การแตกตัวของเบสอ่อน

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 การแตกตัวของเบสอ่อน

          เบสอ่อนเมื่อละลายน้ำแล้วจะแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วนเช่นเดียวกับกรดอ่อน โดยปฏิกิริยาการแตกตัวของเบสอ่อนเป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ เช่น

 

          Kb คือ ค่าคงที่สมดุลของเบส ใช้ในการเปรียบเทียบความแรงของเบสได้เช่นเดียวกับค่า Ka

     -  โมโนโปรติกเบส (monoprotic base) สามารถรับ H+ ได้ 1 ตัว และมีค่า Kb เพียงค่าเดียวเท่านั้น เช่น NH3 เป็นต้น

     -  โพลิโปรติกเบส (polyprotic base) สามารถรับ H+ ได้มากกว่า 1 ตัว และมีค่า Kb ได้หลายค่า เช่น ไฮดราซีน (H2NNH2) เป็นต้น

 

          นอกจากนี้ค่า Kb ยังสามารถบอกปริมาณการแตกตัวของเบสอ่อนได้ในลักษณะเปอร์เซ็นต์ของการแตกตัว ดังนี้

 

 การคำนวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุลของเบส

ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนค่าคงที่สมดุลของเบสอ่อนต่อไปนี้ C6H5NH2 , N2H2

วิธีทำ

 

ตัวอย่างที่ 2 เมื่อแอมโมเนียละลายน้ำจะแตกตัวให้ NH4+ และ OH- ถ้าแอมโมเนียจำนวน 0.106 โมล ละลายในน้ำ 1 ลิตร ที่ภาวะสมดุลแตกตัวให้ NH4+ และ OH- เท่ากัน คือ 1.38 x 10-3 โมล จงหาค่าคงที่ของการแตกตัวของ NH3

วิธีทำ

 

 

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 578 คน กำลังออนไลน์