• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:52f1db48279d66a9b7e0b88d8b5cef3d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43837\" title=\"Backward : กรด-เบสในชีวิตประจำวัน\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/back.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/44546\" title=\"Mainpage : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรด-เบส\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"425\" src=\"/files/u18699/19_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">ปฏิกิริยาระหว่างกรด – เบส แบ่งออกตามชนิดของปฏิกิริยาได้ ดังนี้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">1. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่ – เบสแก่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\"></span><strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"431\" src=\"/files/u18699/19_1.gif\" height=\"125\" /> \n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">2. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่ – เบสอ่อน</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"486\" src=\"/files/u18699/19_2.gif\" height=\"149\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">3. ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อน - เบสแก่</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"555\" src=\"/files/u18699/19_3.gif\" height=\"142\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">4. ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อน - เบสอ่อน</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"498\" src=\"/files/u18699/19_4.gif\" height=\"133\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">ปฏิกิริยาระหว่างกรด – เบสในน้ำ จะทำให้สารละลายที่ได้แสดงสมบัติเป็นกรด เบส หรือกลางได้ ซึ่งแบ่งเป็น 2 กรณี คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          1. กรด - เบสทำปฏิกิริยากันแล้ว มีกรดหรือเบสเหลืออยู่ ซึ่งถ้ามีกรดเหลือสารละลายจะแสดงสมบัติเป็นกรด แต่ถ้ามีเบสเหลือสารละลายก็จะแสดงสมบัติเป็นเบส </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          2. กรด - เบสทำปฏิกิริยากันหมดพอดี ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือกับน้ำ สารละลายของเกลือจะแสดงสมบัติเป็นกรด เบส หรือกลางนั้น ขึ้นอยู่กับชนิดของเกลือว่ามาจากกรด - เบสประเภทใด เพราะเกลือจะเกิดการแตกตัวและทำปฏิกิริยากับน้ำ เรียกว่า ไฮโดรไลซีส (Hydrolysis) ซึ่งทำให้สารละลายที่ได้แสดงสมบัติกรด - เบสต่างกัน</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">ปฏิกิริยาของกรด – เบสกับสารบางชนิด</span></strong>\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #987017\">กรดนอกจากจะทำปฏิกิริยาสะเทินกับเบสได้เกลือกับน้ำแล้ว ยังสามารถทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด เช่น Zn, Fe, ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส H<sub>2</sub> และเกลือของโลหะ หรือจะทำปฏิกิริยากับเกลือคาร์บอนเนต เช่น CaCO<sub>3</sub>, Na<sub>2</sub>CO<sub>3</sub>, NaHCO<sub>3</sub> ได้แก๊ส CO<sub>2</sub> </span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"531\" src=\"/files/u18699/19_5.gif\" height=\"118\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong>         <span style=\"color: #987017\"> </span></strong><span style=\"color: #987017\">เบสก็เช่นเดียวกัน คือ จะทำปฏิกิริยาสะเทินกับกรดได้เกลือกับน้ำ และทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนียม เช่น NH<sub>4</sub>Cl, (NH<sub>4</sub>)<sub>2</sub>SO<sub>4</sub> ได้เป็นแก๊ส NH<sub>3</sub> หรือทำปฏิกิริยากับเกลือ ดังสมการต่อไปนี้</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u18699/19_6.gif\" height=\"119\" /> \n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1719993548, expire = 1720079948, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:52f1db48279d66a9b7e0b88d8b5cef3d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ปฏิกิริยาระหว่างกรด-เบส

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 ปฏิกิริยาระหว่างกรด – เบส แบ่งออกตามชนิดของปฏิกิริยาได้ ดังนี้

1. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่ – เบสแก่

 

2. ปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่ – เบสอ่อน

 

3. ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อน - เบสแก่

 

4. ปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อน - เบสอ่อน

 

          ปฏิกิริยาระหว่างกรด – เบสในน้ำ จะทำให้สารละลายที่ได้แสดงสมบัติเป็นกรด เบส หรือกลางได้ ซึ่งแบ่งเป็น 2 กรณี คือ

          1. กรด - เบสทำปฏิกิริยากันแล้ว มีกรดหรือเบสเหลืออยู่ ซึ่งถ้ามีกรดเหลือสารละลายจะแสดงสมบัติเป็นกรด แต่ถ้ามีเบสเหลือสารละลายก็จะแสดงสมบัติเป็นเบส

          2. กรด - เบสทำปฏิกิริยากันหมดพอดี ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือกับน้ำ สารละลายของเกลือจะแสดงสมบัติเป็นกรด เบส หรือกลางนั้น ขึ้นอยู่กับชนิดของเกลือว่ามาจากกรด - เบสประเภทใด เพราะเกลือจะเกิดการแตกตัวและทำปฏิกิริยากับน้ำ เรียกว่า ไฮโดรไลซีส (Hydrolysis) ซึ่งทำให้สารละลายที่ได้แสดงสมบัติกรด - เบสต่างกัน

 

 ปฏิกิริยาของกรด – เบสกับสารบางชนิด

          กรดนอกจากจะทำปฏิกิริยาสะเทินกับเบสได้เกลือกับน้ำแล้ว ยังสามารถทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด เช่น Zn, Fe, ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส H2 และเกลือของโลหะ หรือจะทำปฏิกิริยากับเกลือคาร์บอนเนต เช่น CaCO3, Na2CO3, NaHCO3 ได้แก๊ส CO2

 

          เบสก็เช่นเดียวกัน คือ จะทำปฏิกิริยาสะเทินกับกรดได้เกลือกับน้ำ และทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนียม เช่น NH4Cl, (NH4)2SO4 ได้เป็นแก๊ส NH3 หรือทำปฏิกิริยากับเกลือ ดังสมการต่อไปนี้

 

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 448 คน กำลังออนไลน์