• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d96de27193faffff7a7daef0aec33ee4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"><img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u19125/pc.gif\" height=\"100\" /> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"></span>\n</p>\n<p>\n<strong><u><span style=\"color: #800000\">สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในกลุ่ม Prokaryotic Cell</span></u></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">     </span><span style=\"color: #ff0000\">→  Eubacteria</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"188\" src=\"/files/u19125/Eub_0.jpg\" height=\"218\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.bio.miami.edu/~cmallery/255/255hist/mcb1.1a.jpg\"><span style=\"color: #800080\">http://www.bio.miami.edu/~cmallery/255/255hist/mcb1.1a.jpg</span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.bio.miami.edu/~cmallery/255/255hist/mcb1.1a.jpg\"></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">          </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">          </span><span style=\"color: #3366ff\">•  แบคทีเรียแกรมบวก  (gram positive eubacteria)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">          •  แบคทีเรียแกรมลบ    (gram negative eubacteria)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #3366ff\">          •  แบคทีเรียที่ไม่มีผนังเซลล์  (eubacteria lacking cell wall)</span>  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">               สำหรับแบคทีเรียในกลุ่มนี้ ได้แก่  พวก Mycoplasmas  สิ่งมีชีวิตนี้ไม่มีผนังเซลล์ เพราะฉะนั้นเซลล์จะแตกง่ายเมื่อความเข้ม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ข้นของสารอาหารลดลง  สำหรับการเจริญมีทั้งกลุ่มที่เจริญได้ทั้งในสภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน แต่บางกลุ่มจะเจริญได้ใน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">เฉพาะในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนเท่านั้น นอกจากนี้อาหารที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงจะค่อนข้างซับซ้อนด้วย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p>\n     <span style=\"color: #ff0000\">→  Archaebacteria</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"339\" src=\"/files/u19125/ArB.jpg\" height=\"350\" style=\"width: 193px; height: 205px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.buzzle.com/img/articleImages/20712-47.jpg\"><span style=\"color: #800080\">http://www.buzzle.com/img/articleImages/20712-47.jpg</span></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">               การดำรงชีวิตเป็นการปรับตัวของพวก prokaryotes ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">(extreme environment) เช่น มีความเป็นกรดสูง อุณหภูมิสูงมาก หรือมีความ   เข้มข้นของเกลือสูง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">          <span style=\"color: #3366ff\">•  extreme halophiles</span>  ได้แก่  พวกที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้มข้นของเกลือสูงกว่าปกติ (ต้องการเกลืออย่างน้อย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">1.5 M NaCl) จัดเป็นพวก chemoorganotrophic ย้อมติดสีแกรมลบ รูปร่างเป็นท่อน หรือกลม โคโลนีมีสีแดงหรือส้ม เพราะมี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">carotenoid ซึ่งทำหน้าที่ป้องกันเซลล์จากการทำลายโดยแสงอาทิตย์ พบเฉพาะในทะเลสาบน้ำเค็ม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">          <span style=\"color: #3366ff\">•  thermoacidophiles</span>  ได้แก่  พวกที่อาศัยอยู่ในที่ร้อน และมีความเป็นกรดสูง  เช่น  ปล่องภูเขาไฟ (อุณหภูมิสูงกว่า 70 </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">องศาเซลเซียส) หรือน้ำพุที่มีความเป็นกรดสูง เป็นกลุ่มของ aerobes  จีนัส   ที่สำคัญ  ได้แก่  Thermoplasma และ Sulfolobus</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">          <span style=\"color: #3366ff\">•  methanogens</span>  ได้แก่  พวกที่สามารถ reduce สารประกอบคาร์บอนให้เปลี่ยนเป็น methane ได้ (obligate anaerobes)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"> โดยได้พลังงานจากการ oxidize สารประกอบเช่น H2 หรือ formate เจริญได้ทั้งในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน จึงมักพบในโคลนใต้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ทะเลสาบ ตะกอนในทะเล ลำไส้ของคนและสัตว์ รวมทั้ง anaerobe sludge digesters ในระบบบำบัดน้ำเสีย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p>\n     <span style=\"color: #ff0000\">→  Cyanobacteria</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u19125/CyB.jpg\" height=\"189\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://user.uni-frankfurt.de/~schauder/cyanos/image9.jpg\"><span style=\"color: #800080\">http://user.uni-frankfurt.de/~schauder/cyanos/image9.jpg</span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n               <span style=\"color: #ff00ff\">สำหรับสิ่งมีชีวิตในกลุ่มนี้ต่างจากแบคทีเรียอื่น เนื่องจากสามารถสังเคราะห์แสงได้    โดยมี chlorophyll a ซึ่งไม่ใช่</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">bacteriochlorophyll เหมือนใน photosynthetic bacteria อื่น ส่วน photosynthetic pigment ที่พบใน cyanobacteria ได้แก่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">chlorophyll a carotenoid และ phycobiliprotein  ซึ่งรงควัตถุนี้ไม่ได้อยู่ใน plastid แต่กระจายทั่วไปอยู่ในไซโตพลาสซึม โครงสร้าง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ของผนังเซลล์ของ cyanobacteria จะคล้ายกับของแบคทีเรียแกรมลบ แต่จะมีชั้นของ peptidoglycan ที่หนากว่า นอกจากนี้   </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ยังประกอบด้วยเซลลูโลส และสามารถขับสารเมือกออกมาหุ้มภายนอกเรียกว่า  sheath  ที่มีความหนาต่างๆ กัน อาจมีสีหรือไม่ก็ได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">หรืออาจเป็นชั้นๆ  บางชนิดสามารถสร้าง heterocyst ได้ สำหรับ heterocyst เป็นเซลล์ที่มีผนังหนา มีตำแหน่งที่จำเพาะภายในสาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">และภายในใส มีเอนไซม์ nitrogenase ซึ่งเกี่ยวข้องกับการตรึงก๊าซไนโตรเจนจากอากาศ เปลี่ยนให้เป็นสารประกอบไนโตรเจนที่เซลล์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">นำไปใช้ได้ สำหรับการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตนี้ จะไม่มี flagella แต่อาจเคลื่อนที่โดยใช้ gliding</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43861\"><img border=\"0\" width=\"575\" src=\"/files/u19125/back-icon.gif\" height=\"431\" style=\"width: 63px; height: 48px\" /></a>  <a href=\"/node/42765\"><img border=\"0\" width=\"568\" src=\"/files/u19125/HomeBBB.gif\" height=\"254\" style=\"width: 112px; height: 42px\" /></a>  <a href=\"/node/43979\"><img border=\"0\" width=\"160\" src=\"/files/u19125/MM.gif\" height=\"50\" style=\"width: 152px; height: 42px\" /></a> <img border=\"0\" width=\"575\" src=\"/files/u19125/back-icon23.jpg\" height=\"431\" style=\"width: 65px; height: 48px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><br />\n </span>\n</p>\n', created = 1729635993, expire = 1729722393, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d96de27193faffff7a7daef0aec33ee4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Prokaryotic Cell II

 

สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในกลุ่ม Prokaryotic Cell

     →  Eubacteria

 

http://www.bio.miami.edu/~cmallery/255/255hist/mcb1.1a.jpg

         

          •  แบคทีเรียแกรมบวก  (gram positive eubacteria)

          •  แบคทีเรียแกรมลบ    (gram negative eubacteria)

          •  แบคทีเรียที่ไม่มีผนังเซลล์  (eubacteria lacking cell wall) 

               สำหรับแบคทีเรียในกลุ่มนี้ ได้แก่  พวก Mycoplasmas  สิ่งมีชีวิตนี้ไม่มีผนังเซลล์ เพราะฉะนั้นเซลล์จะแตกง่ายเมื่อความเข้ม

ข้นของสารอาหารลดลง  สำหรับการเจริญมีทั้งกลุ่มที่เจริญได้ทั้งในสภาวะที่มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน แต่บางกลุ่มจะเจริญได้ใน

เฉพาะในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนเท่านั้น นอกจากนี้อาหารที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงจะค่อนข้างซับซ้อนด้วย

     →  Archaebacteria

http://www.buzzle.com/img/articleImages/20712-47.jpg 

 

               การดำรงชีวิตเป็นการปรับตัวของพวก prokaryotes ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม

(extreme environment) เช่น มีความเป็นกรดสูง อุณหภูมิสูงมาก หรือมีความ   เข้มข้นของเกลือสูง แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ

          •  extreme halophiles  ได้แก่  พวกที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีความเข้มข้นของเกลือสูงกว่าปกติ (ต้องการเกลืออย่างน้อย

1.5 M NaCl) จัดเป็นพวก chemoorganotrophic ย้อมติดสีแกรมลบ รูปร่างเป็นท่อน หรือกลม โคโลนีมีสีแดงหรือส้ม เพราะมี

carotenoid ซึ่งทำหน้าที่ป้องกันเซลล์จากการทำลายโดยแสงอาทิตย์ พบเฉพาะในทะเลสาบน้ำเค็ม

          •  thermoacidophiles  ได้แก่  พวกที่อาศัยอยู่ในที่ร้อน และมีความเป็นกรดสูง  เช่น  ปล่องภูเขาไฟ (อุณหภูมิสูงกว่า 70

องศาเซลเซียส) หรือน้ำพุที่มีความเป็นกรดสูง เป็นกลุ่มของ aerobes  จีนัส   ที่สำคัญ  ได้แก่  Thermoplasma และ Sulfolobus

          •  methanogens  ได้แก่  พวกที่สามารถ reduce สารประกอบคาร์บอนให้เปลี่ยนเป็น methane ได้ (obligate anaerobes)

 โดยได้พลังงานจากการ oxidize สารประกอบเช่น H2 หรือ formate เจริญได้ทั้งในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจน จึงมักพบในโคลนใต้

ทะเลสาบ ตะกอนในทะเล ลำไส้ของคนและสัตว์ รวมทั้ง anaerobe sludge digesters ในระบบบำบัดน้ำเสีย

     →  Cyanobacteria

 

http://user.uni-frankfurt.de/~schauder/cyanos/image9.jpg

 

               สำหรับสิ่งมีชีวิตในกลุ่มนี้ต่างจากแบคทีเรียอื่น เนื่องจากสามารถสังเคราะห์แสงได้    โดยมี chlorophyll a ซึ่งไม่ใช่

bacteriochlorophyll เหมือนใน photosynthetic bacteria อื่น ส่วน photosynthetic pigment ที่พบใน cyanobacteria ได้แก่

chlorophyll a carotenoid และ phycobiliprotein  ซึ่งรงควัตถุนี้ไม่ได้อยู่ใน plastid แต่กระจายทั่วไปอยู่ในไซโตพลาสซึม โครงสร้าง

ของผนังเซลล์ของ cyanobacteria จะคล้ายกับของแบคทีเรียแกรมลบ แต่จะมีชั้นของ peptidoglycan ที่หนากว่า นอกจากนี้  

ยังประกอบด้วยเซลลูโลส และสามารถขับสารเมือกออกมาหุ้มภายนอกเรียกว่า  sheath  ที่มีความหนาต่างๆ กัน อาจมีสีหรือไม่ก็ได้

หรืออาจเป็นชั้นๆ  บางชนิดสามารถสร้าง heterocyst ได้ สำหรับ heterocyst เป็นเซลล์ที่มีผนังหนา มีตำแหน่งที่จำเพาะภายในสาย

และภายในใส มีเอนไซม์ nitrogenase ซึ่งเกี่ยวข้องกับการตรึงก๊าซไนโตรเจนจากอากาศ เปลี่ยนให้เป็นสารประกอบไนโตรเจนที่เซลล์

นำไปใช้ได้ สำหรับการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตนี้ จะไม่มี flagella แต่อาจเคลื่อนที่โดยใช้ gliding

 

     

 


 

สร้างโดย: 
อาจารย์กวิสรา ชาลาภคำ และ นางสาวกมลวรรณ ไชยศรีษะ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 381 คน กำลังออนไลน์