.vivapura.net\">www.vivapura.net</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"492\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/centrifuge005.jpg\" alt=\"usa coconut\" height=\"252\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nผู้ประกอบการน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ในประเทศสหรัฐอเมริกา<br />\n<a href=\"http://www.livesuperfoods.com\" title=\"www.livesuperfoods.com\">www.livesuperfoods.com</a>\n</p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"291\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/infection_clip_image001_0001.gif\" alt=\"ดเด่\" height=\"13\" />\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #663300; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #333333; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span></span></span></o:p></span></span></span></span></span></span></p>\n<p align=\"center\" class=\"style4\">\n<span style=\"color: #333300; background-color: #ffff99\"><strong>การบริโภคน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ที่เหม็นหืนหรือเหม็นเปรี้ยว</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style1\">\n<img width=\"204\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/rancidity001.jpg\" alt=\"oil\" height=\"144\" />         \n</p>\n<p>\n        <span style=\"color: #800000\">  หลายท่านอาจเข้าใจว่า ขอให้เป็นน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ก็สามารถรับประทานได้ โดยมีประโยชน์ต่อสุขภาพ ทั้งนี้ทั้งนั้น เราไม่ควรรับประทานผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าวที่เหม็นหืนและเหม็นเปรี้ยว ซึ่งจะส่งผลเสียแก่ร่างกายมากกว่าผลดีที่ได้รับ</span>\n</p>\n<p><strong><u><span style=\"color: #993300; background-color: #ff99cc\">การเหม็นหืนและเหม็นเปรี้ยวนั้นเกิดจาก</span></u> </strong></p>\n<p>\n     <span style=\"color: #ff6600\">   1. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation Reaction) เกิดจากออกซิเจนในอากาศเข้าทำปฏิกิริยาตรงตำแหน่งพันธะคู่ระหว่างอะตอมคาร์บอนในโมเลกุลของกรดไขมัน ได้แอลดีไฮด์และกรดไขมันโมเลกุลเล็ก ๆ ซึ่งมีกลิ่นเหม็นหืนเกิดขึ้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"408\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/rancidity002.jpg\" alt=\"Oxidation Reaction\" height=\"264\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nรูปที่ 1 :  กลไกการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน  (Oxidation Reaction)             \n</p>\n<p>\n        <span style=\"color: #808000\">กรดไขมันที่พบในน้ำมันมะพร้าวนั้น โดยส่วนใหญ่จะเป็นกรดไขมันอิ่มตัวประมาณ 92% และกรดไขมันไม่อิ่มตัวประมาณ 8% ในส่วนกรดไขมันไม่อิ่มตัวนี้เองที่สามารถเกิดปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ ส่งผลให้น้ำมันที่ได้เกิดการเหม็นหืนนั่นเอง ด้วยเหตุนี้ การผลิตน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์จำเป็นที่จะต้องใช้ระยะเวลาในการผลิตให้สั้นที่สุด สัมผัสกับอากาศน้อยที่สุด เพื่อคงความสด ความหอมของมะพร้าว และที่สำคัญคือ “<strong>ให้เกิดปฎิกริยา oxidation ให้น้อยที่สุดเท่าทีจะทำได</strong>้”</span>\n</p>\n<p>\n        <span class=\"style5\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff0000\">น้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ เกรดพรีเมี่ยม ตราเนเจอร์มายด์ ผลิตจากกะทิสด ณ อุณหภูมิ 5 ถึง 0 องศาเซลเซียส เพียง <strong>30 นาที จากกะทิสดกลายเป็นน้ำมัน</strong> บรรจุลงภาชนะปิดมิดชิด ผลิตด้วย</span><strong><u><span style=\"color: #0000ff\">วิธีการเหวี่ยงแยก (Centrifuge Process)</span></u></strong></span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #339966\"> และเทคนิค ความเชี่ยวชาญเฉพาะของทางเรา ทำให้ได้น้ำมันที่มีคุณภาพดีที่สุดแก่ผู้บริโภค</span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n    <span style=\"color: #008080\">    2. ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส (Hydrolysis Reaction) เกิดจากกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัวกับน้ำ โดยมีเอนไซม์จากจุลินทรีย์ในอากาศเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ได้ผลิตภัณฑ์เป็นกรดไขมันโมเลกุลเล็กที่ระเหยง่ายและมีกลิ่นเหม็น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"348\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/rancidity003.gif\" alt=\"Hydrolysis Reaction\" height=\"244\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nรูปที่ 2 :  กลไกการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส (Hydrolysis Reaction)\n</p>\n<p>\n        <span style=\"color: #0000ff\">น้ำมันมะพร้าวที่เกิดการเหม็นหืนและเห็นเปรี้ยวนั้น อีกสาเหตุหนึ่ง เกิดจากในน้ำมันมะพร้าวนั้นมี น้ำ เป็นส่วนประกอบ ทำให้จุลินทรีย์ที่อยู่ในอากาศ สามารถเข้าไปทำปฏิกิริยาได้โดยง่าย โดยไตรกลีเซอไลด์จะถูกทำปฏิกิริยากลายเป็นกรดไขมันอิสระ (free fatty acid) ขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n        <span class=\"style5\"><span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff0000\">น้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ เกรดพรีเมี่ยม ตราเนเจอร์มายด์ ผลิตด้วย</span><strong><u><span style=\"color: #0000ff\">วิธีการเหวี่ยงแยก (Centrifuge Process) </span></u></strong><span style=\"color: #ff0000\">หลักการทำงานคือ ใช้แรงหนีศูนย์กลาง ซึ่งอาศัยหลักการความแตกต่างกันระหว่างความหนาแน่นของสสาร (น้ำ น้ำมันมะพร้าว และตะกอนต่างๆ) โดยสสารที่มีความหนาแน่น (density) สูงกว่า ในที่นี้คือน้ำและตะกอนจะถูกเหวี่ยงแยกออก ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้ระยะเวลาอันสั้นในการผลิตและบรรจุ จึงส่งผลให้มีโอกาสปนเปื้อนต่ำและสามารถรักษาคุณภาพของน้ำมันมะพร้าวได้ดี ซึ่งวิธีการนี้สามารถแยกชั้นน้ำและตะกอนออกจากน้ำมันได้อย่างสมบูรณ์ น้ำมันที่ได้มีความเสถียรสูง ปริมาณความชื้นต่ำมาก ซึ่งทำให้ไม่เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส อันส่งผลให้น้ำมันมะพร้าวมีกลิ่นเหม็นหืนและเหม็นเปรี้ยว </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffff\">โทษของการบริโภคน้ำมันที่เหม็นหืนและเหม็นเปรี้ยว</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\">        เนื่องจากน้ำมันที่เหม็นหืน มีกรดไขมันอิสระในปริมาณสูงกว่าค่ามาตรฐานของน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ ที่ ๊กำหนดให้ไม่เกิน 0.2% ดังนั้นเมื่อบริโภคเข้าไปจะส่งผลเสียต่อร่างกายมากกว่าผลดีที่จะได้รับ ดังนั้นหากน้ำมันของท่านเกิดการเหม็นหืนหรือเหม็นเปรี้ยวขึ้น ควรทิ้งเสีย อย่าเสียดายเด็ดขาด !</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ff99cc\">การป้องกันการเหม็นหืนและเหม็นเปรี้ยว</span> </strong>\n</p>\n<p>\n  <span style=\"color: #0000ff\">      การเก็บน้ำมันโดยไม่ให้เกิดการเหม็นหืน หรือชะลอการเหม็นหืนให้ช้าที่สุดจะต้อง<strong>เก็บในบริเวณที่มีอุณหภูมิไม่ควรเกิน 40 องศาเซลเซียสและต้องปิดฝาภาชนะให้สนิท </strong>ไม่ให้สัมผัสกับออกซิเจนและไอน้ำในอากาศเพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันและปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส </span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"291\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/infection_clip_image001_0001.gif\" alt=\"ดเด่\" height=\"13\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p align=\"center\" class=\"style4\">\n<strong><span style=\"color: #333300; background-color: #ffff99\">การป้องกันและบำบัดรักษาโรค</span></strong><strong><span style=\"color: #333300; background-color: #ffff99\">โดยใช้ &quot;น้ำมันมะพร้าว&quot;</span></strong>  \n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style1\">\n   <strong><img width=\"170\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/benefit_vco.jpg\" alt=\"น้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ เนเจอร์มายด์\" height=\"128\" style=\"width: 284px; height: 176px\" /></strong>       <strong><img width=\"145\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/benefit_vco_clip_image002.jpg\" alt=\"มะพร้าว\" height=\"98\" style=\"width: 237px; height: 164px\" /></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n         <span style=\"color: #0000ff\">การวิจัยและการเฝ้าสังเกตทางการแพทย์แสดงให้เห็นว่า กรดไขมันชนิด medium-chain ที่เราสามารถพบเห็นได้ในน้ำมันมะพร้าวนั้น อาจจะช่วยป้องกันและรักษาโรคได้มากมายหลายประเภท น้ำมันมะพร้าวสามารถช่วยคุณได้ดังนี้</span>   \n</p>\n<ul>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #808000\">ป้องกันโรคหัวใจ ความดันเลือดสูง การสะสมของไขมันบนผนังของหลอดเลือดแดง ภาวะหลอดเลือดสมองอุดตัน หรือหลอดเลือดในสมองแตก</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #008000\">ช่วยลดน้ำหนักที่เป็นส่วนเกินของร่างกาย</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #0000ff\">ป้องกันโรคเบาหวาน และช่วยลดอาการ หรือความเสี่ยงในการเป็นเบาหวาน</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #800080\">ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #ff0000\">ป้องกันโรคเนื้อเยื่อและโครงสร้างรอบๆฟัน และปัญหาฟันผุ</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #333300\">ป้องกันโรคกระดูกเปราะและหักง่ายอันเนื่องมาจากขาดแคลเซียมและแร่อื่นๆ</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #3366ff\">ลดอาการของภาวะตับอ่อนอักเสบ</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">ลดความรุนแรงของภาวะลำไส้ไม่ดูดซึมอาหาร การเกิดเนื้อเยื่อเส้นใยที่ถุงน้ำดี</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n บรรเทาอาการของโรคที่เกี่ยวกับถุงน้ำดี\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n ลดการอักเสบเรื้อรัง\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n ฆ่าเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคความผิดปกติเกี่ยวกับเม็ดเลือดขาว ไข้หวัดใหญ่ โรคตับอักเสบซี โรคหัด โรคเริม และการเจ็บป่วยอื่นๆ\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคปอดอักเสบ อาการปวดในหู การติดเชื้อที่ลำคอ ฟันผุ อาหารเป็นพิษ การติดเชื้อบริเวณท่อปัสสาวะ เป็นต้น\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n ฆ่าเชื้อราและยีสต์ที่ก่อให้เกิดโรค Candida โรคกลาก โรคเชื้อราตามง่ามเท้า และโรคติดเชื้ออื่นๆ\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n ป้องกันปัญหาแก่ก่อนวัย และโรคที่เกี่ยวกับการเสื่อมสภาพต่างๆ\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n บรรเทาอาการที่เกี่ยวข้องกับภาวะอ่อนเพลียเรื้อรัง\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #339966\">ป้องกันการติดเชื้อที่ผิวหนัง</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #3366ff\">ลดอาการที่เกี่ยวข้องกับโรคเรื้อนกวาง โรคที่ผิวหนังมีอาการอักเสบ เปื่อย และพุพอง ซึ่งเรียกว่า Eczema รวมไปถึงโรคการอักเสบที่ผิวหนังซึ่งเรียกว่า Dermatitis</span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n ลดปัญหาผิวหนังแห้งแตก และลอกเป็นสะเก็ด\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n <span style=\"color: #800080\">ป้องกันผลกระทบร้ายแรงซึ่งเกิดจากรังสี UV ของดวงอาทิตย์ เช่น รอยเหี่ยวย่น ผิวเปราะบาง และจุดด่างดำที่บ่งบอกถึงอายุ </span>\n </div>\n</li>\n<li>\n<div align=\"left\">\n ควบคุมรังแค\n </div>\n</li>\n</ul>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"291\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/infection_clip_image001_0001.gif\" alt=\"ดเด่\" height=\"13\" /> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ที่มา: <strong>The Coconut Oil Miracle </strong><strong>โดย </strong><strong> Bruce Fife, C.N., N.D. </strong><strong>หน้า </strong></span><strong><span style=\"color: #ff00ff\">121 - 122</span> </strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p align=\"center\" class=\"style4\">\n<span style=\"color: #333300; background-color: #ffff99\">น้ำมันมะพร้าวกับโรคหัวใจ</span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\" class=\"style1\">\n<img width=\"149\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/heartattack.jpg\" alt=\"heart attack\" height=\"173\" style=\"width: 193px; height: 188px\" /> \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ffcc99\">สมมุติฐานน้ำมันมะพร้าวกับโรคหัวใจ</span> </strong>\n</p>\n<p>\n          “<span class=\"style5\"><em><span style=\"font-size: small\">น้ำมันอิ่มตัวทุกชนิด เป็นสาเหตุของการเกิดโรคหัวใจ</span></em></span>” เป็นบทสรุปสำหรับอาหารที่ก่อให้เกิดโรคหัวใจ คำพูดดังกล่าว จำเป็นต้องแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทั้ง 4 ประการ ดังนี้\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">1. น้ำมันอิ่มตัวทุกชนิด มีคลอเรสเตอรอลสูง<br />\n2. เมื่อบริโภคน้ำมันอิ่มตัวแล้ว มีคลอเรสเตอรอลในกระแสเลือดสูง <br />\n3. คลอเรสเตอรอลที่สูงในกระแสเลือดนั้น นำไปสู่ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง<br />\n4. ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง นำไปสู่การเป็นโรคหัวใจ</span>\n</p>\n<p>\n        ประจักษ์พยานและผลการศึกษาในเรื่องเหล่านี้ สรุปได้ว่า ไม่มีความสัมพันธ์กันใน 3 ประเด็นแรก ดังที่จะได้อธิบายดังต่อไปนี้\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">น้ำมันอิ่มตัวทุกชนิด มีคลอเรสเตอรอลสูง</span> </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n       <span style=\"color: #ff9900\">การกล่าวหาว่าน้ำมันอิ่มตัว อันได้แก่ น้ำมันจากสัตว์ และน้ำมันเขตร้อน (tropical oils) อาทิเช่น น้ำมันมะพร้าว และน้ำมันปาล์มเป็นสาเหตุของโรคหัวใจ เพราะน้ำมันดังกล่าว เป็นสาเหตุให้มีคลอเรสเตอรอลใน กระแสเลือดสูง ทำให้น้ำมันมะพร้าว ถูกกล่าวหาว่ามีคลอเรสเตอรอลสูงไปด้วย แต่ผลจากการวิเคราะห์ ปรากฎว่าน้ำมันมะพร้าวมีคลอเรสเตอรอลต่ำที่สุดในบรรดาน้ำมันที่ใช้บริโภคทั้งหลาย กล่าวคือ มีเพียง 14 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งถือว่าน้อยมากจนกล่าวได้ว่าน้ำมันมะพร้าวไม่มีคลอเรสเตอรอล </span><br />\n       <span style=\"color: #339966\">การกล่าวหาอย่างรวมๆว่า น้ำมันอิ่มตัวทุกชนิดมีคลอเลสเตอรอลสูงนั้นไม่เป็นความจริง เพราะน้ำมันอิ่มตัวนั้น มีทั้งที่โมเลกุลขนาดยาว (C 14-24) อันได้แก่ น้ำมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันหมู น้ำมันเนื้อ ซึ่งมีคลอเรสเตอรอลสูงกว่า 3,000 ส่วนในล้านส่วน และที่มีโมเลกุลขนาดปานกลาง (C 6-12) อันได้แก่ น้ำมันจากพืชยืนต้นเขตร้อน เช่น น้ำมันมะพร้าว และน้ำมันปาล์ม แม้ว่าน้ำมันจากสัตว์ จะมีคลอเรสเตอรอลสูง แต่น้ำมันจากพืชยืนต้นเขตร้อนไม่มีคลอเรสเตอรอล</span>\n</p>\n<p>\n<strong>เมื่อบริโภคน้ำมันอิ่มตัวแล้ว มีคลอเรสเตอรอลในกระแสเลือดสูง </strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n      <span style=\"color: #800080\"> คำกล่าวดังกล่าวไม่เป็นความจริง เช่นเดียวกัน ดังจะเห็นได้จากการศึกษาของนักวิจัยชาวนิวซีแลนด์ ชื่อ Prior (1981) ซึ่งได้ศึกษาประชากรในเกาะมหาสมุทรแปซิฟิก 2 เกาะ คือเกาะ Pukapuka และ Tokelau ซึ่งเป็นเกาะที่ห่างไกลความเจริญ และบริโภคมะพร้าวเป็นอาหารหลัก โดยรับประทานในรูปแบบต่างๆ ทั้งในรูปของอาหารหลักและของว่าง โดยชาว Pukapaka ได้รับไขมันเป็นพลังงานในอัตรา 30-40% ของความต้องการแคลอรีประจำวัน มีระดับคลอเรสเตอรอลในเลือด 170 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรในผู้ชาย และ176 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรในผู้หญิง ส่วนชาวเกาะ Tokelau ซึ่งบริโภคไขมันเป็นพลังงานในอัตราสูงถึง 56% ของความต้องการแคลอรีประจำวัน ก็มีระดับคลอเรสเตอรอลในเลือด 208 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรในผู้ชาย และ216 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรในผู้หญิง จะเห็นได้ว่า ระดับคลอเรสเตอรอลในเลือดของประชาการในเกาะทั้งสองไม่ได้สูงไปกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของระดับคอเรสเตอรรอลในคนปรกติแต่อย่างใด <br />\n       นอกจากนั้น ยังไม่มีงานวิจัยใดๆ ที่พิสูจน์ให้เห็นถึงหลักฐานที่ว่า น้ำมันมะพร้าวที่ไม่ได้ถูกเติมไฮโดรเจน ไปเพิ่มระดับคอเรสเตอรอลในกระแสเลือด เหตุผลที่น้ำมันมะพร้าว ไม่ได้มีผลร้ายต่อคลอเรสเตอรอล ก็คือ น้ำมันมะพร้าวประกอบไปด้วยกรดไขมันขนาดกลาง (MCFA) ซึ่งต่างจากกรดไขมันที่พบในอาหารอื่นๆ โดยเฉพาะที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว กรดไขมัน MCFA (Medium Chain Fatty Acid) จะถูกเผาผลาญเกือบทันที เพื่อสร้างพลังงานสำหรับใช้ในการดำรงชีวิต โดยไม่ส่งผลต่อการเพิ่มระดับคลอเรสเตอรอลแต่อย่างใด นอกจากนี้แล้วน้ำมันมะพร้าวยังช่วยลดการเพิ่มขึ้นของคอเรสเตอรอลที่เกิดจากการบริโภคไขมันสัตว์อีกด้วย ดังจะเห็นได้จากผลงานวิจัยที่ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ให้นักเรียนแพทย์ 10 คน รับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของไขมันสัตว์ และน้ำมันมะพร้าวในระดับต่างๆกัน สำหรับไขมันจากสัตว์นั้น เป็นที่รู้กันว่าจะเพิ่มคลอเรสเตอรอล การทดลองนี้ ให้อาหารคิดเป็นแคลอรีทั้งหมดที่ได้มาจากไขมันในอาหาร ตั้งแต่ 20, 30 และ 40% โดยการผสมที่ต่างกันของน้ำมันมะพร้าวและไขมันสัตว์ ในอัตราส่วน 1:1, 1:2 และ 1:3 ผลปรากฏว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆในระดับคลอเรสเตอรอล จะมีก็แต่ตอนที่อัตราส่วนนั้นถูกกลับให้บริโภคไขมันสัตว์มากกว่าน้ำมันมะพร้าว และให้แคลอรีคงอยู่ที่ 40% จึงจะพบว่าระดับคลอเรสเตอรอลในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<strong>คลอเรสเตอรอลที่สูงในกระแสเลือดนั้น นำไปสู่ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง</strong>\n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #ff0000\">แม้ว่าในกระแสเลือดจะมีคลอเรสเตอรอลสูง แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะต้องเป็นสาเหตุนำไปสู่ภาวะหลอดเลือดแดงแข็งแต่อย่างใด ที่จริงร่างกายของคนเรา ใช้คลอเรสเตอรอลไปในการซ่อมแซม และรักษาบาดแผลที่ผนังหลอดเลือด และตรงกันข้ามกับที่หลายคนเชื่อ ส่วนประกอบหลักที่ทำให้เกิดการแข็งตัวของหลอดเลือดแดงนั้นไม่ใช่คลอเรสเตอรอล แต่เป็นโปรตีนต่างหาก โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของเนื้อเยื่อของแผล หลอดเลือดแดงที่แข็งตัวนั้นมีคลอดเรสเตอรอลอยู่น้อยมาก การที่หลอดเลือดแดงแข็งตัวนั้น เบื้องต้นเกิดจากผลของการเกิดบาดแผลในหลอดเลือด ซึ่งเกิดมาจากาเหตุหลายประการ เช่น สารพิษ อนุมูลอิสระ เชื้อไวรัส หรือแบคทีเรีย ถ้าต้นเหตุของอาการไม่ได้ถูกแก้ไข และตราบใดที่ยังมีการระคายเคือง และการอักเสบของบาดแผลยังคงอยู่ ก็อาจทำให้เกิดความเสียหายที่ใหญ่โตขึ้น และจะพัฒนาเป็นแผ่นหนาขึ้น<br />\n       ปรกติ เลือดของเรามีองค์ประกอบอย่างหนึ่ง เรียกว่าเกล็ดเลือด (platelet) ที่ทำหน้าที่สมานแผลหากเกิดบาดแผลขึ้น ดังเช่น เมื่อเราถูกมีดบาด เกล็ดเลือดจะไปรวมตัวกันที่ผิวบาดแผล และเมื่อรวมตัวกับองค์ประกอบอื่นๆ ในเลือดจะเกิดเป็นลิ่มเลือด ซึ่งรวมตัวกันเป็นก้อน ทำให้เลือดหยุดไหล</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"432\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/pic_heartattack.gif\" alt=\"pic_heart_attack\" height=\"294\" />\n</p>\n<p>\n        <span style=\"color: #008080\">หากผนังหลอดเลือดเกิดบาดแผล เกล็ดเลือดจะมาเกาะเพื่อกระตุ้นการสร้างลิ่มเลือด และต่อมาจะกระตุ้นการเติบโตของเซลล์เนื้อเยื่อหลายชนิด เช่นเซลล์พังผืด (fibroblast) ภายในผนังหลอดเลือด การผสมกันอย่างสลับซับซ้อนของเยื่อที่เกิดแผล เกล็ดเลือด เซลล์พังผืด แคลเซียม คลอเรสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ จะรวมเข้าด้วยกันในการรักษาบาดแผล จึงเกิดการพองตัวของผนังหลอดเลือด แคลเซียมที่ฝังตัวอยู่ในผนังหลอดเลือดที่พองตัวขึ้นนี้เอง ทำให้หลอดเลือดแข็งตัว</span>\n</p>\n<p>\n<strong>ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง นำไปสู่การเป็นโรคหัวใจ</strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n       <span style=\"color: #339966\">ตรงกันข้ามกับความเชื่อทั่วไป แผ่นเลือดที่พองตัวขึ้นนั้น ไม่ได้แค่ติดอยู่ตามหลอดเลือดเหมือนกับตะกรันในท่อน้ำ แต่มันเติบโตภายในหลอดเลือด และกลายเป็นส่วนเดียวกันกับผนังหลอดเลือด ซึ่งล้อมไปด้วยชั้นของเนื้อเยื่อยืดหยุ่น (elastic tissue) และกล้ามเนื้อเรียบ ที่เป็นวงแข็งแรงที่ป้องกันผนังหลอดเลือดไม่ให้แผ่ขยายออกไปด้านนอก เมื่อผนังหลอดเลือดโตขึ้น และไม่สามารถขยายออกไปด้านนอกได้ง่าย มันก็จะดันเข้าไปข้างใน จนกระทั่งทำให้หลอดเลือดตีบและตันในที่สุด เมื่อขบวนการนี้ เกิดในเส้นเลือดเข้าสู่หัวใจ หัวใจก็จะขาดเลือดและเกิดภาวะหัวใจวาย แต่ถ้ามันเกิดขึ้นในหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงสมองก็จะทำให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือดเข้าสู่สมอง ทำให้เป็นอัมพาตหรืออัมพฤกษ์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"291\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/infection_clip_image001_0001.gif\" alt=\"ดเด่\" height=\"13\" /> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333300\">ที่มา:<strong> หนังสือ &quot;น้ำมันมะพร้าวป้องกันโรคหัวใจได้อย่างไร&quot; โดย ดร. ณรงค์ โฉมเฉลา หน้า 4 - 8</strong></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\" class=\"style4\">\n<span style=\"color: #333300; background-color: #ffff99\">บทบาทของน้ำมันมะพร้าวต่อความอ้วน</span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"style1\">\n <img width=\"131\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/woman_fat.jpg\" alt=\"ลดความอ้วน\" height=\"196\" style=\"width: 177px; height: 208px\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n         <span style=\"color: #33cccc\">ผู้ที่บริโภคน้ำมันมะพร้าวเป็นประจำ ดังเช่นชาวเกาะทะเลใต้ ที่อยู่ในตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก มีรูปร่างที่สมส่วน ไม่อ้วน แต่ก็ไม่ผอม ทั้งนี้เพราะน้ำมันมะพร้าว ช่วยลดความอ้วนได้ดีกว่าน้ำมันอื่นๆ ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้</span></p>\n<p>        <span style=\"color: #0000ff\"><strong>ช่วยกระตุ้นเมตาบอลิสซึม : </strong>น้ำมันมะพร้าวมี MCT (medium-chain triglycerides) ซึ่งทำให้โมเลกุลของน้ำมันมะพร้าวมีขนาดเล็กกว่าโมเลกุลของน้ำมันอื่นๆ ซึ่งมี LCT (long-chain triglycerides) เพราะฉะนั้น มันจึงถูกย่อยได้เร็วมาก เร็วจนกระทั่งร่างกายของเรา ใช้มันเป็นแหล่งของพลังงานทันที มากกว่าที่จะนำไปสะสมเป็นอาหารสำรองในรูปของไขมันที่ไปสะสมตามส่วนต่างๆของร่างกาย MCT จะถูกใช้ไปเพื่อสร้างพลังงาน คล้ายกับคาร์โบไฮเดรต ดังนั้น มันจึงไม่เคลื่อนย้ายในกระแสเลือดคล้ายไขมันอื่นๆ ด้วยเหตุนี้ น้ำมันมะพร้าวจึงไม่มีส่วนในการจัดหาไขมันให้แก่เซลล์ไขมัน หรือไปเพิ่มน้ำหนักตัวให้แก่ร่างกายของผู้บริโภค ปริมาณแคลอรีที่เราบริโภคเข้าไปในรูปของอาหารจึงถูกเผาผลาญในอัตราสูงขึ้น การกระตุ้นเมตาบอลิสซึมนี้ เกิดขึ้นเป็นเวลานานกว่า 24 ชั่วโมงหลังการรับประทานอาหารที่มี MCT เป็นส่วนประกอบ ผลลัพธ์ก็คือ คุณได้พลังงานที่เพิ่มขึ้น และการเผาผลาญแคลอรีในอัตราที่เพิ่มขึ้นเป็นเวลาหลายชั่วโมง</span></p>\n<p>        <span style=\"color: #993366\"><strong>ทำให้เกิดความร้อนสูง (thermogenesis) :</strong> การเพิ่มอัตราเมตาบอลิซึมนี้ ยังนำไปสู่การเกิดความร้อนสูง นั่นคือมีการเพิ่มอุณหภูมิของร่างกายอีกด้วย เมื่อคนที่เป็นโรคที่ทำให้มีระบบการทำงานของต่อมธัยรอยด์ต่ำ (hypothyroidism) บริโภคน้ำมันมะพร้าวเข้าไป อุณหภูมิของร่างกายจะสูงขึ้นประมาณ 1 ถึง 2 องศาเซลเซียส และจะยังคงสูงอยู่เป็นเวลาหลายชั่วโมง ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำมันมะพร้าวที่บริโภคเข้าไป ดังนั้น คนอ้วนเพราะต่อมธัยรอยด์ทำงานในระดับต่ำ จึงสามารถใช้น้ำมันมะพร้าวกระตุ้นให้ต่อมธัยรอยด์ทำงานดีขึ้น เพื่อช่วยลดน้ำหนักได้ <br />\n</span><br />\n       <strong> <span style=\"color: #ff00ff\">ช่วยชะลอความหิว :</span></strong><span style=\"color: #ff00ff\"> น้ำมันมะพร้าวสามารถช่วยลดปริมาณรวมของการบริโภคอาหารและแคลอรี คุณจะรับประทานอาหารได้น้อยลง และรู้สึกอิ่มนานขึ้น จึงไม่รับประทานมากขึ้นในมื้อถัดไป</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"291\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/infection_clip_image001_0001.gif\" alt=\"ดเด่\" height=\"13\" /> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">ที่มา:<strong> หนังสือ &quot;น้ำมันมะพร้าวลดความอ้วน&quot; โดย ดร. ณรงค์ โฉมเฉลา หน้า 15 - 18</strong></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<span class=\"txtgreenbig\"><span class=\"style2\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #333300; background-color: #ffff99\">ออยล์พูลลิ่ง (Oil Pulling)</span></span></span> <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"111\" src=\"http://www.coconut-virgin.com/woman_health_oil_pulling.jpg\" alt=\"น้ำมันมะพร้าว\" height=\"170\" style=\"width: 267px; height: 353px\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><span style=\"color: #008000\">ออยล์พูลลิ่ง (Oil Pulling) คืออะไร ?</span></strong>       \n</p>\n<p align=\"left\">\n        <span style=\"color: #008080\">ออยล์พูลลิ่ง เป็นวิธีการบำบัดของชาวอินเดีย โดยการอมน้ำมันไว้และเคลื่อนน้ำมันไปให้ทั่วช่องปาก ใช้เวลาประมาณ 15-20 นาที จากนั้นจึงบ้วนทิ้งไป ออยล์พูลลิ่งเป็นที่ฮือฮาเมื่อ Dr. F. Karach, M.D., ได้เสนอรายงานต่อที่ประชุมสัมมนาบัณฑิตย์ทางด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศรัสเซียเมื่อปี 2534-2535 การประชุมมีผู้เชี่ยวชาญในเรื่องมะเร็ง และแบคทีเรียซึ่ง Dr.Karach ได้อธิบายถึงการบำบัดรักษาโรคที่ยอดเยี่ยมไม่เหมือนใครด้วยวิธีง่ายๆ โดยใช้การอมน้ำมัน ผลลัพธ์ของการบำบัดด้วยวิธีนี้ ทำให้ผู้คนตะลึง ประหลาดใจ เต็มไปด้วยความสงสัยในรายงานของเขาเป็นอันมาก อย่างไรก็ตามหลังจากที่ได้มีการอธิบาย ซักถามกันถึงการรักษา มีการทดสอบ ทดลองใช้ทดลองทำ พิสูจน์หาความสมเหตุสมผลที่เกิดขึ้นต่างก็ยิ่งประหลาดใจถึงผลที่ได้รับจากการรักษาอย่างสมบูรณ์อีกทั้งยังไม่มีอันตรายใดๆด้วย เป็นการรักษาทางด้านชีววิทยาโดยแท้ ด้วยวิธีการง่ายๆ ที่มีประสิทธิภาพ ช่วยรักษาโรคได้มากมายหลายชนิด <br />\n</span><br />\n        <span style=\"color: #0000ff\">Dr. Bruce Fife N.D. นักโภชนาการผู้มีชื่อเสียง ซึ่งเขียนหนังสือไว้หลายเล่มรวมทั้ง Coconut Oil Miracle เป็นอีกผู้หนึ่งที่มีความสงสัยในรายงานดังกล่าว จึงได้ทดลองทำออยล์พูลลิ่งด้วยตนเอง ผลลัพธ์ที่ได้ Dr.Fife ถึงกับออกปากว่า ออยล์พูลลิ่งเป็นการรักษาของแพทย์ทางเลือก ที่มีประสิทธิภาพที่สุด แต่สิ่งที่ Dr. Fife สงสัยคือ เหตุใดการอมน้ำมันจึงช่วยรักษาโรคได้ เขาเริ่มศึกษาการทำออยล์พูลลิ่งของ Dr. Karach อย่างจริงจังรวมทั้งศึกษารายงานอีกเป็นร้อยๆชิ้น ในที่สุดก็ได้ข้อสรุปที่เป็นคำตอบทางวิทยาศาสตร์ซึ่ง Dr. Fife เขียนไว้ในหนังสือชื่อ Oil Pulling Therapy มีใจความบางตอนดังนี้</span></p>\n<p>        ในปากของเราเต็มไปด้วยแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา และโปรโตซัว แต่ส่วนใหญ่เป็นแบคทีเรีย เพราะปากเป็นแหล่งอาศัยที่เหมาะสม มีความร้อน ความชื้น และอุณหภูมิคงที่  ยังมีอาหารอุดมสมบูรณ์จากเศษอาหารที่เรารับประทาน  กล่าวกันว่าปริมาณแบคทีเรียในปากของคนคนหนึ่ง มีมากกว่าจำนวนประชาการของคนทั้งโลก แบคทีเรียบางชนิดอาศัยอยู่บนผิวฟัน บางชนิดอยู่ในช่องว่างระหว่างฟันและเหงือก บางชนิดอยู่ที่เพดานปาก และบางชนิดอยู่ที่ใต้ลิ้นและโคนลิ้น การแปรงฟันและการใช้น้ำยาบ้วนปากช่วยลดปริมาณแบคทีเรียเหล่านี้ลงได้แค่เพียงชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งไม่นานก็จะกลับมาแพร่พันธุ์เพิ่มจำนวนขึ้นเช่นเดิม<br />\n<br />\n        <span style=\"color: #993366\">โรคร้ายทุกชนิดเริ่มต้นที่ปาก อาจฟังดูเหลือเชื่อ แต่หากไม่นับโรคทางพันธุกรรม โรคทางอารมณ์ หรือโรคจากการบาดเจ็บต่างๆ โรคร้ายเกือบทุกชนิด รวมทั้งการเจ็บป่วยเรื้อรังต่างๆล้วนเริ่มต้นที่ปาก เนื่องจากปากเป็นประตูเข้าสู่ร่างกาย การรับประทานอาหารไม่ถูกต้องหรืออาหารที่มีพิษ ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ ยิ่งกว่านั้นใน ปากและลำไส้ยังเป็นที่อยู่ของแบคทีเรียนับพันล้านตัว บางชนิดเป็นอันตราย บางชนิดไม่ และบางชนิด เป็นประโยชน์ ถ้าแบคทีเรียเหล่านี้สามารถเข้าสู่กระแสเลือด แม้แต่แบคทีเรียชนิดที่ไม่เป็นอันตราย ก็สามารถทำให้เราถึงแก่ความตายได้ หากในปากของเรามีแผล หรือมีการอักเสบของเหงือกหรือเนื้อเยื่อ จะทำให้แบคทีเรียสามารถเข้าสู่กระแสเลือดได้โดยง่าย เป็นสาเหตุของการเกิดโรคหลายชนิด ตั้งแต่โรคไขข้ออักเสบไปจนถึงโรคหัวใจ<br />\n</span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">ออยล์พูลลิ่ง (Oil Pulling) ทำงานอย่างไร ?</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n        <span style=\"color: #808000\">ออยล์พูลลิ่งเป็นการบำบัดที่ทำได้ง่ายที่สุดแต่ก็มีประสิทธิภาพมากที่สุดในบรรดาการรักษาทางธรรมชาติด้วยเช่นกัน สำหรับหลายๆคนมีความรู้สึกว่า แค่การอมและเคลื่อนน้ำมันไปทั่วๆปาก ไม่น่าจะช่วยรักษาโรคได้ อันที่จริงออยล์พูลลิ่งไม่ได้รักษาโรค แต่มันช่วยขจัดแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของโรคหรือเป็นตัวการปล่อยสารพิษให้หมดไป เพื่อให้ร่างกายมีโอกาสได้ฟื้นฟู</span></p>\n<p>        <span style=\"color: #008080\">ออยล์พูลลิ่งเป็นกระบวนการทางชีววิทยาล้วนๆ แบคทีเรียในช่องปากที่ก่อให้เกิดโรคส่วนใหญ่เป็นสัตว์เซลล์เดียว เซลล์เหล่านี้ปกคลุมด้วยน้ำมันหรือเนื้อเยื่อที่เป็นไขมันซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของผิวเซลล์ ( เซลล์ของคนเราก็ล้อมรอบด้วยส่วนผสมของไขมันเช่นเดียวกัน) เมื่อคุณเทน้ำมันลงในน้ำ สิ่งที่เกิดขึ้นคือ น้ำกับน้ำมันจะแยกกันอยู่ไม่ยอมผสมรวมกัน แต่ถ้าคุณเทน้ำมันสองชนิดเข้าด้วยกัน สิ่งที่เกิดขึ้นคือ น้ำมันทั้งสองจะผสมรวมและดึงดูดซึ่งกันและกัน นี่คือความลับของออยล์พูลลิ่ง เมื่อคุณใส่น้ำมันลงในปาก เนื้อเยื่อที่เป็นน้ำมันหรือไขมันของแบคทีเรียจะถูกน้ำมันดูดไว้ ขณะคุณเคลื่อนน้ำมันไปทั่วช่องปาก แบคทีเรียที่ซ่อนอยู่ภายใต้รอยแยกของเหงือกและฟันหรือตามซอกของฟันจะถูกดูดออกจากที่ซ่อนและติดแน่นอยูในส่วนผสมของน้ำมัน ยิ่งนานยิ่งมาก หลังจากผ่านไป 20 นาที ส่วนผสมของน้ำมันจะเต็มไปด้วยแบคทีเรีย ไวรัส ฯลฯ คุณจึงควรบ้วนทิ้งไปมากกว่าที่จะกลืนมันเศษอาหารที่ติดอยู่ตามซอกฟันซึ่งเป็นอาหารของแบคทีเรียจะถูกดูดออกด้วยเช่นกัน สิ่งที่ไม่ใช่น้ำมัน ( water based) จะถูกดูดออกด้วยน้ำลาย น้ำลายยังช่วยลดกรดที่เกิดจากแบคทีเรีย เมื่อแบคทีเรียรวมทั้งพิษร้ายที่เกิดจากแบคทีเรียถูกดูดออกไป จึงเป็นโอกาสดีที่ร่างกายได้ทำการฟื้นฟู  การอักเสบทั้งหลายหมดไป กระแสเลือดเป็นปกติ เนื้อเยื่อที่เสียหายได้รับการซ่อมแซม การมีสุขภาพดี จึงกลับมาในที่สุด<br />\n</span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">น้ำมันชนิดใดเหมาะจะใช้ทำออยล์พูลลิ่ง (Oil Pulling) ?</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n        <span style=\"color: #339966\">ตามตำราโบราณของอินเดียแนะนำให้ใช้น้ำมันดอกทานตะวันหรือน้ำมันงา เนื่องจากเป็นน้ำมันที่หาได้ทั่ว ไปในอินเดียขณะนั้น  Dr. Fifeกล่าวว่า น้ำมันชนิดใดก็สามารถใช้ทำออยล์พูลลิ่งได้ แต่โดยส่วนตัวแล้วชอบน้ำมันมะพร้าว เนื่องจากต้องการใช้น้ำมันที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ น้ำมันมะพร้าวเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพมากกว่าน้ำมันดอกทานตะวัน น้ำมันงา หรือน้ำมันพืชชนิดใดๆ กรดลอริคในน้ำมันมะพร้าวเมื่อถูกกับเอนไซม์ในน้ำลายจะแตกตัว เป็นโมโนกลีเซอไรด์ชื่อว่า โมโนลอริน ซึ่งมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อโรค เหตุผลอีกประการหนึ่ง น้ำมัน มะพร้าวบริสุทธิ์บีบเย็นที่ได้รับการผลิตอย่างมีคุณภาพจะมีความสะอาดถูกอนามัย แถมยังมีกลิ่นและรสชาติน่าพอใจอีกด้วย</span></p>\n<p><strong><span style=\"color: #ff6600\">วิธีการทำออยล์พูลลิ่ง</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n        <span style=\"color: #0000ff\">ทำขณะที่ท้องว่าง จะดื่มน้ำก่อนหรือไม่ก็ได้ใช้น้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์บีบเย็นประมาณ 2-3 ช้อนชา อมไว้ในปาก ค่อยๆ ดูด ดัน และดึง ให้น้ำมันไหลผ่านฟันและเหงือกน้ำมันจะเปลี่ยนเป็นขุ่นหรือมีสีเหลือง เคลื่อนน้ำมันไปทั่วๆปากอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 15-20 นาที จากนั้นให้บ้วนน้ำมันทิ้งไป  บ้วนปากด้วยน้ำสะอาด ตามด้วยการดื่มน้ำ ทำอย่างนี้วันละครั้งเป็นอย่างน้อย</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">ควรจะทำออยล์พูลลิ่ง (Oil Pulling) เวลาไหนถึงจะดี ?</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n        <span style=\"color: #800000\">แพทย์ทางอายุรเวท แนะนำว่าควรจะทำในช่วงเช้า หลังจากแปรงฟัน และท้องว่างอยู่ Dr Karach แนะนำให้ทำช่วงเช้า ตอนท้องว่าง จะให้ดีควรเป็นหลัง 1 ชั่วโมง หลังจากดื่มน้ำเปล่า ชา กาแฟ หรือน้ำใดๆ ในช่วงเช้า แต่ขอให้ทำก่อนอาหารมื้อเช้า หรือ ตอนท้องว่าง ขณะที่รู้สึกไม่ค่อยสบาย สุขภาพร่างกายมีปัญหา ก็ทำได้</span></p>\n<p><strong>น้ำมันที่ใช้เพียง 10 cc. มันดูน้อยจัง ใช้ 20 cc. จะได้ไหม ?</strong> \n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #800000\">        เมื่อเราทำออยล์พูลลิ่ง (Oil Pulling) น้ำมันที่อมในปากนั้นจะต้องรู้สึกบางเบา จางลง มีความรู้สึกคล้ายน้ำ ไม่ใช่ยังรู้สึกว่ายังอมน้ำมันอยู่ ควรจะรู้สึกคล้ายน้ำ เมื่อมีความรู้สึกอย่างนี้จึงจะเป็นผลดี และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ความมุ่งหมายในการทำ โดยทั่วไปความรู้สึกอย่างนี้จะเกิดขึ้นหลังจากอมไว้ 15-20 นาที แต่ถ้าใช้น้ำมันมากเกินไปมาอม ก็จะต้องใช้เวลานานขึ้นกว่าที่น้ำมันจะกลายเป็นน้ำสีขาวๆ เราก็คงไม่มีเวลาที่จะมาอมน้ำมันอยู่นานๆ กันแน่ ถ้าหากบ้วนทิ้งออกมาแล้วยังรู้สึกว่ายังคงเป็นน้ำมันอยู่ ก็เป็นเรื่องเสียเปล่า ไม่ค่อยได้ประโยชน์นัก จะไม่ค่อยรู้สึกสดชื่น ไม่ได้ผลสำเร็จตามที่ปรารถนา ถ้าจะใช้มากสักนิดหน่อยก็ไม่เป็นอันตรายใดๆ ไม่เสียหายมากมาย เพียงแต่ใช้เวลานานเสียหน่อย และสำหรับเด็กเราก็ใช้แค่ 5 cc.ก็พอ </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">โรคที่ได้รับรายงานว่าตอบสนองต่อการทำออยล์พูลลิ่ง</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n        <span style=\"color: #800080\">ผลของการทำออยล์พูลลิ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือ สุขภาพในช่องปากดีขึ้น ฟันขาวขึ้น แน่นขึ้นไม่โยกคลอน เหงือกเป็นสีชมพูแลดูมีสุขภาพ ลมหายใจสดชื่น นอกจากนี้ ดูเหมือนว่าออยล์พูลลิ่งจะช่วยเยียวยาความเจ็บไข้หรืออาการป่วยเรื้อรังได้อีกหลายชนิด ต่อไปเป็นชื่อของโรคหรืออาการเจ็บป่วยที่มีผู้รายงานเข้ามาว่ามีการตอบสนองที่ดีกับออยล์พูลลิ่ง: สิว ภูมิแพ้ รังแค ไซนัส ปวดหัวไมเกรน น้ำมูกมาก หืด หลอดลมอักเสบ ผิวหนังอักเสบ เรื้อนกวาง ปวดหลัง ปวดคอ ข้ออักเสบ กลิ่นปาก ฟันผุ ฟันเป็นหนอง เลือดออกตามไรฟัน โรคเหงือก ท้องผูก แผลในกระเพาะ ลำไส้ ลำไส้อักเสบ ริดสีดวงทวาร นอนไม่หลับ อ่อนเพลียเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปัญหาเกี่ยวกับประจำเดือน ส่วนอาการหรือโรคที่การศึกษาทางการแพทย์พบว่าเกี่ยวข้องกับสุขภาพในช่องปากโดยตรงและอาจมีผลตอบสนองกับการทำออยล์พูลลิ่งได้แก่ ปัสสาวะเป็นกรด ปอดอักเสบ( ARDS) ถุงลมโป่งพอง การอุดตันของเส้นเลือดและเส้นเลือดในสมอง  ผลเลือดผิดปกติ ฝีในสมอง มะเร็ง เกาต์ ถุงน้ำดี หัวใจ น้ำตาลในเลือดสูง แท้งบุตร ไต ตับ ความผิดปกติของระบบประสาท กระดูกพรุน ปอดบวม ทารกคลอด ก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อย แพ้สารพิษ และโรคติดเชื้ออื่นๆอีกหลายชนิด</span></p>\n<p><strong><span style=\"color: #ff6600\">ช่วงเวลาใดที่เหมาะสมจะทำออยล์พูลลิ่ง ?</span></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n        <span style=\"color: #008000\">ในตอนเช้าก่อนรับประทานอาหาร การแปรงฟันช่วยลดปริมาณแบคทีเรียได้ไม่มากเนื่องจากฟันมีพื้นที่แค่ 10% ของช่องปาก ก่อนอาหารกลางวันปริมาณแบคทีเรียจะเพิ่มสูงขึ้นเกือบเท่าตอนก่อนอาหารเช้า และ ลดลงมากที่สุดภายหลังรับประทานอาหารเย็น เมื่อคุณหลับแบคทีเรียมีโอกาสกลับมาเพิ่มจำนวนขึ้นใหม่   โดยไม่มีสิ่งใดมารบกวน การทำออยล์พูลลิ่งจึงควรทำเป็นสิ่งแรกในตอนเช้า ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่แบคทีเรียในช่องปากมีปริมาณมากที่สุด </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\"><strong>การทำออยล์พูลลิ่ง (Oil Pulling) ช่วยบำบัดรักษาโรคได้อย่างไร ?</strong> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">        Dr (med.) Karach ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ กล่าวว่า “ตามหลักการน้ำมันได้ช่วยรักษาฟันได้ดีอยู่แล้วตามที่ทราบกันดี จะเห็นผลได้ชัดเจนว่าน้ำมันทำให้ฟันมั่นคง แข็งแรง ช่วยรักษาฟันที่โยกคลอน รักษาอาการเลือดออกที่เหงือก และทำให้ฟันขาว” Oil Pulling ในด้านการแพทย์อายุรเวท เรียกว่า “KAVALA GRAHAM” ในหัวข้อของ Charaka Samhita sutra ได้เขียนไว้ว่า “การอมน้ำมันจะช่วยรักษาฟันที่เป็นรู เป็นแมงกินฟัน ช่วยรักษารากฟันให้แข็งแรง รักษาโรคฟัน อาการเสียวฟันที่เวลากินของเปรี้ยว จะช่วยรักษาฟันที่ผุ ทำให้ฟันแข็งแรงสามารถที่จะขบเคี้ยวของแข็งๆ ได้ดีขึ้น สิ่งเหล่านี้เป็นที่รู้และต่างก็มีประสบการณ์กันในการรักษาโรคฟันมาแล้วมากมาย<strong> </strong>มีหลักฐานเป็นที่เชื่อถือได้ในการใช้วิธี OP บำบัดรักษาโรคฟัน ป้องกันผลเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับฟัน หรือที่เกี่ยวกับฟัน และเห็นผลอย่างเด่นชัด ซึ่งหมอฟันไม่สามารถทำได้ จากประสบการณ์ต่างๆ มากมาย เราจะเห็นว่า OP ช่วยรักษาอาการปวดฟัน ขจัดการติดเชื้อ หยุดความเสียหายความเสื่อมสภาพที่จะเกิดหรือเกิดขึ้นแล้วกับฟัน บรรเทาหรือกำจัดอาการเสียวฟัน ทำให้ฟันมั่นคงและไม่โยกคลอน </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #008000\">        ตามที่กล่าวมาข้างต้น เราสามารถนำมาเชื่อมโยงเหตุผลเข้ามาเป็นเหตุผลว่าทำไม OP ช่วยรักษาอาการปวดให้หายไปได้ ต่อต้าน และกำจัดอาการติดเชื้อ ช่วยเยียวยารักษาสภาพของฟันที่กำลังเสียหายช่วยอาการเสียว ปวดฟัน ช่วยป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปาก ช่วยเหนี่ยวนำระบบประสาทให้ทำงานได้ดีขึ้น ให้ต่อมไร้ท่อ ต่อมคัดหลั่งทำงานได้ดี ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน และปรับสมดุลร่างกาย ในทำนองเดียวกัน OP ก็จะช่วยบำบัดอาการปวดศีรษะ ไมเกรน การจาม อาการเย็น อาการปวดในเวลาไม่กี่วัน และจะทำวันละครั้งหรือหลายครั้งก็ได้ อาการเมาค้าง สามารถบำบัดได้โดยเพียงทำ OP 2- 3 ครั้งในช่วงเช้า สิ่งที่ปฏิบัติเหล่านี้จะเป็นการศึกษา และเป็นประสบการณ์ ถ้าฝึกทำบ่อยๆ ก็จะเกิดความชำนาญในการปฏิบัติ และก็สามารถประเมินผลที่ได้จากประสบการณ์ที่เราได้ทำ ได้เจอด้วยตัวของตัวเอง วิธีการบำบัดโดย OP ก็จะคล้ายๆ กันในแต่ละโรค จะมีแตกต่างกันบ้างก็ในเรื่องของระยะเวลาที่ใช้ในการบำบัดในแต่ละคน</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่มา :  <u><span style=\"color: #0000ff\"><a href=\"http://www.the-arokaya.com\">www.the-arokaya.com</a></span></u></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><table border=\"0\" width=\"98%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td align=\"right\"></td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td> </td>\n<td align=\"right\"> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"6%\"> </td>\n<td width=\"93%\"><span style=\"color: #ff99cc\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การบรรยายประชุมวิชาการ เรื่อง บทบาทของน้ำมันมะพร้าวต่อสุขภาพ และความงาม</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">โดย : ดร. ณรงค์ โฉมเฉลา</span><b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span> <b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">สรุปการบรรยายประชุมวิชาการกรมพัฒน์ (วันพุธ)</span></span></b></span></span><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><br />\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #339966\"><span lang=\"TH\">เรื่อง </span>&quot;<span lang=\"TH\">บทบาทของนำมันมะพร้าวต่อสุขภาพ และความงาม&quot;</span><br />\n <span lang=\"TH\">โดย ดร.ณรงค์ โฉมเฉลา</span><br />\n <span lang=\"TH\">วันที่ </span>30 <span lang=\"TH\">พฤศจิกายน </span>2548 <span lang=\"TH\">เวลา </span>10.00-12.00 <span lang=\"TH\">น.</span><br />\n <span lang=\"TH\">ณ ห้องประชุมเบญจกูล กรมพัฒน์ฯ</span></span></span></span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #339966\"> <b><span style=\"font-size: 18pt; color: #663300; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span><span>           </span>มะพร้าว</span></b><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เป็นพืชพื้นเมืองของไทย ซึ่งบรรพบุรุษได้นำมะพร้าวมาใช้ประโยชน์จากทุกส่วนของต้น จนมะพร้าวได้ชื่อว่าเป็นต้นไม้สารพัดประโยชน์ และเป็นพฤกษาชีวิน หรือ </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Tree of life <span lang=\"TH\">เนื่องจากเป็นที่มาของปัจจัยสี่ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่มห่ม ยารักษาโรค และที่อยู่อาศัย มาตั้งแต่โบราณกาล โดยที่คนไทยไม่เคยมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพ แต่ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง น้ำมันมะพร้าวและกะทิซึ่งเป็นไขมันประเภทอิ่มตัว</span> (saturated fat) <span lang=\"TH\">ถูกระบุว่าเป็นสาเหตุของการเกิดโรคหัวใจ เพราะมีคอเลสเตอรอลสูง และเมื่อบริโภคเข้าไป ร่างกายก็ไปเปลี่ยนเป็นคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในกระแสโลหิต อันเป็นสาเหตุของการอุดตันของหลอดเลือดทำให้หัวใจวายเพราะขาดเลือด จึงมีการรณรงค์ให้หันไปบริโภคน้ำมันพืชที่ ไม่อิ่มตัว(</span>unsaturated fat) <span lang=\"TH\">แทน เช่น น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันทานตะวัน น้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันข้าวโพด เป็นต้น แต่ในปัจจุบันได้มีรายงานการวิจัยซึ่งนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกได้ตีพิมพ์ซึ่งชี้ให้เห็นว่า น้ำมันมะพร้าวที่เคยถูกระบุว่าเป็นสาเหตุของโรคหัวใจนั้นไม่เป็นความจริง เพราะผลการวิจัยสรุปได้ว่า น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากที่สุดในโลก แต่น้ำมันที่ไม่อิ่มตัวทั้งหลายกลับเป็นสาเหตุของการเกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคข้อเสื่อมและโรคอื่นๆ ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพที่ทำให้มนุษย์เสียชีวิตลงก่อนวัยอันควร เช่น คนอเมริกันกว่า</span> 60 <span lang=\"TH\">เปอร์เซ็นต์ มีน้ำหนักเกินอัตราที่กำหนดซึ่งมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลายชนิด เหตุที่เป็นเช่นนี้เนื่องมาจากทุกคนพากันบริโภคน้ำมันถั่วเหลือง และน้ำมันไม่อิ่มตัวชนิดอื่น ๆ ซึ่งเกิดจากความเข้าใจผิดมาเป็นเวลานาน </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ด้วยเหตุนี้จึงควรหันมาให้ความสำคัญกับน้ำมันมะพร้าวเพราะมีประโยชน์ทั้งในแง่ต่อสุขภาพและความงาม ซึ่งถ้าย้อนไปในยุคสมัยบรรพบุรุษของไทย อาหารไทยทั้งคาวและหวานหลายชนิด ต้องใช้กะทิหรือน้ำมันมะพร้าวเป็นเครื่องปรุง นอกจากนั้นยังใช้บำรุงสุขภาพและความงาม เช่น ใช้น้ำมันมะพร้าวทานวดตัวเพื่อรักษาโรคกระดูก ปวดเมื่อย และรักษาผิวไม่ให้กร้านแดดและเหี่ยวย่น ตลอดจนใช้น้ำมันมะพร้าวชโลมผมให้ดกดำเป็นเงางาม แต่คนสมัยใหม่กลับพึ่งพาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เช่น อาหารเสริม เครื่องสำอาง ยากันแดด ครีม โลชั่น ซึ่งบางชนิดกลับเป็นผลเสียต่อสุขภาพ และความงามของผู้บริโภคอย่างรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เป็นต้น </span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ชนชาติของประเทศทวีปเอเชีย เช่น ศรีสังกา อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ฯลฯ ซึ่งบริโภคมะพร้าวเป็นอาหารหลักอย่างหนึ่ง โดยใช้กะทิหรือน้ำมันมะพร้าวเป็นส่วนประกอบของอาหาร คนกลุ่มนี้ก็มีสุขภาพแข็งแรง และไม่ค่อยมีคนอ้วนหรือเป็นโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจเป็นจำนวนมากเหมือนกับพวกชาวตะวันตก และในด้านความงามก็เช่นเดียวกัน คนพื้นเมืองในประเทศเหล่านี้แม้ว่าบางเชื้อชาติจะมีผิวคล้ำแต่มีผิวที่เนียนไม่แตกลายหรือเหี่ยวย่น แต่ผิวพรรณกลับดูอ่อนกว่าวัย เส้นผมสลวยดกดำเป็นเงางามอันเนื่องมาจากใช้น้ำมันมะพร้าวมาทาผิว และชโลมเส้นผมนั่นเอง</span></span></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span> </td>\n<td width=\"1%\"> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td vAlign=\"top\"> </td>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td vAlign=\"top\"> </td>\n<td> </td>\n<td> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td vAlign=\"top\"> </td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n &nbsp;\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n</p></div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><u>ประเภทของน้ำมันมะพร้าว</u><br />\n</span></strong>\n</p>\n<dd><span style=\"color: #ff0000\">น้ำมันมะพร้าว แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ตามกระบวนการผลิตดังนี้</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"><strong>1. น้ำมันมะพร้าว RBD</strong> สกัดได้จากเนื้อมะพร้าวห้าวโดยการบีบ หรือใช้ตัวทำละลาย ผ่านความร้อนสูง และขบวนการทางเคมี RBD คือการทำให้บริสุทธิ์ (refining) ฟอกสี (bleaching) และกำจัดกลิ่น (deodorization) หลังจากที่สกัดได้ เพื่อให้เหมาะสำหรับการบริโภค ได้น้ำมันสีเหลืองอ่อนไม่มีกลิ่นและรส ปราศจากวิตามินอี (เพราะถูกขจัดออกไปโดยขบวนการทางเคมี) มีปริมาณกรดไขมันอิสระ (free fatty acid) ไม่เกิน 0.1 % ปัจจุบันไม่ค่อยมีจำหน่าย เพราะโรงงานสกัดน้ำมันมะพร้าวประเภทนี้ส่วนใหญ่เลิกดำเนินกิจการไปนานแล้ว</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"><strong>2. น้ำมันมะพร้าวบีบเย็น (cold-pressed coconut oil)</strong> โดยขบวนการบีบไม่ผ่านความร้อนสูง ผลิตจากเนื้อมะพร้าวสดเป็นน้ำมันมะพร้าวที่บริสุทธิ์ที่สุด สีใสเหมือนน้ำ มีวิตามินอี และไม่ผ่านขบวนการเติมออกซิเจน (oxidation) มีค่า peroxide และกรดไขมันอิสระต่ำมีกลิ่นมะพร้าวอย่างอ่อน ๆ ถึงแรง (ขึ้นอยู่กับขบวนการการผลิต) มีความชื้นไม่เกิน 0.1 % เรียกน้ำมันมะพร้าวชนิดนี้ว่า น้ำมันมะพร้าวพรหมจรรย์ (Virgin Coconut Oil) เป็นน้ำมันที่ผลิตโดยอุตสาหกรรมขนาดเล็ก หรือในครัวเรือน</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #808000\">เนื่องจากน้ำมันมะพร้าวที่มีจำหน่ายอยู่ในปัจจุบันเป็นน้ำมันมะพร้าวประเภทพรหมจรรย์ จึงขออธิบายถึงองค์ประกอบเฉพาะของน้ำมันประเภทนี้ ซึ่งมีส่วนทำให้น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันพืชชนิดเดียวที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และความงามของมนุษย์มากที่สุดในบรรดาน้ำมันพืชทั้งหลาย ดังต่อไปนี้</span> </dd>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<strong><u><span style=\"color: #008080\">องค์ประกอบของน้ำมันมะพร้าวพรหมจรรย์ (Virgin Coconut Oil) <br />\n</span></u></strong>\n</p>\n<dd><span style=\"color: #008080\">ส่วนประกอบของน้ำมันมะพร้าวมีสารที่มีลักษณะเด่น ๆ ดังนี้</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>1. กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acids)</strong><br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\">น้ำมันมะพร้าว ประกอบด้วยกรดไขมันที่อิ่มตัว กว่า 90 % อะตอมของธาตุคาร์บอนของกรดไขมันที่อิ่มตัวจะต่อกันเป็นเส้น (chain) โดยมีพันธะเดี่ยว (single bond) จับกันเองเป็นเส้นยาวตามจำนวนของคาร์บอน แต่ละอะตอมของคาร์บอนจะมีไฮโดรเจนติดอยู่ 2 ตัว เนื่องจากแต่ละอะตอมของคาร์บอนไม่สามารถรับไฮโดรเจนได้อีกเพราะไม่มีพันธะว่าง จึงเรียกน้ำมันที่มีกรดไขมันประเภทนี้ว่า “น้ำมันอิ่มตัว” กรดไขมันอิ่มตัวในน้ำมันมะพร้าวส่วนใหญ่ มีจำนวนอะตอมของคาร์บอน 8 – 14 ตัว กรดไขมันที่สำคัญได้แก่ กรด คาปริก (carpic acid – C10) กรดลอริก (Lauric acid – C12) และกรดไมริสติก (myristic acid – C14) ทำให้โมเลกุลมีความยาวของเส้น (chain) ขนาดปานกลาง </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\">นอกจากนี้ น้ำมันมะพร้าวยังประกอบไปด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturated fatty acid) แต่มีเพียง 9 % ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว</strong> (monounsaturated fatty acid) คือ กรดไขมันที่มีอะตอมของคาร์บอน 1 ตัว ไม่มีไฮโดรเจน 2 ตัวมาจับ จึงต้องจับคู่กันเองด้วยพันธะคู่ (double bond) จึงเป็น กรดไขมันที่มีพันธะคู่เพียงหนึ่งคู่ </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน</strong> (polyunsaturated fatty acid) คือ กรดไขมันที่มีพันธะคู่มากกว่า 1 คู่ ส่วนใหญ่กรดไขมันไม่อิ่มตัวจะมีจำนวนอะตอมของคาร์บอนมาก จึงทำให้โมเลกุลมีความยาวมาก เช่น กรดลินโนเลอิก (linoleic acid – C18)</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #993366\"><strong>2. กรดลอริก (lauric acid)</strong><br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #993366\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #993366\">น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันจากพืชชนิดเดียวในโลกที่มีกรดลอริก อยู่ในปริมาณที่สูงมาก ประมาณ48 – 53 % และกรดลอริกนี้เอง ที่ทำให้น้ำมันมะพร้าวมีคุณสมบัติพิเศษในการเสริมสุขภาพและ ความงามของมนุษย์ น้ำมันมะพร้าวยังมีกรดคาปริก (capric acid) ซึ่งแม้ว่าจะมีน้อยกว่ากรดลอริก คือ มีเพียง 6-7 % แต่ก็ช่วยเสริมประสิทธิภาพของกรดลอริก </span>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\"><strong>องค์ประกอบของกรดไขมันของน้ำมันพืชบางชนิด</strong> </span>\n</p>\n<table border=\"1\" width=\"100%\" cellPadding=\"2\" cellSpacing=\"1\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"><strong>Coconut<br />\n Oil</strong> </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"><strong>Palm <br />\n Kernel<br />\n Oil</strong> </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"><strong>Palm<br />\n Oil</strong> </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"><strong>Olive<br />\n Oil</strong> </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"><strong>Soybean<br />\n Oil</strong> </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"><strong>A. Saturated</strong> </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C6:0 Caproic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.50 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.30 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C8:0 Caprylic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">8.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">3.90 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C10:0 Capric </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">7.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">4.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C12:0 Lauric </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">48.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">49.60 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">  0.30   </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C14:0 Myristic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">17.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">16.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">1.10 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.10 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C16:0 Palmitic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">9.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">8.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">45.20 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"> 14.00  </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">10.50 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C18:0 Stearic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">2.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">2.40 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">4.70 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">2.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">3.20 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C20:0 Arachidic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.10 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.10 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.20 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.20 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"><strong>B. Unsaturated</strong> </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\"></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C16:1 Palmitoleic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.10 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">1.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C18:1 Oleic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">6.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">13.70 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">38.8 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">71.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">22.30 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C18:2 Linoleic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">2.30 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">2.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">9.40 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">10.00 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">54.50 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C18:3 Linoleic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.30 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.80 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">8.30 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">C20:4 Arachidonic </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">- </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">0.90 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #993366\">% Unsaturated </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">8.40 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">15.70 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">48.50 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">82.80 </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #993366\">90.80 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n<span style=\"color: #993366\"></span>\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #800000\"><strong>3. วิตามินอี (vitamin E)</strong><br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800000\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800000\">น้ำมันมะพร้าวที่ไม่ผ่านขบวนการ RBD ยังคงมีวิตามินอีเหลืออยู่ และก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้น้ำมันมะพร้าวโดดเด่นกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น ๆ </span></dd>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #ffcc99\"><strong><u>บทบาททางสรีรวิทยาของน้ำมันมะพร้าว</u></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<dd><span style=\"color: #808000\">น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันพืชที่มีองค์ประกอบที่แตกต่างไปจากน้ำมันพืชชนิดอื่น ๆ ดังได้กล่าวมาแล้ว และแต่ละองค์ประกอบก็มีบทบาททางสรีรวิทยาที่เสริมให้น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันที่ดีที่สุดสำหรับสุขภาพและความงามของผู้บริโภค ดังคำอธิบายต่อไปนี้ </span>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\"><strong>1. ความอิ่มตัว</strong><br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\">เนื่องจากน้ำมันมะพร้าวประกอบด้วยกรดไขมันที่อิ่มตัวโดยที่พันธะ (bond) ที่จับกันระหว่างอะตอมของคาร์บอนเป็นพันธะเดี่ยว (single bond) ทำให้มีความเสถียรหรืออยู่ตัว (stability) สูงจึงไม่ถูกอะตอมของไฮโดรเจนและออกซิเจนเข้าไปแทรก ซึ่งเรียกว่า hydrogenation และ oxidation ได้ง่าย ๆ และ ไม่มีกลิ่นหืนเหมือนน้ำมันไม่อิ่มตัวโดยเฉพาะพวกที่เป็นน้ำมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน (polyunsaturated oil) ซึ่งมีพันธะคู่หลายตำแหน่งเมื่อถูกความร้อนสูงจะทำให้เกิดเป็นเกิดเป็น trans fatty acids ซึ่งเป็นกรดไขมันชนิดทำให้เกิดผลร้ายต่อร่างกายมากมาย เช่นทำลาย เยื่อหุ้มเซลล์ (membrane) อันเป็นผลทำให้เซลล์อ่อนแอจนเชื้อโรคและสารพิษเข้าไปได้สะดวก ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง เปลี่ยนแปลงกลไกของร่างกายในการขจัดคอเลสเตอรอลโดยการขัดขวางการเปลี่ยนไปเป็นพลังงานในตับ จึงทำให้มีปริมาณคอเลสเตอรอลเพิ่มขึ้นในกระแสโลหิต ลดปริมาณและคุณภาพของนมน้ำเหลืองของมารดา เพิ่มโอกาสเป็นโรคเบาหวาน ลดปริมาณของฮอร์โมนเทสโตสเตอโรล ในเพศชาย เป็นต้น</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>2. กรดไขมันขนาดกลาง</strong><br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\">การที่กรดไขมันในน้ำมันมะพร้าวที่โมเลกุลขนาดกลาง มีส่วนอย่างมากที่ทำให้มีคุณสมบัติเป็นเลิศ ดังจะเห็นได้จากกรณีดังต่อไปนี้<br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>2.1 เปลี่ยนเป็นพลังงานได้อย่างรวดเร็ว</strong> : ร่างกายของมนุษย์สามารถเปลี่ยนน้ำมันมะพร้าวให้เป็นพลังงานอย่างรวดเร็ว เนื่องจากส่วนใหญ่ของกรดไขมันของน้ำมันมะพร้าวมีโมเลกุลขนาดกลาง (C8 – C14) เมื่อเราบริโภคเข้าไปมันจะผ่านจากกระเพาะอาหารไปยังลำไส้ แล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานที่ตับอย่างรวดเร็ว (ภายในหนึ่งชั่วโมง) ทำให้ไม่มีไขมันเหลือสะสมในร่างกาย ดังภาพที่ 1 </span>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><img border=\"0\" align=\"baseline\" width=\"723\" src=\"http://www.dtam.moph.go.th/alternative/downloads/coconut3.jpg\" height=\"954\" style=\"width: 507px; height: 294px\" /> </span>\n</div>\n</dd>\n<dd>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>ภาพที่ 1 แสดงความแตกต่างของโมเลกุลไขมันในการเปลี่ยนเป็นพลังงาน</strong> </span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>2.2 เพิ่มอัตราเมตาบอลิซึม :</strong> นอกจากจะเปลี่ยนเป็นพลังงานอย่างรวดเร็วดังได้กล่าวมาแล้ว น้ำมันมะพร้าวยังไปเร่งอัตราการเผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงาน หรือเมตาบอลิซึม (metabolism) เพราะมันมีผลทำให้เกิดความร้อนสูง (thermogenesis) โดยไปกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้ทำงานเร็วขึ้น คล้ายกับบุคคลประเภทไฮเปอร์ไทรอยด์ (hyperthyroid) ที่ต่อมไทรอยด์ทำงานในอัตราที่สูงกว่าคนธรรมดา บุคคลพวกนี้จึงใช้พลังงานมาก ทำให้เป็นคนกระฉับกระเฉง (active) และไม่อ้วน เพราะน้ำมันมะพร้าวที่บริโภคเข้าไปถูกเผาผลาญเป็นพลังงานหมดไม่สะสมเป็นไขมันในร่างกาย ดังภาพที่ 2 </span>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><img border=\"0\" align=\"baseline\" width=\"559\" src=\"http://www.dtam.moph.go.th/alternative/downloads/coconut5.jpg\" height=\"555\" style=\"width: 549px; height: 370px\" /> </span>\n</p>\n</dd>\n<dd>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong>ภาพที่ 2 แสดงการเผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงาน</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>2.3 ช่วยลดน้ำหนัก :</strong> การบริโภคน้ำมันมะพร้าว นอกจากจะไม่ทำให้อ้วนแล้ว ยังสามารถลดความอ้วนจากผลของการเกิดความร้อนสูงในร่างกาย โดยการไปนำไขมันที่ร่างกายสะสมไว้ในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ออกมาใช้เป็นพลังงาน ดังนั้นน้ำมันมะพร้าวจึงช่วยลดความอ้วนได้ จนมีคำที่ว่า “Eat Fat – Look Thin” </span>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><strong><span style=\"color: #cc99ff\">3. กรดลอริกและโมโนลอริก <br />\n</span></strong></dd>\n<dd><span style=\"color: #cc99ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #cc99ff\">น้ำมันมะพร้าวมีกรดลอริก (lauric acid) อยู่ประมาณ 50 % กรดนี้ มีส่วนที่ทำให้น้ำมันมะพร้าวดีเด่นกว่าน้ำมันพืชชนิดอื่น ๆ เพราะมีความสามารถพิเศษ คือ <br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #cc99ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #cc99ff\"><strong>3.1 สร้างภูมิคุ้มกัน :</strong> เมื่อเราบริโภคน้ำมันมะพร้าวเข้าไปในร่างกาย กรดลอริกในน้ำมันมะพร้าวจะเปลี่ยนเป็นโมโนกลีเซอไรด์ (monoglyceride) ที่มีชื่อว่า โมโนลอริน (monolaurin) ซึ่งเป็นสารตัวเดียวกับที่อยู่ในน้ำนมมารดา ที่ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันให้กับทารกในระยะ 6 เดือนแรก ที่ร่างกายยังไม่สร้างระบบภูมิคุ้มกันโรค <br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #cc99ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #cc99ff\"><strong>3.2 ฆ่าเชื้อโรค :</strong> โมโนลอรินเป็นสารปฏิชีวนะที่ทำลายเชื้อโรคทุกชนิด ที่ดีกว่ายาปฏิชีวนะที่ใช้อยู่ในปัจจุบันที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ยีสต์ โปรโตซัว และไวรัส ไวรัสบางชนิด ที่ยาปฏิชีวนะทั่วไป ทำลายไม่ได้เนื่องจากมีเกราะที่เป็นไขมันห่อหุ้ม (lipid-coated membrane) แต่เกราะนี้ก็จะถูกละลายโดยน้ำมันมะพร้าวเพื่อเปิดโอกาสให้โมโนลอรินเข้าไปฆ่าเชื้อโรค สารปฏิชีวนะในน้ำมันมะพร้าวไม่เป็นพิษต่อมนุษย์ และจะถูกสร้างขึ้นในร่างกายของมนุษย์เมื่อบริโภคอาหารที่มีกรดลอริก อีกทั้งไม่เป็นอันตรายต่อแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ในลำไส้ </span>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"><strong>4. กรดคาปริกและโมโนคาปริน</strong><br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\">แม้ว่าจะมีอยู่เพียง 6-7 % แต่กรดคาปริก (capric acid) ก็ช่วยเสริมประสิทธิภาพของโมโนลอริน โดยการเปลี่ยนเป็นสารโมโนคาปริน (monocaprin) เมื่อน้ำมันมะพร้าวถูกบริโภคเข้าไปในร่างกาย ซึ่งมีฤทธิ์เช่นเดียวกันกับโมโนลอริน ทั้งนี้ก็เพราะประสิทธิภาพของการทำงานของโมโนลอริน และโมโนคาปรินขึ้นอยู่กับปริมาณที่มีอยู่</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #ff0000\"><strong>5. วิตามิน</strong> <br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff0000\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff0000\">น้ำมันมะพร้าว ที่ผลิตจากมะพร้าวแห้งที่เก็บไว้นาน ๆ จะมีจุลินทรีย์ปนเปื้อน ตลอดจนถูกแสงแดดและความร้อน เมื่อนำไปสกัดน้ำมันมะพร้าวโดยวิธีหีบหรือ การใช้ตัวทำละลาย จึงสูญเสียคุณสมบัติที่ดี โดยเฉพาะสิ่งที่ทำให้มันไม่หืน และเมื่อถูกนำไปผ่านขบวนการทางเคมี RBD ก่อนที่จะนำไปบริโภคจะสูญเสียวิตามินอีไป แต่ก็ยังเป็นน้ำมันที่ดีต่อสุขภาพ ตราบใดที่ไม่ได้ถูกเปลี่ยนแปลงทางเคมีโดยขบวนการเติมไฮโดรเจนหรือเติมสารกันเสีย (preservatives) เพื่อรักษาสภาพให้คงทนและไม่หืน แต่น้ำมันมะพร้าวพรหมจรรย์ ซึ่งสกัดได้โดยวิธีหมัก หรือวิธีบีบเย็นไม่ใช้อุณหภูมิสูง และไม่ผ่านขบวนการทางเคมี จะยังคงมีวิตามินอีเหลืออยู่ วิตามินอีในน้ำมันมะพร้าว มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ <br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff0000\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff0000\"><strong>5.1 ต่อต้านอนุมูลอิสระ :</strong> วิตามินอี ทำหน้าที่เป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) โดยการป้องกันเซลล์ไม่ให้ถูกเติมออกซิเจน และเป็นตัวต่อต้านอนุมูลอิสระ (free radicals) ซึ่งเกิดจากมลพิษในสิ่งแวดล้อม อาหารและเครื่องดื่ม การสูบบุหรี่ รังสี ความเครียด ฯลฯ โดยปกติร่างกายของมนุษย์มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระคอยทำลายอนุมูลอิสระอยู่แล้ว แต่เมื่อบริโภคน้ำมันพืชประเภทไม่อิ่มตัวซึ่งถูกเติมออกซิเจน (oxidized) ได้ง่าย ๆ ตั้งแต่เริ่มสกัด ตลอดจนระหว่างการขนส่ง การวางจำหน่าย และการเก็บรักษาก่อนบริโภค จึงเกิดเป็นอนุมูลอิสระได้ง่าย อนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นน่าจะไปลบล้างประสิทธิภาพ (neutralize) ของสารต้านอนุมูลอิสระที่มีอยู่ในร่างกาย ทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีที่เกิดผลเสียแก่เซลล์และเนื้อเยื่อ เนื่องจากอนุมูลอิสระเป็นโมเลกุลที่เปลี่ยนสภาพโดยสูญเสียอีเล็กตรอน (electron) จึงไปจับกับโมเลกุลที่อยู่ใกล้เคียงต่อไปเรื่อย ๆ เกิดเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ เป็นผลทำให้เซลล์ผิดปกติไป เช่น เยื่อบุเซลล์ฉีกขาด เปลี่ยนสารพันธุกรรมใน นิวเครียส เกิดการกลายพันธุ์ ทำให้เกิดโรคที่เกี่ยวกับความเสื่อม (degenerative diseases) เช่น โรคหัวใจ มะเร็ง ไขข้ออักเสบ เบาหวาน โรคภูมิแพ้ ชราภาพก่อนวัย เป็นต้น <br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff0000\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff0000\"><strong>5.2 สารโทโคไทรอีนอล (tocotrienol)</strong> วิตามินอีในน้ำมันมะพร้าว มีสารโทโคไทรอีนอล ซึ่งเป็นรูปของวิตามินอีที่มีอานุภาพสูงกว่าสารโทโคเฟอรอล (tocopherol) ซึ่งอยู่ในวิตามินอีทั่วไป โดยเฉพาะที่มีอยู่ในเครื่องสำอางรักษาผิวถึง 40-60 เท่า ด้วยเหตุนี้น้ำมันมะพร้าวจึงต่อต้านอนุมูลอิสระได้อย่างมีประสิทธิภาพ </span></dd>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<strong><u><span style=\"color: #003366; background-color: #ffcc99\">บทบาทของน้ำมันมะพร้าวต่อสุขภาพ<br />\n</span></u></strong>\n</p>\n<dd><span style=\"color: #003366; background-color: #ffcc99\">สุขภาพที่ดีของมนุษย์ ขึ้นอยู่กับสถานภาพ 4 ประการ คือ<br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"><strong>1. การรักษาสุขภาพให้แข็งแรง</strong><br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\">จากบทบาททางสรีรวิทยาของน้ำมันมะพร้าวที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ทำให้ผู้บริโภคน้ำมันมะพร้าวมีสุขภาพดี แข็งแรง เพราะได้พลังงานทันทีที่บริโภคน้ำมันมะพร้าว นอกจากนั้น น้ำมันมะพร้าวยังมีคุณทางอาหาร โดยเฉพาะวิตามิน และเกลือแร่ ที่ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง อีกทั้งยังช่วยเพิ่มคุณค่าของอาหารโดยการเพิ่มการดูดวิตามิน เกลือแร่ และกรดอะมิโน เนื่องจากน้ำมันมะพร้าวเป็นโมเลกุลขนาดเล็ก จึงถูกย่อยง่าย และเคลื่อนที่เร็วไปตามของเหลวในร่างกาย จึงเป็นที่นิยมใช้หุงต้มอาหารสำหรับคนไข้ที่มีปัญหาการย่อยไขมัน และยังใช้ในสูตรน้ำนม เพื่อให้ไขมันที่จำเป็นแก่เด็กทารก และช่วยในการดูดซึมแคลเซียม และแมกนีเซียม ซึ่งจำเป็นสำหรับการพัฒนากระดูก<br />\n</span></dd>\n<dd><strong><span style=\"color: #ff6600\">2. ช่วยให้ปลอดจากโรคไม่ติดเชื้อ </span></strong></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\">โรคไม่ติดเชื้อที่ น้ำมันมะพร้าวมีส่วนในการลดอัตราการเกิด ได้แก่ </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"><strong>2.1 โรคหัวใจ :</strong> จากผลการวิเคราะห์พบว่า น้ำมันมะพร้าวมีคอเลสเตอรอลน้อยมาก เพราะมีเพียง 14 ส่วนในล้านซึ่งน้อยกว่าน้ำมันถั่วเหลือง ซึ่งมี 28 ส่วน และที่สำคัญคือ เมื่อบริโภคน้ำมันมะพร้าวเข้าไป ในร่างกาย ก็ไม่ได้เปลี่ยนเป็นคอเลสเตอรอลในกระแสโลหิต อีกทั้งยังไม่ได้ทำให้หลอดเลือดแข็งตัวเหมือนกับน้ำมันพืชประเภทไม่อิ่มตัว เช่นน้ำมันถั่วเหลืองที่ถูกเติมไฮโดรเจน (hydrogenate) ในขบวนการผลิต และถูกเติมออกซิเจน (oxidize) ระหว่างเดินทางก่อนถูกบริโภค จนเกิดเป็นtrans fatty acids ซึ่งเป็นตัวการทำให้เกิดลิ่มเลือด และไปอุดตันหลอดเลือด นอกจากนั้นน้ำมันมะพร้าวยังมีวิตามินอีที่ช่วยขยายหลอดเลือดและป้องกันการแข็งตัวของหลอดเลือดที่เป็นสาเหตุของโรคหัวใจ นักโภชนาการสมัยใหม่จึงสรุปว่า น้ำมันมะพร้าวช่วยทำให้หัวใจมีสุขภาพดี เพราะเป็นหนึ่งในสองชนิดของน้ำมันบริโภค ซึ่งช่วยลดความหนืด (stickiness) ของเลือดที่เป็นสาเหตุของโรคหัวใจ </span>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong>น้ำมันมะพร้าวอุดมไปด้วยโคเลสเตอรอลจริงหรือ?</strong> </span>\n</p>\n<table border=\"1\" align=\"center\" width=\"80%\" cellPadding=\"2\" cellSpacing=\"1\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ff6600\"><strong>ชนิดของน้ำมัน</strong> </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ff6600\"><strong>ปริมาณคอเรสเตอรอล (ส่วนต่อล้าน</strong>) </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #ff6600\">น้ำมันมะพร้าว  </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ff6600\">14 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #ff6600\">น้ำมันปาล์ม </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ff6600\">18 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #ff6600\">น้ำมันถั่วเหลือง                </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ff6600\">28 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #ff6600\">น้ำมันข้าวโพด </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ff6600\">50 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #ff6600\">เนยเหลว </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ff6600\">3,150 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #ff6600\">น้ำมันหมู </span>\n </p>\n</td>\n<td>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ff6600\">3,500 </span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"><strong>2.2 โรคมะเร็ง :</strong> น้ำมันมะพร้าวมีประสิทธิภาพในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคมะเร็ง ด้วยกลไก 2 วิธี คือ<br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\">(1) เนื่องจากเป็นน้ำมันประเภทอิ่มตัวจึงไม่ถูกเติมไฮโดรเจน (hydrogenate) และแตกตัวเมื่อถูกกับอุณหภูมิสูง </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\">(2) มีวิตามินอีช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระที่เป็นสาเหตุของการกลายพันธุ์ของยีน เกิดเป็นเซลล์มะเร็ง และการทำร้ายเซลล์ การใช้น้ำมันมะพร้าวชโลมตัว ก็ช่วยป้องกันมะเร็งผิวหนังได้ดีกว่ายาทากันแดดราคาแพง<br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"><strong>2.3 โรคอ้วน :</strong> โรคอ้วนนั้นมีความสัมพันธ์กับสภาพต่าง ๆ เช่น การมีไขมันในเลือดสูงเป็นโรคเบาหวานมีความดันโลหิตสูง เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ตลอดจนโรคข้ออักเสบ ภาวะหยุดหายใจ ขณะหลับ ฯลฯ การบริโภคน้ำมันมะพร้าวจะช่วยทำให้ร่างกายเกิดความร้อนสูง (ในขบวนการ thermogenesis) ทำให้ร่างกายมีอัตราการเผาผลาญอาหาร หรือเมตาบอลิซึม (metabolism) สูงเกิดเป็นพลังงานสำหรับใช้ในการดำรงชีวิต อีกทั้งยังช่วยทำลายไขมันที่ร่างกายสะสมอยู่ นำไปใช้เป็นพลังงาน ดังนั้น ผู้บริโภคน้ำมันมะพร้าวเป็นประจำจึงไม่อ้วน </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"><strong>2.4 โรคเบาหวาน :</strong> ผลพลอยได้ของการเพิ่มอัตราการเผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงานจากการบริโภคน้ำมันมะพร้าวทำให้ร่างกายไม่สะสมน้ำตาล เพราะถูกใช้ไปเป็นพลังงานหมด อีกทั้งยังไม่ทำให้ผู้ป่วยอยากรับประทานอาหารที่เป็นแป้งหรือน้ำตาล จึงช่วยลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานไปได้โดยปริยาย </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #ff6600\"><strong>2.5 โรคปวดเมื่อย โรคชราภาพก่อนวัย โรคมะเร็งผิวหนัง และโรคกระดูก :</strong> น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันที่ถูกดูดซึมเข้าทางผิวหนังได้ดี เพราะมีขนาดของโมเลกุลเล็กจึงนิยมใช้นวดตัวให้หายปวดเมื่อย และผ่อนคลายความเครียด อีกทั้งยังปกป้องการทำลายของแสงอัลตราไวโอเลตที่ทำให้ผิวหนังเหี่ยวย่นแก่ก่อนวัย และเป็นมะเร็งผิวหนัง ช่วยเสริมสร้างพัฒนาการของกระดูกให้แข็งแรง แพทย์แผนไทยจึงนิยมนำน้ำมันมะพร้าว มาประกอบเป็นสูตรยาแผนโบราณในการรักษาโรคที่เกี่ยวกับกระดูก อันเนื่องมาจากการประสบอุบัติเหตุ </span>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>3. ช่วยให้ร่างกายปลอดจากโรคติดเชื้อ</strong><br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\">จุลินทรีย์ที่เป็นเชื้อโรคเป็นสาเหตุของโรคของมนุษย์มากมายเหลือคณานับ แต่ก็แปลกที่เด็กทารกแรกคลอดที่ดูดน้ำนมมารดาเป็นประจำมักไม่ค่อยเป็นโรคเหล่านี้ ทั้งนี้ก็เพราะมีภูมิคุ้มกันที่ได้มาจากน้ำนมมารดา ได้มีการค้นพบว่าสารสำคัญในนมน้ำเหลือง (cholostum) ของมารดานี้ คือ กรดลอริก ซึ่งเมื่อเข้าไป ในร่างกายก็เปลี่ยนไปเป็นสารโมโนลอริน ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นสารปฏิชีวนะนั่นเอง ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบของน้ำมันมะพร้าวพบว่ามีกรดลอริกสูงมากถึง 48-53% ซึ่งมากกว่าในน้ำนมมารดามาก ในปัจจุบันวงการแพทย์สมัยใหม่ได้แนะนำให้ประชาชนกินยาเม็ดที่มีโมโนลอรินเพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันโรค</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"><strong>4. การรักษาโรค</strong><br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\">จากการที่น้ำมันมะพร้าวมีคุณสมบัติเป็นยาฆ่าเชื้อ และสามารถถูกดูดซึมเข้าไปในร่างกายได้ดี และรวดเร็ว ตำราอายุรเวทของอินเดียจึงได้ใช้น้ำมันมะพร้าวรักษาโรคมาไม่ต่ำกว่า 4,000 ปี แพทย์แผนไทยก็ได้ใช้น้ำมันมะพร้าวรักษาโรคทั้งภายในและภายนอกมาเป็นเวลาช้านาน เช่น ในตำราพระโอสถพระนารายณ์ ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาได้ใช้น้ำมันมะพร้าวเป็นยานวดแก้ปวดเมื่อย ยารักษาโรคกระดูก ยารักษาแผลเน่าเปื่อย ส่วนตำราแพทย์แผนไทยในปัจจุบันก็แนะนำให้ใช้น้ำมันมะพร้าวรักษาโรคกระดูกที่เกิดจากอุบัติเหตุ รักษา เม็ดผดผื่นคัน ลบริ้วรอย แผลฟกช้ำ ซ่อมแซมส่วนสึกหรอ และป้องกันแสงแดด และความร้อน แม้กระทั่งแพทย์แผนปัจจุบันชาวตะวันตก ก็ให้คนไข้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการย่อยอาหารหรือการดูดซึมอาหาร เด็กทารกรวมทั้งเด็กเล็กที่ไม่สามารถย่อยไขมัน กินน้ำมันมะพร้าวเป็นยารักษาโรค ศักยภาพของน้ำมันมะพร้าวในการรักษาโรคมีดังนี้<br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"><strong>4.1 โรคที่เกิดจากการติดเชื้อต่าง ๆ</strong> เชื้อโรคที่กรดลอริกในน้ำมันมะพร้าวสามารถทำลายได้ ได้แก่ เชื้อแบคทีเรีย เชื้อราและยีสต์ เชื้อโปรโตซัว และเชื้อไวรัส โมโนลอรินหรือสารปฏิชีวนะในน้ำมันมะพร้าว มีจุดเด่นสองประการ คือ ไม่ทำให้เกิดการดื้อยาของเชื้อโรค และสามารถฆ่าเชื้อโรคบางชนิดที่มีเกราะไขมันห่อหุ้มเซลล์ ที่ยาปฏิชีวนะธรรมดา ไม่สามารถฆ่าได้ แต่น้ำมันมะพร้าว สามารถละลายเกราะไขมันนี้ได้ แล้วจึงเข้าไปฆ่าเชื้อโรคเหล่านี้ เท่าที่ได้มีการวิจัยพบว่า เชื้อโรคที่มีเกราะไขมันห่อหุ้มนี้เป็นโรคร้ายในปัจจุบันที่รักษายากมาก เพราะทำลายมันไม่ได้ อย่างดีก็หยุดไม่ให้มันขยายพันธุ์โรคเหล่านี้ เช่น ไวรัสโรคเอดส์ โรค SARS ซึ่งได้ผลเป็นที่น่าพอใจ และกำลังมีการทดลองเพิ่มเติมเพื่อยืนยันผล </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"><strong>4.2 โรคผิวหนัง</strong> ผิวหนังที่ถูกอนุมูลอิสระเข้าทำลาย หรือจากการถูกทำร้าย จนเกิดเป็นแผลที่เชื้อโรคจะเข้าทำลายต่อโมโนลอรินในน้ำมันมะพร้าว ซึ่งเป็นสารปฏิชีวนะจะช่วยกำจัดเชื้อโรคเหล่านี้ </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800080\"><strong>4.3 รังแคหนังศีรษะ</strong> น้ำมันมะพร้าวมีสารปฏิชีวนะที่ทำลายเชื้อโรคที่ทำให้เกิดรังแค หากชโลมผมด้วยน้ำมันมะพร้าวจะช่วยรักษารังแคหนังศีรษะได้ </span></dd>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #003300\"><span style=\"background-color: #ccffcc\"><strong><u>บทบาทของน้ำมันมะพร้าวต่อความงาม</u></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<dd><span style=\"color: #800080\">น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันที่ได้จากธรรมชาติปราศจากสารเคมีสังเคราะห์ใด ๆ เจือปน โดยเฉพาะยากำจัดศัตรูพืช ซึ่งมักจะมีอยู่ในน้ำมันพืชอื่น ๆ เนื่องจากกรดไขมันในน้ำมันมะพร้าวมีขนาดโมเลกุลที่เล็ก ทำให้ถูกดูดซึมเข้าไปได้ง่าย เราสามารถใช้น้ำมันมะพร้าวในสภาพที่สกัดได้ตามธรรมชาติทันที โดยไม่ต้องทำให้บริสุทธิ์ ฟอกสี และกำจัดกลิ่น ดังเช่นน้ำมันพืชอื่น ๆ จึงปลอดภัยจากอันตรายจากสารเคมี น้ำมันมะพร้าวมีบทบาทต่อความงาม ในเรื่องดังต่อไปนี้</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><strong><span style=\"color: #800000\">1. รูปร่างได้สัดส่วน ไม่อ้วน แต่แข็งแรง<br />\n</span></strong></dd>\n<dd><span style=\"color: #800000\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #800000\">เนื่องจากน้ำมันมะพร้าวที่เราบริโภคเข้าไปสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานได้ทันที จึงไม่มีไขมันสะสมในร่างกาย อีกทั้งยังกระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์ทำงานดีขึ้น จึงนำเอาไขมันที่ร่างกายสะสมไว้ก่อนหน้า ไปใช้เผาผลาญให้เกิดพลังงาน จึงช่วยลดความอ้วนได้ ดังนั้นผู้ที่บริโภคน้ำมันมะพร้าวเป็นประจำจึงไม่อ้วน (เพราะไม่มีไขมันสะสม) แต่ร่างกายก็สันทัดสมส่วน และแข็งแรง </span>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"></span>\n</p>\n</dd>\n<dd><strong><span style=\"color: #008000\">2. ผิวสวย<br />\n</span></strong></dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\">การนวดหรือชโลมตัวด้วยน้ำมันมะพร้าว ช่วยให้ผิวสวย เพราะ : </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\"><strong>2.1 ผิวดูอ่อนวัย :</strong> น้ำมันมะพร้าวที่ใช้ชโลมตัว ทั้งในรูปน้ำมันมะพร้าวสด ๆ หรือในรูปของผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าว เช่น ครีม และโลชั่นจะทำให้ผิวพรรณนุ่มไม่แตกแห้งเป็นกระ หรือฝ้า แต่ชุ่มชื้นและผิวเนียน ปราศจากริ้วรอยเหี่ยวย่น ทั้งนี้เพราะน้ำมันมะพร้าวมีวิตามินอีที่มีอานุภาพมากกว่าวิตามินอีในเครื่องสำอางช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระที่เป็นตัวการที่ทำให้เกิดการเสื่อมของเซลล์ผิวหนัง ป้องกันการเสื่อมโทรมของเซลล์จากขบวนการเติมออกซิเจน (Oxidation) ช่วยกำจัดเซลล์ผิวหนังที่ตายแล้วและทับถมกันจนทำให้ผิวแห้ง ขณะเดียวกันก็ช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างเซลล์ใหม่ขึ้นมาแทนที่จึงทำให้ผิวพรรณดูอ่อนกว่าวัย </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\"><strong>2.2 ผิวนุ่มและเนียน :</strong> ตามปกติผิวหนังจะสูญเสียความชื้นเพราะถูกแดดและลม น้ำมันมะพร้าวมีคุณสมบัติเป็นสารรักษาความชุ่มชื้น (Moisturizer) จึงช่วยให้ผิวหนังนุ่มและเนียน </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #008000\"><strong>2.3 ช่วยป้องกันและรักษาฝ้า และกระ :</strong> อนุมูลอิสระเป็นตัวการอันหนึ่งของการเกิดฝ้า และกระ วิตามินอีในน้ำมันมะพร้าวจะทำหน้าที่ทำลายอนุมูลอิสระเหล่านี้ เราสามารถใช้นำมันมะพร้าวเป็นยากันแดดได้ดีอีกทั้งยังไม่เหนียวเหนอะหนะเหมือนยากันแดดบางชนิด และราคาก็ถูกกว่า </span>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>3. ผมงาม</strong><br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\">เนื่องจากน้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันพืชที่มีคุณสมบัติเป็นตัวเพิ่มความชุ่มชื้น (Moisturizer) อีกทั้งยังมีสารปฏิชีวนะ (จากโมโนลอริน) และสาร antioxidant (จากสารโทโคทรินอลในวิตามินอี) จึงมีส่วนทำให้ผมงาม จากคุณสมบัติดังต่อไปนี้ :<br />\n</span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>3.1 ช่วยปรับสภาพของผม :</strong> น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมัน hair conditioner ที่ช่วยทำให้ผมนุ่มดำเป็นเงางาม เพราะมีวิตามินอีที่ช่วยเสริมการเจริญของเส้นผม </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>3.2 ช่วยรักษาสุขภาพของหนังศีรษะ :</strong> น้ำมันมะพร้าวช่วยรักษาสุขภาพของหนังศีรษะทั้งนี้ เพราะน้ำมันมะพร้าวมีสารปฏิชีวนะที่คอยทำลายเชื้อโรค หนังศีรษะจึงไม่มีรังแค และมีวิตามินอีที่ต่อต้านอนุมูลอิสระ หนังศีรษะจึงไม่เหี่ยวย่นแต่มีสุขภาพดี </span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"></span></dd>\n<dd><span style=\"color: #0000ff\"><strong>3.3 ช่วยให้เส้นผมมีสุขภาพดี :</strong> เส้นผมประกอบด้วยส่วนนอก (culticle) ที่ทำหน้าที่ หุ้มส่วนใน (cortex) หากส่วนนอกอยู่ในสภาพดี ไม่ฉีกขาด เส้นผมก็จะปกติ มีความยืดหยุ่น (elasticity) ทนทานต่อการบิดงอและมีความเหนียว ส่วนในซึ่งประกอบด้วยโปรตีนที่เรียกว่า เคอราทิน (keratin) ที่มีประกอบด้วยเส้นเล็ก ๆ มัดรวมกัน โปรตีนของเส้นผมจะสูญเสียหรือสลายตัวไปตามอายุขัย แต่อาจเร็วขึ้นจากการไม่รักษาผมให้ดี และการทำร้ายเส้นผม เช่น จากการดัดผม การย้อมผมด้วยน้ำยาเคมี แม้กระทั่งการหวีผมที่ใช้หวีที่คม น้ำมันมะพร้าวจึงช่วยลดปริมาณการสูญเสียของเส้นผม เพราะน้ำมันมะพร้าวมีคุณสมบัติยึดเกาะ (affinity) กับโปรตีนของเส้นผมได้ดี อีกทั้งยังมีขนาดเล็กจึงแทรกซึมเข้าไปในเส้นผมได้สะดวก ในขณะที่น้ำมันทานตะวันและน้ำมันแร่ (mineral oil) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้เป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรมน้ำมันใส่ผม ไม่ได้มีส่วนช่วยแต่อย่างใด เพราะไม่สามารถซึมเข้าไปในเส้นผมได้เหมือนน้ำมะพร้าว </span>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd><span style=\"color: #800000\">จากที่ได้กล่าวมาจะเห็นได้ว่า น้ำมันมะพร้าวมีบทบาทอย่างมากต่อสุขภาพ และความงามของมนุษย์ไม่ว่าจะใช้ในการบริโภคเป็นอาหาร หรือ<strong>อาหารที่เป็นยาด้วย (nutraceutical หรือ functional food)</strong> และการใช้ภายนอกโดยการใช้ถูนวดตัว หรือชโลมผม เป็นต้น จากข้อมูลทั้งหมดหวังว่าจะจุดประกายกระตุ้นให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องหันกลับมาทบทวนข้อมูลเชิงวิชาการเพื่อทำการวิจัยและพัฒนา น้ำมันมะพร้าวซึ่งมีบทบาทสำคัญในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เนื่องจากสภาพประเทศไทยมีแหล่งมะพร้าวที่สามารถตอบสนองความต้องการของคนในประเทศและต่างประเทศได้ จึงควรช่วยกันสนับสนุน ให้น้ำมันมะพร้าวกลับมาเป็นที่นิยมใช้และพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่แพร่หลายในอนาคตต่อไป </span>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<strong>เรียบเรียงโดย<br />\nกลุ่มงานพัฒนาวิชาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร<br />\nสถาบันการแพทย์แผนไทย</strong>\n</p>\n</dd>\n<dd>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n</dd>\n<dd>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #333333\"><b><span style=\"font-size: small; color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000; background-color: #ccffcc\">สกัดน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ </span></span></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"background-color: #ccffcc\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span><span style=\"color: #333333\"></span></span></span></span></p>\n<!--pic1-mark--><!--pic1-mark--><p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #333333\"><span style=\"color: #000000; background-color: #ccffcc\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"></span><span style=\"color: #333333\"></span></p>\n<p><span style=\"color: #0099ff\"><b></b></span><span style=\"color: #333333\"><span style=\"color: #0099ff\"><b></b></span></span><span style=\"color: #333333\"><span style=\"color: #0099ff\"><b><center><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000; background-color: #ccffcc\">การสกัดน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ด้วยวิธีการหมัก</span></span></center></b></span></span></p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><br />\n<dd><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\">กระแสการดูแลรักษาสุขภาพและความงามด้วยวิธีทางธรรมชาติกำลังมาแรง ปัจจุบัน ประชาชนจำนวนไม่น้อยให้ความสนใจเกี่ยวกับการนำน้ำมันจากพืชมาใช้ดูแลร่างกาย และน้ำมันชนิดหนึ่งที่กำลังได้รับความนิยมคือ<b>น้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ </b>เพราะน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์มีคุณสมบัติในการให้ความชุ่มชื้น ช่วยชะลอความเหี่ยวย่นของผิวหนัง ดังนั้น จึงมีผู้สนใจนำน้ำมันมะพร้าวมาใช้เพื่อการนวด หรือเป็นส่วนผสมการผลิตเครื่องสำอางประเภทบำรุงผิวพรรณ </span></span></dd></p>\n<p></p></dd>\n<dd><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\">สำหรับวิธีการสกัดน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ที่น่าสนใจคือ การหมัก เพราะจากการทดสอบทางวิทยาศาสตร์พบว่า น้ำมันมะพร้าวที่สกัดด้วยวิธีหมักนี้ จะมีคุณภาพสูงมากและเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย อีกทั้งไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในด้านการผลิตมากนัก\n<p></p></span><span style=\"color: #800080\"><b><span style=\"color: #0099ff\"><u>ขั้นตอนการสกัดน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ด้วยวิธีการหมัก</u></span></b> <br />\n</span></span>\n<ul>\n <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #800080\"><b>อุปกรณ์</b> <br />\n - ภาชนะสำหรับหมัก เช่น ไห ขวดโหลแก้ว <br />\n - ผ้าขาวบาง หรือตะแกรงลวดตาถี่ <br />\n - สายยาง สำหรับดูดน้ำมันออกจากภาชนะหมัก <br />\n - กะละมัง <br />\n - เนื้อมะพร้าวสดขูด 2 กิโลกรัม <br />\n - น้ำอุ่น 2 ลิตร</span></span>\n</ul>\n<p></p>\n<ul>\n <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b>วิธีทำ</b> <br />\n 1. ขูดมะพร้าวใส่กะละมัง เสร็จแล้วเติมน้ำอุ่นลงไป <br />\n 2. คั้นน้ำกะทิในกะละมัง ใช้ผ้าขาวบางหรือตะแกรงกรองเอากากมะพร้าวออก <br />\n 3. นำน้ำกะทิที่คั้นได้ ใส่ภาชนะสำหรับหมัก ปิดฝาทิ้งไว้ 2-3 วัน ถ้าภาชนะที่ใช้เป็นโหล แก้วจะดีมาก เพราะผู้ทำสามารถมองเห็นชั้นหรือระดับของน้ำมันอย่างชัดเจน ซึ่งจะสะดวกเวลาดูดน้ำมันออกจากภาชนะ <br />\n 4. หลังจากตั้งน้ำกะทิทิ้งไว้ 2-3 วัน น้ำมันมะพร้าวจะลอยตัวอยู่ด้านบนของภาชนะ ให้ใช้สายยางดูดออกมา แล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง เสร็จแล้วจึงบรรจุขวดที่มีฝาปิด เพราะจะทำให้เก็บน้ำมันมะพร้าวได้นา</span>น</span>\n</ul>\n<p>\n<b><span style=\"color: #0099ff\"></span></b></p>\n<ul>\n <span style=\"font-size: small\">ข้อควรระวัง</span><span style=\"font-size: small\"> ในระหว่างดูดน้ำมันออกจากภาชนะหมัก ผู้ทำควรพยายามอย่าให้น้ำติดมาด้วย มิฉะนั้น อาจต้องนำไปอุ่นอีกครั้งเพื่อไล่น้ำหรือความชื้นออก วิธีการเพียงเท่านี้ก็จะได้น้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ที่มีกลิ่นหอม สีใส คุณภาพดี</span>\n</ul>\n<p><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><b><span style=\"color: #0099ff\">การสกัดน้ำมันมะพร้าว </span></b>สามารถทำได้ง่ายและใช้เงินลงทุนไม่สูง ส่วนช่องทางการจำหน่ายในขั้นต้น ผู้ทำควรนำน้ำมันมะพร้าวบรรจุขวดเพื่อจำหน่ายอย่างเดียวก่อน ถ้าสินค้าได้คุณภาพมาตรฐานตามที่กำหนด ก็สามารถทำส่งออกได้ เพราะต่างประเทศมีความต้องการน้ำมันประเภทนี้มาก</span> </span></p>\n<p><b><span style=\"color: #0099ff\">แหล่งข้อมูล</span></b> <br />\nคมสัน หุตะแพทย์. &quot;การสกัดน้ำมันมะพร้าวบริสุทธิ์ด้วยวิธีธรรมชาติ&quot;. <span style=\"color: #ff0000\"><br />\n<dd><span style=\"font-size: small\">วารสารเกษตรกรรมธรรมชาติ,</span><span style=\"font-size: small\"> (เมษายน 2545) :15-17</span></dd>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n <span style=\"color: #008000; background-color: #ffcc99\">ประโยชน์อื่นๆจากมะพร้าว</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20090312170458.jpg\" alt=\"น้ำมะพร้าว\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20090312170529.jpg\" alt=\"น้ำมะพร้าว\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20090312170602.jpg\" alt=\"น้ำมะพร้าว\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20090312171203.jpg\" alt=\"น้ำมะพร้าว\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20090312170627.jpg\" alt=\"น้ำมะพร้าว\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20090312170657.jpg\" alt=\"น้ำมะพร้าว\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20090312170805.jpg\" alt=\"น้ำมะพร้าว\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20090312171014.jpg\" alt=\"น้ำมะพร้าว \" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images2/20090312170835.jpg\" alt=\"น้ำมะพร้าว \" />\n</p>\n<p align=\"left\">\nที่มา <a href=\"http://www.bannkondee.com/index.php?mo=3&amp;art=275396\">http://www.bannkondee.com/index.php?mo=3&amp;art=275396</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000; background-color: #ffcc99\">ประโยชน์อื่นๆของมะพร้าว</span>\n</p>\n<li><span style=\"color: #808000\">ในผลมะพร้าวอ่อนจะมีน้ำอยู่ภายใน เรียกว่าน้ำมะพร้าว ใช้เป็นเครื่องดื่มเกลือแร่ได้ เนื่องจากอุดมไปด้วย<u><span style=\"color: #0000ff\">โพแทสเซียม</span></u> นอกจากนี้น้ำมะพร้าวยังมีคุณสมบัติปลอดเชื้อโรค และเป็นสารละลาย<u><span style=\"color: #0000ff\">ไอโซโทนิก</span></u> (สารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากับภายในเซลล์ ซึ่งไม่ทำให้เซลล์เสียรูปทรง) ซึ่งด้วยเหตุนี้จึงสามารถนำน้ำมะพร้าวไปใช้ฉีดเข้า<u><span style=\"color: #0000ff\">หลอดเลือดเวน</span></u> (หลอดเลือดดำ) ในผู้ป่วยที่มีอาการขาดน้ำหรือปริมาณเลือดลดผิดปกติได้ </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">น้ำมะพร้าวสามารถนำไปทำวุ้นมะพร้าวได้ โดยการเจือกรดอ่อนเล็กน้อยลงในน้ำมะพร้าว </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">เนื้อในของมะพร้าวแก่ นำไปทำกะทิได้ โดยการขูดเนื้อในเป็นเศษเล็ก ๆ แล้วบีบเอาน้ำกะทิออก </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">กากที่เหลือจากการคั้นกะทิ ยังสามารถนำไปทำเป็นอาหารสัตว์ได้ </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">ยอดอ่อนของมะพร้าว หรือเรียกอีกชื่อว่า <b>หัวใจมะพร้าว (coconut’s heart)</b> สามารถนำไปใช้ทำอาหารได้ ซึ่งยอดอ่อนมีราคาแพงมาก เพราะการเก็บยอดอ่อนทำให้ต้นมะพร้าวตาย ด้วยเหตุนี้จึงมักเรียกยำยอดอ่อนมะพร้าวว่า \'สลัดเจ้าสัว\' (millionaire\'s salad) </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">ใยมะพร้าว นำไปใช้ยัดฟูก ทำเสื่อ หรือนำไปใช้ในการเกษตร </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">น้ำมันมะพร้าว ได้จากการบีบหรือต้มกากมะพร้าวบด นำไปใช้ในการปรุงอาหารหรือนำไปทำเครื่องสำอางก็ได้ และในปัจจุบันยังมีการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันมะพร้าวอีกด้วย </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">กะลามะพร้าว นำไปใช้ทำสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ เช่น กระบวย โคมไฟ กระดุม ซออู้ ฯลฯ </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">ก้านใบ หรือทางมะพร้าว ใช้ทำไม้กวาดทางมะพร้าว </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">จั่นมะพร้าว (ช่อดอกมะพร้าว) ให้น้ำตาล </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\"><u><span style=\"color: #0000ff\">จาวมะพร้าว</span></u>ใช้นำมาเป็นอาหารได้ </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">น้ำมะพร้าวและเนื้อมะพร้าวใช้ถ่ายพยาธิได้ </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">เปลือกหุ้มรากมะพร้าวใช้รักษาโรคคอตีบได้ </span></li>\n<li><span style=\"color: #808000\">น้ำมันจากกะลามะพร้าวใช้รักษาโรคผิวหนังได้</span> </li>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><table style=\"width: 50%\" class=\"wikitable\">\n<caption>\n<p>\n <b></b>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #3366ff\"><b>สถิติการผลิตมะพร้าว  </b> </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #3366ff\"><b>สถิติการผลิตมะพร้าว 10 อันดับแรกของโลก (หน่วย:เมตริกตัน)</b> </span>\n </p>\n</caption>\n<tbody>\n<tr>\n<td><b><span style=\"color: #3366ff\">อันดับ</span></b></td>\n<td><b><span style=\"color: #3366ff\">ประเทศ</span></b></td>\n<td><b><span style=\"color: #3366ff\">ปริมาณ</span></b></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">1</span></td>\n<td><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/9f/Flag_of_Indonesia.svg/20px-Flag_of_Indonesia.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\">อินโดนีเซีย</span></td>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">16,300,000.00</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">2</span></td>\n<td><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/99/Flag_of_the_Philippines.svg/20px-Flag_of_the_Philippines.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\">ฟิลิปปินส์</span></td>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">14,796,600.00</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">3</span></td>\n<td><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/4/41/Flag_of_India.svg/20px-Flag_of_India.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\">อินเดีย</span></td>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">9,500,000.00</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">4</span></td>\n<td><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/0/05/Flag_of_Brazil.svg/20px-Flag_of_Brazil.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\">บราซิล</span></td>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">3,033,830.00</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">5</span></td>\n<td><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/1/11/Flag_of_Sri_Lanka.svg/20px-Flag_of_Sri_Lanka.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\">ศรีลังกา</span></td>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">1,950,000.00</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">6</span></td>\n<td><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/a9/Flag_of_Thailand.svg/20px-Flag_of_Thailand.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\">ไทย</span></td>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">1,500,000.00</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">7</span></td>\n<td><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/f/fc/Flag_of_Mexico.svg/20px-Flag_of_Mexico.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\">เม็กซิโก</span></td>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">950,000.00</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">8</span></td>\n<td><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/21/Flag_of_Vietnam.svg/20px-Flag_of_Vietnam.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\">เวียดนาม</span></td>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">940,000.00</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">9</span></td>\n<td><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/e/e3/Flag_of_Papua_New_Guinea.svg/20px-Flag_of_Papua_New_Guinea.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\">ปาปัวนิวกินี</span></td>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">650,000.00</span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">10</span></td>\n<td><span style=\"display: inline-block; font-size: 0px; background-image: none; vertical-align: middle; cursor: hand; border-width: 2px; border-color: #0000ff\"><span style=\"display: inline-block; filter: progid:DXImageTransform.Microsoft.AlphaImageLoader(src=\'http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/66/Flag_of_Malaysia.svg/20px-Flag_of_Malaysia.svg.png\'); width: 1px; height: 1px\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span><span style=\"color: #3366ff\">มาเลเซีย</span></td>\n<td><span style=\"color: #3366ff\">642,000.00</span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #3366ff\">ข้อมูล ณ ปี พ.ศ. 2548 </span></li>\n</ul>\n<ul>\n</ul>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><ul>\n <span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffff\">ความเชื่อที่เกี่ยวกับมะพร้าว</span>\n</ul>\n<ul>\n<p>\n          <span style=\"color: #008080\"> ตามตำราพรหมชาติฉบับหลวง ได้กำหนดให้ปลูกมะพร้าวบริเวณทิศตะวันออกของบ้านเพื่อให้เป็นสิริมงคล คนที่เกิดปีชวด ปีเถาะ ตามตำราพรหมชาติฉบับหลวง ก็จัดให้มะพร้าวเป็นมิ่งขวัญของคนที่เกิดในปีดังกล่าว นอกจากนี้ การล้างหน้าศพด้วยน้ำมะพร้าว ก็เพรามีความเชื่อว่าน้ำมะพร้าวเป็นน้ำบริสุทธิ์ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #008080\">ในพิธีกรรมทั้งทาง<u><span style=\"color: #0000ff\">พุทธศาสนา</span></u>และ<u><span style=\"color: #0000ff\">ศาสนาพราหมณ์</span></u> จะจัดให้มีมะพร้าวอ่อนเป็นเครื่องสังเวย เพราะมีความเชื่อว่ามะพร้าวเป็นตัวแทนแห่งความอุดมสมบูรณ์ และน้ำมะพร้าวเป็นน้ำที่บริสุทธิ์ เหมาะแก่การชำระล้างและการดื่มเพื่อเป็นสิริมงคล </span>\n </p>\n<div class=\"content\">\n <span style=\"color: #008080\">         เหตุที่คนไทยนิยมใช้น้ำมะพร้าวล้างหน้าศพนั้นก็สืบเนื่องมาจากความเชื่อที่ว่า น้ำมะพร้าวเป็นน้ำที่สะอาดเพราะเป็นน้ำที่อยู่ในเปลือกห่อหุ้มอันแน่นหนาหลายชั้น ประกอบไปด้วยเปลือกมะพร้าวที่ห่อหุ้มเป็นชั้นแรกและกะลาที่ป้องปกอยู่ภายในเปลือกอีกชั้นหนึ่ง นอกจากนี้ยังเชื่อว่าการที่มะพร้าว (ต้นที่นำมาล้างหน้าศพ) มีลำต้นยิ่งสูงใหญ่เท่าไหร่น้ำที่ได้มาก็จะยิ่งสะอาดขึ้นไปอีก (อาจจะเพราะขึ้นเอายากก็เป็นได้) </span></div></ul></span></p>\n<p> การนำน้ำมะพร้าวมาล้าง “หน้าศพ” หรือ “หน้าผี” นั้นเชื่อกันว่าจะทำให้ผู้ตายเกิดความผ่องใสและสงบในจิตใจ รวมทั้งยังสามารถเดินทางไปยังภพหน้าได้อย่างปกติสุข ซึ่งความเชื่อดังกล่าวล้วนเป็นความเชื่อที่มีสืบทอดมาแต่ครั้งโบราณในปัจจุบันก็ยังมีให้ได้เห็นอยู่ </p>\n<p> เรื่องความเชื่อที่ว่าน้ำมะพร้าวเป็นน้ำสะอาดอีกเรื่องหนึ่งคือ คนไทยเชื่อกันว่าน้ำมะพร้าวเป็นน้ำสะอาดที่มีสรรคุณในการล้างยาพิษชนิดต่างๆได้ ครับคนไทยในบางพื้นที่เชื่อกันว่าน้ำมะพร้าวเป็นยาล้างพิษ หรือยาถอนพิษได้ จึงมีคติถือกันว่าหากใครป่วย หรือไม่สบายพอทายยาแล้วนี่ห้ามดื่ม หรือกินน้ำมะพร้าวเข้าไปเพราะมันจะไปล้างตัวยาที่กินลงไปทำให้หายช้า\n \n<h3 class=\"reference\">ที่มา:</h3>\n<div class=\"reference\">\n <a rel=\"nofollow\" href=\"http://www.siamsouth.com/smf/index.php?topic=110.0\"><u><span style=\"color: #0000ff\">http://www.siamsouth.com/smf/index.php?topic=110.0</span></u></a>\n </div>\n<div class=\"reference\">\n </div>\n<div class=\"reference\">\n </div>\n<div class=\"reference\">\n </div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div align=\"center\" class=\"reference\">\n </div>\n<div align=\"center\" class=\"reference\">\n </div>\n<div align=\"center\" class=\"reference\">\n </div>\n<div align=\"center\" class=\"reference\">\n </div>\n<div align=\"center\" class=\"reference\">\n <span style=\"color: #333399; background-color: #ccffff\"> ข้อมูลโดยทั่วไปของมะพร้าว</span>\n </div>\n<div align=\"center\" class=\"reference\">\n </div>\n<div align=\"center\" class=\"reference\">\n<div style=\"margin: 0px; width: 239px; position: relative; border: #6fce10 2px solid; padding: 0px\">\n<div style=\"font-size: 135%; background: #6fce10; color: white; padding: 4px\">\n <b>มะพร้าว</b>\n </div>\n<div style=\"font-weight: normal; z-index: 1; right: 5px; position: absolute; top: 0px\">\n <b><span style=\"color: #fefefe\"><u>?</u></span></b>\n </div>\n</div>\n</div>\n<div align=\"center\" class=\"reference\">\n<div style=\"margin: 0px; width: 243px; border-width: 0px; padding: 0px\">\n<div style=\"background: #e0edb6; margin: 0px; width: 243px; border-width: 0px\" class=\"NavHead\">\n <i>Cocos nucifera</i> <u><span style=\"color: #0000ff\">L.</span></u>\n </div>\n</div>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"left: -2px; position: relative\" class=\"reference\">\n <u><span style=\"color: #0000ff\"><img width=\"243\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/7/7a/1859-Martinique.web.jpg/243px-1859-Martinique.web.jpg\" alt=\"ต้นมะพร้าว\" height=\"409\" /></span></u><br />\n ต้นมะพร้าว\n </div>\n<div align=\"center\" class=\"reference\">\n<div style=\"margin: 0px; width: 243px; border-width: 0px; padding: 0px\" id=\"NavFrame1\" class=\"NavFrame\">\n<div style=\"background: #e0edb6; margin: 0px; width: 243px; border-width: 0px\" class=\"NavHead\">\n <b><span style=\"color: #0000ff\"><u>การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์</u></span></b><a id=\"NavToggle1\"><span style=\"color: #0000ff\"><u>[ซ่อน]</u></span></a>\n </div>\n<div>\n<table width=\"246\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"table-layout: auto; font-size: 100%; background: none transparent scroll repeat 0% 0%; border-collapse: collapse; text-align: left; padding: 0px\">\n<tbody>\n &lt;>&lt;&gt;&lt;&gt;&lt;&gt;&lt;&gt;&lt;&gt;<span style=\"color: #0000ff\"><u></u></span> <br />\n </tbody>\n</table>\n</div>\n<div class=\"NavContent\">\n<table width=\"246\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"table-layout: auto; font-size: 100%; background: none transparent scroll repeat 0% 0%; border-collapse: collapse; text-align: left; padding: 0px\">\n<tbody>\n<tr>\n<td bgColor=\"#f3f3f4\" width=\"80\" noWrap=\"true\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 5px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><b><span style=\"color: #0000ff\"><u>อาณาจักร</u></span></b></td>\n<td bgColor=\"#f9f9f9\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 3px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><u><span style=\"color: #0000ff\">Plantae</span></u></td>\n</tr>\n<tr>\n<td bgColor=\"#f3f3f4\" width=\"80\" noWrap=\"true\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 5px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><b>ส่วน</b></td>\n<td bgColor=\"#f9f9f9\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 3px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><u><span style=\"color: #0000ff\">Magnoliophyta</span></u></td>\n</tr>\n<tr>\n<td bgColor=\"#f3f3f4\" width=\"80\" noWrap=\"true\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 5px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><b>ชั้น</b></td>\n<td bgColor=\"#f9f9f9\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 3px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><u><span style=\"color: #0000ff\">Liliopsida</span></u></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<div>\n<table width=\"246\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"table-layout: auto; font-size: 100%; background: none transparent scroll repeat 0% 0%; border-collapse: collapse; text-align: left; padding: 0px\">\n<tbody>\n<tr>\n<td bgColor=\"#f3f3f4\" width=\"80\" noWrap=\"true\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 5px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><b>อันดับ</b></td>\n<td bgColor=\"#f9f9f9\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 3px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><u><span style=\"color: #0000ff\">Arecales</span></u></td>\n</tr>\n<tr>\n<td bgColor=\"#f3f3f4\" width=\"80\" noWrap=\"true\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 5px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><b>วงศ์</b></td>\n<td bgColor=\"#f9f9f9\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 3px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><u><span style=\"color: #0000ff\">Arecaceae</span></u></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<div class=\"NavContent\">\n<table width=\"246\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"table-layout: auto; font-size: 100%; background: none transparent scroll repeat 0% 0%; border-collapse: collapse; text-align: left; padding: 0px\">\n<tbody>\n<tr>\n<td bgColor=\"#f3f3f4\" width=\"80\" noWrap=\"true\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 5px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><b>สกุล</b></td>\n<td bgColor=\"#f9f9f9\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 3px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><i>Cocos</i></td>\n</tr>\n<tr>\n<td bgColor=\"#f3f3f4\" width=\"80\" noWrap=\"true\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 5px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><b>สปีชีส์</b></td>\n<td bgColor=\"#f9f9f9\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 3px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><i><b>C. nucifera</b></i></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n</div>\n</div>\n<div align=\"center\" class=\"reference\">\n<div style=\"margin: 0px; width: 243px; border-width: 0px; padding: 0px\" id=\"NavFrame2\" class=\"NavFrame\">\n<div style=\"background: #e0edb6; margin: 0px; width: 243px; border-width: 0px\" class=\"NavHead\">\n <b>ข้อมูลทั่วไป</b><a id=\"NavToggle2\"><u><span style=\"color: #0000ff\">[ซ่อน]</span></u></a>\n </div>\n<div class=\"NavContent\">\n<table width=\"246\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"table-layout: auto; font-size: 100%; background: none transparent scroll repeat 0% 0%; border-collapse: collapse; text-align: left; padding: 0px\">\n<tbody>\n<tr>\n<td bgColor=\"#f3f3f4\" width=\"80\" noWrap=\"true\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 5px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><b>ชื่อวิทยาศาสตร์</b></td>\n<td bgColor=\"#f9f9f9\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 0px; padding-left: 3px; padding-bottom: 0.4em; vertical-align: top; padding-top: 0.4em; text-align: left\"><i>Cocos nucifera</i> <u><span style=\"color: #0000ff\">L.</span></u></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n</div>\n</div>\n<div class=\"reference\">\n </div>\n<div align=\"left\" class=\"reference\">\n <span style=\"color: #008080\"><strong>มะพร้าว</strong> เป็น<u><span style=\"color: #0000ff\">พืชยืนต้น</span></u>ชนิดหนึ่งที่เรารู้จักกันดี อยู่ในตระกูลปาล์ม เราใช้ประโยชน์จากมะพร้าวได้หลายทาง เช่น น้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อนใช้รับประทาน เนื้อในผลแก่นำไปขูดและคั้นทำ<u><span style=\"color: #0000ff\">กะทิ</span></u> กะลานำไปประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ เช่น กระบวย โคมไฟ ฯลฯ นอกจากนี้มะพร้าวจัดเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง ตามตำราพรหมชาติฉบับหลวง ได้กำหนดให้ปลูกมะพร้าวไว้ทางทิศตะวันออกของบ้าน เพื่อความเป็นสิริมงคล </span>\n </div>\n<div align=\"left\" class=\"reference\">\n <span style=\"color: #008080\"></span>\n </div>\n<div align=\"left\" class=\"reference\">\n <span style=\"color: #008080\"></span>\n </div>\n<div align=\"left\" class=\"reference\">\n <span style=\"color: #008080\"></span>\n </div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div align=\"left\" class=\"reference\">\n <span style=\"color: #008080\"> ลักษณะทั่วไปของต้นมะพร้าว </span>\n </div>\n<div align=\"left\" class=\"reference\">\n <span style=\"color: #008080\">มะพร้าว เป็นพืชยืนต้น ใบมีลักษณะเป็นใบประกอบแบบขนนก ผลประกอบด้วย<u><span style=\"color: #0000ff\">เอพิคาร์ป</span></u> (epicarp) คือเปลือกนอก ถัดไปข้างในจะเป็น<u><span style=\"color: #0000ff\">มีโซคาร์ป</span></u> (mesocarp) หรือใยมะพร้าว ถัดไปข้างในเป็นส่วน<u><span style=\"color: #0000ff\">เอนโดคาร์ป</span></u> (endocarp) หรือกะลามะพร้าว ซึ่งจะมีรูสีคล้ำอยู่ 3 รู สำหรับงอก ถัดจากส่วนเอนโดคาร์ปเข้าไปจะเป็นส่วน<u><span style=\"color: #0000ff\">เอนโดสเปิร์ม</span></u> หรือที่เราเรียกว่าเนื้อมะพร้าว ภายในมะพร้าวจะมีน้ำมะพร้าว ซึ่งเมื่อมะพร้าวแก่ เอนโดสเปิร์มก็จะดูดเอาน้ำมะพร้าวไปหมด<br />\n ขณะที่มะพร้าวยังอ่อน ชั้นเอนโดสเปิร์ม (เนื้อมะพร้าว) ภายในผลมีลักษณะบางและอ่อนนุ่ม ภายในมีน้ำมะพร้าว ซึ่งในระยะนี้เรามักสอยเอามะพร้าวลงมารับประทานน้ำและเนื้อ เมื่อมะพร้าวแก่ ซึ่งสังเกตได้จากการที่เปลือกนอกเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ชั้นเอนโดสเปิร์มก็จะหนาและแข็งขึ้น จนในที่สุดมะพร้าวก็หล่นลงจากต้น </span>\n </div>\n<div class=\"reference\">\n ที่มา : <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/มะพร้าว\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7</a>\n </div>\n<div class=\"reference\">\n </div>\n<div class=\"reference\">\n </div>\n<div class=\"reference\">\n <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/มะพร้าว\"></a>\n </div>\n\n</p><p></p></dd>\n<p>\n</p>', created = 1714227964, expire = 1714314364, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0823b03bca693659be929b87d801abb2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

น้ำมันมะพร้าว มหัศจรรย์ จริงหรือ ????

 

มหัศจรรย์น้ำมันมะพร้าว

 

          

คุณสมบัติน้ำมันมะพร้าว

          น้ำมันมะพร้าวเป็นน้ำมันที่ได้จากธรรมชาติ ปราศจากสารเคมีสังเคราะห์ใดๆเจือปน โดยเฉพาะสารกำจัดศัตรูพืช ซึ่งมักจะมีเจือปนอยู่ในน้ำมันพืชชนิดอื่นๆ เราสามารถใช้น้ำมันมะพร้าวในสภาพที่สกัดได้ตามธรรมชาติทันที โดยไม่ต้องทำให้บริสุทธิ์ ฟอกสี และกำจัดกลิ่น ดังเช่นน้ำมันพืชอื่นๆ จึงปลอดภัยจากอันตรายของสารเคมี น้ำมันมะพร้าวมีคุณสมบัติที่ดีเด่นที่ไม่มีในน้ำมันพืชอื่นใดในโลก ดังต่อไปนี้

เป็นกรดไขมันอิ่มตัว

        น้ำมันมะพร้าว ประกอบด้วยกรดไขมันอิ่มตัว ประมาณ 92% ธาตุคาร์บอน (C) จับกันด้วยพันธะ (bond) เดี่ยว ไม่เปิดโอกาสให้ไฮโดรเจน (H2) และออกซิเจน (O2) แทรก ดังนั้น น้ำมันมะพร้าว “อิ่มตัว” ส่วนที่เหลือ (8%) เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่ที่ C บางตัว จับกันด้วยพันธะคู่ เปิดโอกาสให้ H2 และ O2 แทรกจึง “ไม่อิ่มตัว” ดูสูตรโครงสร้างของน้ำมัน ได้ดังภาพ

โครงสร้างน้ำมันมะพร้าว

สูตรโครงสร้างของน้ำมันอิ่มตัว (บน) เปรียบเทียบกับน้ำมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว (กลาง) และน้ำมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน (ล่าง)

        การเติมออกซิเจน (Oxidation) เป็นการะบวนการที่เกิดขึ้นตลอกเวลา ก่อให้เกิดความเสื่อมของโมเลกุล กล่าวคือ เกอดอนุมูลอิสระขึ้นมาจากผลของการเติมออกซิเจน ซึ่งเป็นที่รู้กันดีอยู่แล้วว่า “อนุมูลอิสระ” เป็นตัวการของการเกิดโรคแห่งความเสื่อมมากมาย

        การเติมไฮโดรเจน (Hydrogenation) เกิดจากการนำน้ำมันไม่อิ่มตัวไปถูกกับอุณหภูมิสูง เช่น ในการทอดอาหารในน้ำมันท่วม จึงเกิดเป็นสารตัวใหม่ชื่อว่า “ไขมันทรานส์ (Trans fats)” ซึ่งเป็นโมเลกุลที่เปลี่ยนรูปร่างไป และเกิดผลเสียต่อเซลล์ เช่น ทำให้เยื่อบุเซลล์บุบสลาย ทำให้เชื้อโรคหรือสารพิษเข้าไปในเซลล์ได้ หรือเกิดการเปลี่ยนแปลง DNA ของเซลล์ นอกจากนั้น ยังเกิดจากการนำน้ำมันไม่อิ่มตัวไปเติมไฮโดรเจนเพียงบางส่วนในทางอุตสาหกรรม โดยต้องใช้ความดันและสารแคตาลิสต์เข้าช่วย เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นน้ำมันไม่อิ่มตัวเปลี่ยนเป็นน้ำมันอิ่มตัว เพื่อจะได้ไม่เกิดการหืน (เพราะถูกเติมออกซิเจน) และทำให้น้ำมันอยู่ในรูปที่แข็งตัว ทำให้จับต้องผลิตภัณฑ์อาหารได้สะดวกไม่เหนียวเหนอะหนะ

เป็นกรดไขมันขนาดกลาง

        น้ำมันมะพร้าวมีองค์ประกอบส่วยใหญ่ (62.5%) เป็นกรดไขมันขนาดกลาง (Medium-Chain Fatty Acids – MCFAs) ร่างกายตอบสนองไขมันขนาดต่างๆแตกต่างกัน ทำให้น้ำมันมะพร้าวมีคุณสมบัติพิเศษในด้านการแพทย์และโชนาการ การเป็นกรดไขมันขนาดกลางมีข้อได้เปรียบ คือ

       เปลี่ยนเป็นพลังงานได้อย่างรวดเร็วน้ำมันมะพร้าวถูกดูดซึมและเคลื่อนย้ายอย่างรวดเร็วเมื่อบริโภคเข้าไป จะผ่านกระเพาะไปยังลำไส้ เข้าไปในกระแสเลือด แล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานที่ตับอย่างรวดเร็ว (ภายในหนึ่งชั่วโมง) ทำให้ไม่เกอดเป็นไขมันสะสมในร่างกาย

       เพิ่มอัตราเมตาบอลิสซึม น้ำมันมะพร้าวช่วยเร่งอัตราเมตาบอลิสซึม (Metabolism) จากการเพิ่มประสิทธิภาพของต่อมธัยรอยด์ ผลของความร้อนที่เกิดขึ้น (Thermogenic Effect) เกิดขึ้นเป็นเวลานาน (กว่า 24 ชม.) จึงได้พลังงานมากขึ้นและมีอัตราเผาผลาญที่เร็วขึ้น นอกจากตัวมันเองจะถูกเผาผลาญในอัตราที่เร็วแล้ว ยังช่วยเผาผลาญอาหารที่รับประทานเข้าไปพร้อมกัน ทำให้ไม่ไปสะสมเป็นไขมัน อีกทั้งยังไปเผาผลาญไขมันที่สะสมไว้แต่เดิม ทำให้ร่างกายผอมลง

มีสารฆ่าเชื้อโรค

       น้ำมันมะพร้าวมีกรดลอริก (Lauric Acid; C=12) อยู่สูง (48-53%) เมื่อบริโภคเข้าไปในร่างกาย จะเปลี่ยนเป็นโมโนกลีเซอไรด์ ชื่อโมโนลอรินที่ช่วยสร้างภูมิคุ้มกัน และยังมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรค Enig (1999) ได้รายงานว่าน้ำมันมะพร้าวสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย รา ยีสต์ โปรโตซัว และแม้กระทั่งเชื้อไวรัส ผลงานวิจัยของ Dayrit (2000) พบว่า กรดลอริกและโมโนลอรินสามารถช่วยลดปริมาณของเชื้อไวรัส (HIV) ในคนไข้โรคเอดส์ได้ อย่างไรก็ตาม โมโนลอรินก็ไม่สามารถฆ่าจุลินทรีย์ได้ทุกชนิด จะฆ่าได้ก็เฉพาะเชื้อโรคที่มีเยื่อหุ้มเซลล์ที่เป็นไขมัน เช่น เชื้อไข้หวัดใหญ่ โรคเริม คางทูม โรคซาร์ และโรคเอดส์ การที่โมโนลอรินไม่ฆ่าจุลินทรีย์ทุกชนิดก็เป็นข้อดี เพราะแบคทีเรียที่เป็นประโยชน์ในกระเพาะจะไม่ถูกทำลาย

       นอกจากกรดลอริกแล้ว น้ำมันมะพร้าวยังมีกรดไขมันขนาดกลางอีก 2 ตัว คือ กรดคาปริก (Capric Acid; C-10, 7%) และกรดคาปริลลิก (Capryllic Acid; C-8, 8%) ที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อโรคได้เช่นกัน และต่างก็ช่วยเสริมกรดลอริกในการเพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย เพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเหล่านี้ก่อให้เกิดโรคแก่ร่างกาย หรือฆ่าเชื้อโรคเหล่านี้เมื่อปรากฏตัวขึ้น

มีสารแอนตีออกซิแดนต์

       น้ำมันมะพร้าวมีสารแอนตีออกซิแดนต์ (Antioxidant) หลายประเภททีมีประสิทธิภาพสูงและในปริมาณมาก สารเหล่านี้ทำหน้าที่ต่อต้านการเติมออกซิเจน (Oxidation) ที่เป็นกระบวนการที่ทำให้เกิดอนุมูลอิสระ (Free Radicals) ซึ่งเป็นโมเลกุลที่เปลี่ยนสภาพ เพราะสูญเสียอิเล็คตรอนในวงแหวนรอบนอก กลายเป็น “โมเลกุลเกเร” เที่ยวไปโจมตีโมเลกุลอื่นๆ โดยไปดึงอีเล็คตรอนจากโมเลกุลที่อยู่ใกล้เคียงตัวหนึ่ง และโมเลกุลนี้ก็ไปดึงอิเล็คตรอนจากโมเลกุลข้างเคียงอื่นๆต่อไป เกิดเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ ทำให้เซลล์ผิดปกติ เช่น เยื่อบุเซลล์ฉีกขาด ผิวหนังเหี่ยวย่น เปลี่ยนสารพันธุกรรมในนิวเคลียส ทำให้เกิดการกลายพันธุ์อันเป็นสาเหตุของการเกิดโรคที่เกี่ยวกับความเสื่อมของร่างกายไม่ต่ำกว่า 60 โรค โดยเฉพาะโรคหัวใจ มะเร็ง ไขข้ออักเสบ เบาหวาน ภูมิแพ้ และชราภาพ

       อนุมูลอิสระเกิดจากมลพิษในสิ่งแวดล้อม และในอาหาร เครื่องดื่ม การสูบบุหรี่ ความเครียด ฯลฯ และโดยเฉพาะในน้ำมันไม่อิ่มตัว ซึ่งจะถูกเติมออกซิเจน (Oxidized) ได้โดยง่ายเพราะมีพันธะคู่ (Double Bond) ในโมเลกุลตั้งแต่เริ่มสกัด ตลอดจนระหว่างทางก่อนถูกนำไปบริโภค จึงเกิดเป็นอนุมูลอิสระได้ง่าย อนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นนี้ไปลดสารแอนตีออกซิแดนต์ที่มีอยู่ในร่างกาย ทำให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีทีทำให้เกิดผลเสียแก่เซลล์และเนื้อเยื่อ

 

ดเด่

 

ที่มา: หนังสือ "มหัศจรรย์น้ำมันมะพร้าว" โดย ดร. ณรงค์ โฉมเฉลา หน้า 6 - 10

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 431 คน กำลังออนไลน์