• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('วิทยาศาสตร์, ช่วงชั้น 3 (ม.1-3)', 'taxonomy/term/2,13', '', '18.221.156.176', 0, '2c9f17a31ea2c752099049377ccef420', 185, 1716888797) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:00dde205bb3367f81bbb4dd2a1cd3d27' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<div align=\"center\">\n<span style=\"font-size: large; color: #006600; font-family: JS Toomtamas\"><b>การผสมเทียม</b></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span>\n</div>\n<table border=\"0\" align=\"center\" width=\"95%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"265\">\n<table border=\"0\" width=\"100%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<p>\n <span style=\"font-family: ms sans serif\"><span style=\"font-size: x-small; color: #990099\"><b>การผสมเทียม </b></span><b><span style=\"font-size: x-small\"> </span></b> <span style=\"font-size: x-small\">หมายถึง   การรีดน้ำเชื้อจากสัตว์พ่อพันธุ์แล้วนำไปฉีดเข้าในอวัยวะของสัตว์ตัวเมีย   เมื่อสัตว์ตัวเมียนั้นแสดงอาการของการเป็นสัดแล้วทำให้เกิดการตั้งท้องแล้วคลอดออกมาตามปกติ </span><br />\n <span style=\"font-size: x-small; color: #006600\"><b><br />\n ประโยชน์ของการผสมเทียม</b></span><br />\n <span style=\"font-size: x-small\">          1.  ทำให้ประหยัดพ่อพันธุ์เมื่อรีดเก็บน้ำเชื้อจากสัตว์พ่อพันธุ์ได้แต่ละครั้งสามารถนำมาละลายน้ำเชื้อแล้วแบ่งใช้ผสมกับสัตว์ตัวเมียได้จำ นวนมาก <br />\n           2.  สามารถผสมพันธุ์สัตว์ที่มีขนาดใหญ่หรือเล็กต่างกันได้   โดยไม่มีอันตรายจากการขึ้นทับของพ่อพันธุ์<br />\n           3.  ไม่ทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงพ่อพันธุ์<br />\n           4.  ตัดปัญหาในเรื่องขนส่งโคไปผสมเพราะสามารถนำน้ำเชื้อไปผสมได้ไกล ๆ</span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"font-family: ms sans serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><strong><span style=\"color: #006600\"> ระยะเวลาที่เหมาะสมในการผสมเทียม</span></strong><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><br />\n       <span style=\"font-size: large; color: #990099\"> <span style=\"font-size: x-small\"><b>โคตัวเมีย </b></span></span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ที่แสดงอาการเป็นสัดดังกล่าว   ควรจะได้รับการผสมเทียมในระยะเวลาช่วงกลางของการเป็นสัด   หรือใกล้ระยะที่จะหมดการเป็นสัด (อาจจะหมดการเป็นสัดไปแล้วประมาณ  6  ชั่วโมงก็ได้   หรือเมื่อโคเพศเมียตัวนั้นยืนนิ่งให้ตัวอื่นขึ้นขี่   ซึ่งใช้เป็นหลักในการผสมพันธุ์)  โดยทั่ว ๆ ไปโคเพศเมียจะมีระยะเป็นสัดประมาณ  18 ช.ม.  แล้วต่อมาอีก  14  ช.ม.  จึงจะมีไข่ตกเพื่อรอรับการผสมพันธุ์กับน้ำเชื้อพ่อโค   จึงเห็นสมควรที่ต้องเลือกเวลาที่เหมาะสม   ในการดำเนินการเรื่องของรับบริการผสมเทียมดังมีหลักการที่จะใช้ในการปฏิบัติงานผสมเทียมคือ<br />\n           1.  เมื่อโคเพศเมียตัวใดแสดงอาการเป็นสัดในตอนรุ่งเช้าของวันใดวันหนึ่ง   ควรที่จะได้รับการผสมเทียมในวันเวลาเดียวกัน (ก่อน  16.30  น.)  ฉะนั้นพอรุ่งเช้าของแต่ละวันเจ้าของสัตว์ควรที่จะได้ไปแจ้งและบอกเวลา  (ประมาณ)  ที่ท่านได้เห็นสัตว์ของท่านแสดงอาการเป็นสัด<br />\n           2.  ถ้าโคเพศเมียตัวใดแสดงอาการเป็นสัดในตอนบ่ายของวันใดวันหนึ่ง   ควรที่จะได้รับการผสมเทียมตอนเช้าหรือก่อนเที่ยงของวันรุ่งขึ้น  ฉะนั้นเจ้าของสัตว์เมื่อพบว่าสัตว์แสดงอาการเป็นสัดในตอนบ่ายหรือตอนเย็น   ท่านควรจะไปแจ้งและบอกเวลาของการเป็นสัด  (ประมาณ)   ในรุ่งเช้าของวันต่อไปก็ได้</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><br />\n           <span style=\"font-size: x-small; color: #0000ff\">ถ้าท่านได้ศึกษา</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">และรู้จักสังเกตการแสดงอาการเป็นสัด   ว่าอาการเป็นอย่างไรและหาระยะเวลาที่จะผสมเทียมให้พอเหมาะแล้ว   จะเป็นการช่วยแก้ปัญหาเรื่องการผสมเทียมติดยากหรือผสมไม่ค่อยติดในโคเพศเมียของท่านได้ทางหนึ่ง   และจะทำให้เป็นประโยชน์ในด้านการเพิ่มจำนวนและปริมาณน้ำนมในกิจการโคนมของท่านยิ่งขึ้น   จึงเห็นสมควรที่จะเรียกช่วงเวลาอันสำคัญนี้ว่า  <span style=\"color: #ff0000\"><b> &quot;นาทีทองในโคนมตัวเมีย&quot;</b></span></span> </span></span></p>\n<table border=\"0\" align=\"center\" width=\"95%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"313\">\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; color: #006600; font-family: MS Sans Serif\"><b>จะรู้ได้อย่างไรว่าโคตั้งท้องหรือไม่</b></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><br />\n         <span style=\"font-size: x-small; color: #0000cc\">เมื่อโคนาง </span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">ได้รับการผสมไปแล้วประมาณ 21 วันหากโคไม่กลับมาแสดงอาการเป็นสัดอีกก็อาจคาดได้ว่าผสมติดหรือโคตัวนั้น เริ่มตั้งท้องแล้ว   เพื่อให้รู้แน่ชัดยิ่งขึ้นภายหลังจากการผสมโคนางแล้ว  50  วันขึ้นไปอาจติดต่อสัตวแพทย์หรือบุคคลผู้มีความ ชำนาญในการตรวจท้องแม่โค (โดยวิธีล้วงเข้าไปคลำลูกโคทางทวารของแม่โค) มาทำการตรวจท้องแม่โคก็จะทราบได้แน่ชัดยิ่งขึ้น</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><br />\n <span style=\"color: #ffffff\">........</span></span><span style=\"font-size: x-small; color: #ff0000; font-family: MS Sans Serif\"><b>ข้อสังเกต</b></span><span style=\"font-size: small; font-family: MS Sans Serif\"> <span style=\"font-size: x-small\">ในกรณีโคสาว   จะสังเกตได้จากการเจริญเติบโตที่เร็วขึ้น   กินจุขึ้น   ความจุของลำตัวโดยเฉพาะส่วนท้องซี่โครงจะกางออกกว้าง ขึ้น   ขนเป็นมัน   และไม่เป็นสัดอีก</span></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><br />\n </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><strong><span style=\"color: #006600\"> การคลอดลูก<br />\n </span></strong>          <span style=\"color: #990099\">โดยทั่วไปแม่โคจะตั้งท้องประมาณ  283  วัน</span>  หรือประมาณ  9  เดือนเศษ   ในช่วงนี้แม่โคจะได้การเอาใจใส่ดูแลเรื่องความเป็นอยู่และอาหารเป็นพิเศษ   เพราะลูกในท้องเจริญขึ้นเรื่อย ๆ และเป็นไปอย่างรวดเร็ว   ในระยะก่อนคลอดประมาณ  45 - 80  วัน ควรเพิ่มอาหารผสมให้แก่แม่โคท้อง  เพื่อแม่โคจะได้นำไปเสริมสร้างร่างกายส่วนที่สึกหรอ   และนำไปเลี้ยงลูก   หรือนำไปสร้างความเจริญเติบโตสำหรับอวัยวะบางอย่างที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่   เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์มากที่สุดและเพื่อไม่ให้แม่โคซูบผอม   สำหรับแม่โคที่กำลังให้นม   เมื่อตั้งท้องลูกตัวต่อไปควรจะหยุดรีดนมก่อนคลอดประมาณ  45 - 60  วัน  สำหรับแม่โคท้องแรกหรือท้องสาวหรือแม่โคที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ (อายุไม่ถึง 5 ปี)  แม้จะให้ลูกมาแล้ว 1 หรือ 2 ตัวก็ตาม   ก่อนคลอดลูกตัวต่อไปควรจะหยุดพักการรีดนมเร็วกว่าแม่โคที่โตเต็มที่แล้ว   อย่างน้อยก่อนคลอดประมาณ  45 - 60  วัน  เพื่อให้แม่โคได้มีเวลาเตรียมตัวได้พักผ่อนร่างกายและอวัยวะต่าง ๆ บ้าง   มิฉะนั้นแม่โคอาจจะได้รับผลกระทบกระเทือน   นั่นหมายถึงผลเสียหายที่จะตามมาภายหลังได้   เช่น   ร่างกายจะชะงักการเติบโตเพราะอาหารไม่พอ   ร่างกายไม่สมบูรณ์  เมื่อคลอดลูกออกมาลูกโคอ่อนแอ  มีช่วงระยะการให้นมในปีต่อไปสั้นลง    ผสมติดยาก   ทิ้งช่วงการเป็นสัดนาน   และอื่น ๆ เป็นต้น<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><br />\n </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><strong><span style=\"color: #006600\"> อาการที่แม่โคแสดงออกเมื่อใกล้คลอด<br />\n </span></strong><span style=\"font-size: x-small\">          เราอาจจะสังเกตอาการต่างๆได้ดังนี้<br />\n     1.  เต้านมขยายใหญ่ขึ้น<br />\n     2.  อวัยวะเพศขยายตัวขึ้น   ยิ่งใกล้วันคลอดเข้ามาสังเกตเห็นมีน้ำเมือกไหลออกมาจากช่องคลอด<br />\n     3.  กระดูกเชิงกรานขยายตัวออกกว้างขึ้น   โคนหางตรงกระดูกก้นกบจะบุ๋มลึกลงทั้งสองข้าง<br />\n     4.  ช่องท้องตรงสวาปจะลึกหย่อนลง<br />\n     5.  ยกหางขึ้น-ลงเล็กน้อยเป็นครั้งคราว<br />\n     6.  ถ้าเป็นโคที่ปล่อยรวมฝูงจะพยายามแยกตัวออกจากฝูง<br />\n     7.  แม่โคที่ถูกขังจะไม่สนใจในการกินหญ้า   อาหาร   ยืนกระสับกระส่าย   ขกขาหลังแตะอยู่เรื่อย ๆ มีการเบ่งคลอดตลอดเวลา</span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><strong><span style=\"color: #006600\"> จะรู้ได้อย่างไรลูกโคคลอดปกติหรือไม่<br />\n </span></strong>        <span style=\"font-size: x-small\"><b>  <span style=\"color: #990099\">ลักษณะการคลอดลูกในท่าปกติของแม่โค</span></b></span> <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">คือ   ลูกโคจะเหยียดขาหน้าตรงออกมาพร้อมกันทั้งสอง (ส่วนหัวแนบชิดกับเข่า) จะเห็น เป็น 3 จุด  คือ  2 กีบข้างหน้า  และจมูก   ถ้าหากมีลักษณะอื่น ๆ ผิดไปจากนี้ให้ถือเป็นการคลอดที่ผิดปกติ   อาทิเช่น   หัวพับหรือเอาด้าน หลังออกมาก่อนส่วนอื่น   หรือกรณีที่ลูกโคมีขนาดใหญ่จนไม่สามารถผ่านช่องคลอดออกมาได้   หรือกรณีอื่น ๆ เช่นนี้ควรรีบติดต่อสัตวแพทย์มาช่วยทำการคลอด   และหากลูกโคคลอดออกมาแล้วรกยังไม่ออกตามมาถ้าเกิน  12  ชั่วโมง   ควรรีบตามสัตวแพทย์มาช่วยแก้ไข   เพราะถือว่ามีความผิดปกติบางอย่างเกิดขึ้นกับแม่โค   ซึ่งต้องรีบทำการรักษา   หลังจากลูกโคคลอดออกมาแล้วควรรีบเช็ดทำความสะอาดตัวลูกโคให้แห้งโดยเร็ว   โดยเฉพาะเมือกบริเวณจมูกปากและลำตัวพร้อมกับทำการตัดสายสะดือให้ห่างจากตัวโคประมาณ 1 นิ้วแล้วทาด้วยทิงเจอร์ไอโอดีน</span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"> <a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.212cafe.com/boardvip/user_board/siamindu/picture/28030_0.jpg&amp;imgrefurl=http://www.212cafe.com/boardvip/view.php%3Fuser%3Dsiamindu%26id%3D28030&amp;usg=__NvcPDD1TU1IAaV9Hh-BDblMBAEg=&amp;h=584&amp;w=778&amp;sz=154&amp;hl=th&amp;start=7&amp;um=1&amp;tbnid=INGVo2rwUVKP0M:&amp;tbnh=107&amp;tbnw=142&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%259C%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2584%26hl%3Dth%26um%3D1\"><img width=\"142\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:INGVo2rwUVKP0M:http://www.212cafe.com/boardvip/user_board/siamindu/picture/28030_0.jpg\" height=\"107\" style=\"vertical-align: bottom; width: 183px; height: 145px; border: 1px solid\" /></a>        <a href=\"http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.nangrong.ac.th/web_student/m3_1/g3/j2.jpg&amp;imgrefurl=http://www.nangrong.ac.th/web_student/m3_1/g3/cow3.html&amp;usg=__IP-ga8HkGnKRY-BrVXG0MejeSD4=&amp;h=300&amp;w=407&amp;sz=17&amp;hl=th&amp;start=6&amp;um=1&amp;tbnid=XqpJW7ZrU93zRM:&amp;tbnh=92&amp;tbnw=125&amp;prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%259C%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25A1%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%2584%26hl%3Dth%26um%3D1\"><img width=\"125\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:XqpJW7ZrU93zRM:http://www.nangrong.ac.th/web_student/m3_1/g3/j2.jpg\" height=\"92\" style=\"vertical-align: bottom; width: 232px; height: 147px; border: 1px solid\" /></a></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><a href=\"http://www.dld.go.th/service/dairy_cattle/pasom.html\">http://www.dld.go.th/service/dairy_cattle/pasom.html</a></span></span>\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n <span style=\"font-family: ms sans serif\"><span style=\"font-size: x-small\"></span></span></p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n', created = 1716888807, expire = 1716975207, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:00dde205bb3367f81bbb4dd2a1cd3d27' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การผสมเทียม

การผสมเทียม

การผสมเทียม   หมายถึง   การรีดน้ำเชื้อจากสัตว์พ่อพันธุ์แล้วนำไปฉีดเข้าในอวัยวะของสัตว์ตัวเมีย   เมื่อสัตว์ตัวเมียนั้นแสดงอาการของการเป็นสัดแล้วทำให้เกิดการตั้งท้องแล้วคลอดออกมาตามปกติ 

ประโยชน์ของการผสมเทียม

          1.  ทำให้ประหยัดพ่อพันธุ์เมื่อรีดเก็บน้ำเชื้อจากสัตว์พ่อพันธุ์ได้แต่ละครั้งสามารถนำมาละลายน้ำเชื้อแล้วแบ่งใช้ผสมกับสัตว์ตัวเมียได้จำ นวนมาก
          2.  สามารถผสมพันธุ์สัตว์ที่มีขนาดใหญ่หรือเล็กต่างกันได้   โดยไม่มีอันตรายจากการขึ้นทับของพ่อพันธุ์
          3.  ไม่ทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงพ่อพันธุ์
          4.  ตัดปัญหาในเรื่องขนส่งโคไปผสมเพราะสามารถนำน้ำเชื้อไปผสมได้ไกล ๆ

 ระยะเวลาที่เหมาะสมในการผสมเทียม
       โคตัวเมีย
ที่แสดงอาการเป็นสัดดังกล่าว   ควรจะได้รับการผสมเทียมในระยะเวลาช่วงกลางของการเป็นสัด   หรือใกล้ระยะที่จะหมดการเป็นสัด (อาจจะหมดการเป็นสัดไปแล้วประมาณ  6  ชั่วโมงก็ได้   หรือเมื่อโคเพศเมียตัวนั้นยืนนิ่งให้ตัวอื่นขึ้นขี่   ซึ่งใช้เป็นหลักในการผสมพันธุ์)  โดยทั่ว ๆ ไปโคเพศเมียจะมีระยะเป็นสัดประมาณ  18 ช.ม.  แล้วต่อมาอีก  14  ช.ม.  จึงจะมีไข่ตกเพื่อรอรับการผสมพันธุ์กับน้ำเชื้อพ่อโค   จึงเห็นสมควรที่ต้องเลือกเวลาที่เหมาะสม   ในการดำเนินการเรื่องของรับบริการผสมเทียมดังมีหลักการที่จะใช้ในการปฏิบัติงานผสมเทียมคือ
          1.  เมื่อโคเพศเมียตัวใดแสดงอาการเป็นสัดในตอนรุ่งเช้าของวันใดวันหนึ่ง   ควรที่จะได้รับการผสมเทียมในวันเวลาเดียวกัน (ก่อน  16.30  น.)  ฉะนั้นพอรุ่งเช้าของแต่ละวันเจ้าของสัตว์ควรที่จะได้ไปแจ้งและบอกเวลา  (ประมาณ)  ที่ท่านได้เห็นสัตว์ของท่านแสดงอาการเป็นสัด
          2.  ถ้าโคเพศเมียตัวใดแสดงอาการเป็นสัดในตอนบ่ายของวันใดวันหนึ่ง   ควรที่จะได้รับการผสมเทียมตอนเช้าหรือก่อนเที่ยงของวันรุ่งขึ้น  ฉะนั้นเจ้าของสัตว์เมื่อพบว่าสัตว์แสดงอาการเป็นสัดในตอนบ่ายหรือตอนเย็น   ท่านควรจะไปแจ้งและบอกเวลาของการเป็นสัด  (ประมาณ)   ในรุ่งเช้าของวันต่อไปก็ได้

          ถ้าท่านได้ศึกษา
และรู้จักสังเกตการแสดงอาการเป็นสัด   ว่าอาการเป็นอย่างไรและหาระยะเวลาที่จะผสมเทียมให้พอเหมาะแล้ว   จะเป็นการช่วยแก้ปัญหาเรื่องการผสมเทียมติดยากหรือผสมไม่ค่อยติดในโคเพศเมียของท่านได้ทางหนึ่ง   และจะทำให้เป็นประโยชน์ในด้านการเพิ่มจำนวนและปริมาณน้ำนมในกิจการโคนมของท่านยิ่งขึ้น   จึงเห็นสมควรที่จะเรียกช่วงเวลาอันสำคัญนี้ว่า   "นาทีทองในโคนมตัวเมีย"

จะรู้ได้อย่างไรว่าโคตั้งท้องหรือไม่
        เมื่อโคนาง
ได้รับการผสมไปแล้วประมาณ 21 วันหากโคไม่กลับมาแสดงอาการเป็นสัดอีกก็อาจคาดได้ว่าผสมติดหรือโคตัวนั้น เริ่มตั้งท้องแล้ว   เพื่อให้รู้แน่ชัดยิ่งขึ้นภายหลังจากการผสมโคนางแล้ว  50  วันขึ้นไปอาจติดต่อสัตวแพทย์หรือบุคคลผู้มีความ ชำนาญในการตรวจท้องแม่โค (โดยวิธีล้วงเข้าไปคลำลูกโคทางทวารของแม่โค) มาทำการตรวจท้องแม่โคก็จะทราบได้แน่ชัดยิ่งขึ้น
........
ข้อสังเกต ในกรณีโคสาว   จะสังเกตได้จากการเจริญเติบโตที่เร็วขึ้น   กินจุขึ้น   ความจุของลำตัวโดยเฉพาะส่วนท้องซี่โครงจะกางออกกว้าง ขึ้น   ขนเป็นมัน   และไม่เป็นสัดอีก

 การคลอดลูก
          โดยทั่วไปแม่โคจะตั้งท้องประมาณ  283  วัน  หรือประมาณ  9  เดือนเศษ   ในช่วงนี้แม่โคจะได้การเอาใจใส่ดูแลเรื่องความเป็นอยู่และอาหารเป็นพิเศษ   เพราะลูกในท้องเจริญขึ้นเรื่อย ๆ และเป็นไปอย่างรวดเร็ว   ในระยะก่อนคลอดประมาณ  45 - 80  วัน ควรเพิ่มอาหารผสมให้แก่แม่โคท้อง  เพื่อแม่โคจะได้นำไปเสริมสร้างร่างกายส่วนที่สึกหรอ   และนำไปเลี้ยงลูก   หรือนำไปสร้างความเจริญเติบโตสำหรับอวัยวะบางอย่างที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่   เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์มากที่สุดและเพื่อไม่ให้แม่โคซูบผอม   สำหรับแม่โคที่กำลังให้นม   เมื่อตั้งท้องลูกตัวต่อไปควรจะหยุดรีดนมก่อนคลอดประมาณ  45 - 60  วัน  สำหรับแม่โคท้องแรกหรือท้องสาวหรือแม่โคที่ยังเจริญเติบโตไม่เต็มที่ (อายุไม่ถึง 5 ปี)  แม้จะให้ลูกมาแล้ว 1 หรือ 2 ตัวก็ตาม   ก่อนคลอดลูกตัวต่อไปควรจะหยุดพักการรีดนมเร็วกว่าแม่โคที่โตเต็มที่แล้ว   อย่างน้อยก่อนคลอดประมาณ  45 - 60  วัน  เพื่อให้แม่โคได้มีเวลาเตรียมตัวได้พักผ่อนร่างกายและอวัยวะต่าง ๆ บ้าง   มิฉะนั้นแม่โคอาจจะได้รับผลกระทบกระเทือน   นั่นหมายถึงผลเสียหายที่จะตามมาภายหลังได้   เช่น   ร่างกายจะชะงักการเติบโตเพราะอาหารไม่พอ   ร่างกายไม่สมบูรณ์  เมื่อคลอดลูกออกมาลูกโคอ่อนแอ  มีช่วงระยะการให้นมในปีต่อไปสั้นลง    ผสมติดยาก   ทิ้งช่วงการเป็นสัดนาน   และอื่น ๆ เป็นต้น

 อาการที่แม่โคแสดงออกเมื่อใกล้คลอด
          เราอาจจะสังเกตอาการต่างๆได้ดังนี้
    1.  เต้านมขยายใหญ่ขึ้น
    2.  อวัยวะเพศขยายตัวขึ้น   ยิ่งใกล้วันคลอดเข้ามาสังเกตเห็นมีน้ำเมือกไหลออกมาจากช่องคลอด
    3.  กระดูกเชิงกรานขยายตัวออกกว้างขึ้น   โคนหางตรงกระดูกก้นกบจะบุ๋มลึกลงทั้งสองข้าง
    4.  ช่องท้องตรงสวาปจะลึกหย่อนลง
    5.  ยกหางขึ้น-ลงเล็กน้อยเป็นครั้งคราว
    6.  ถ้าเป็นโคที่ปล่อยรวมฝูงจะพยายามแยกตัวออกจากฝูง
    7.  แม่โคที่ถูกขังจะไม่สนใจในการกินหญ้า   อาหาร   ยืนกระสับกระส่าย   ขกขาหลังแตะอยู่เรื่อย ๆ มีการเบ่งคลอดตลอดเวลา

 จะรู้ได้อย่างไรลูกโคคลอดปกติหรือไม่
          ลักษณะการคลอดลูกในท่าปกติของแม่โค คือ   ลูกโคจะเหยียดขาหน้าตรงออกมาพร้อมกันทั้งสอง (ส่วนหัวแนบชิดกับเข่า) จะเห็น เป็น 3 จุด  คือ  2 กีบข้างหน้า  และจมูก   ถ้าหากมีลักษณะอื่น ๆ ผิดไปจากนี้ให้ถือเป็นการคลอดที่ผิดปกติ   อาทิเช่น   หัวพับหรือเอาด้าน หลังออกมาก่อนส่วนอื่น   หรือกรณีที่ลูกโคมีขนาดใหญ่จนไม่สามารถผ่านช่องคลอดออกมาได้   หรือกรณีอื่น ๆ เช่นนี้ควรรีบติดต่อสัตวแพทย์มาช่วยทำการคลอด   และหากลูกโคคลอดออกมาแล้วรกยังไม่ออกตามมาถ้าเกิน  12  ชั่วโมง   ควรรีบตามสัตวแพทย์มาช่วยแก้ไข   เพราะถือว่ามีความผิดปกติบางอย่างเกิดขึ้นกับแม่โค   ซึ่งต้องรีบทำการรักษา   หลังจากลูกโคคลอดออกมาแล้วควรรีบเช็ดทำความสะอาดตัวลูกโคให้แห้งโดยเร็ว   โดยเฉพาะเมือกบริเวณจมูกปากและลำตัวพร้อมกับทำการตัดสายสะดือให้ห่างจากตัวโคประมาณ 1 นิ้วแล้วทาด้วยทิงเจอร์ไอโอดีน

        

http://www.dld.go.th/service/dairy_cattle/pasom.html

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 178 คน กำลังออนไลน์