• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ea2ca44a8ea360a33690611854a1597b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43804\" title=\"Backward : การแตกตัวของกรด-เบส(แก่)\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/back.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/43810\" title=\"Forward : ค่าคงที่สมดุลของกรดอ่อน (Ka)\"><img border=\"0\" width=\"98\" src=\"/files/u18699/next.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/44570\" title=\"Mainpage : การแตกตัว\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u18699/10_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">การแตกตัวของกรดอ่อน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">สารละลายกรดอ่อน เช่น กรดแอซิติก (CH<sub>3</sub>COOH) เมื่อละลายน้ำแล้ว จะมีความสามารถในการนำไฟฟ้าได้น้อย เนื่องจากกรดแอซิติกนั้นแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน เขียนแทนด้วยลูกศร <img border=\"0\" width=\"56\" src=\"/files/u18699/a.gif\" height=\"16\" /> เพื่อชี้ให้เห็นว่าปฏิกิริยที่เกิดขึ้นนี้เป็นทั้งปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับ โดยอยู่ในภาวะสมดุล  เช่น </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"528\" src=\"/files/u18699/10_1.gif\" height=\"133\" />\n</div>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">ปริมาณในการแตกตัวของกรดอ่อน นิยมบอกเป็นร้อยละ เช่น กรด HA แตกตัวได้ร้อยละ 10 ในน้ำ หมายความว่า กรด HA 1 โมล เมื่อละลายน้ำ จะแตกตัวให้ H<sup>+</sup> เพียง 0.10 โมล</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"559\" src=\"/files/u18699/10_2.gif\" height=\"151\" />\n</div>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">การแตกตัวของกรดอ่อนชนิดเดียวกัน จะเพิ่มขึ้นเมื่อสารละลายนั้นมีความเจือจางมากขึ้น เช่น กรดแอซิติก (CH<sub>3</sub>COOH) ความเข้มข้นต่างกันจะมีเปอร์เซ็นต์การแตกตัวต่างกัน ดังนี้</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"436\" src=\"/files/u18699/10_3.gif\" height=\"221\" />\n</div>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #603314\"><strong>การแตกตัวของกรดมอนอโปรติก (monoprotic acid dissociation)</strong> </span></li>\n</ul>\n<p>\n<strong>         <span style=\"color: #987017\"> </span></strong><span style=\"color: #987017\">กรดมอนอโปรติก คือ กรดที่แตกตัวให้ H<sup>+</sup> ได้เพียง 1 ตัวเท่านั้น เช่น CH<sub>3</sub>COOH และ HCOOH </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"464\" src=\"/files/u18699/10_4.gif\" height=\"189\" />\n</div>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #603314\">การแตกตัวของกรดพอลิโปรติก (polyprotic acid dissociation )</span></strong> </li>\n</ul>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">กรดพอลิโปรติก หมายถึง กรดที่มีโปรตอนมากกว่า 1 ตัว และสามารถแตกตัวให้ H<sup>+</sup> ได้มากกว่า 1 ตัว ถ้าแตกตัวแล้วได้ H<sup>+</sup> 2 ตัว จะเรียกว่า กรดไดโปรติก เช่น H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub>, H<sub>2</sub>S, H<sub>2</sub>C<sub>2</sub>O<sub>4</sub> เป็นต้น</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"526\" src=\"/files/u18699/10_5.gif\" height=\"183\" />\n</div>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">ส่วนกรดที่แตกตัวแล้วให้ H<sup>+</sup> 3 ตัว เรียกว่า กรดไตรโปรติก เช่น H<sub>3</sub>PO<sub>4</sub> , H<sub>3</sub>PO<sub>3</sub></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"313\" src=\"/files/u18699/10_6.gif\" height=\"239\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<p>  </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720201659, expire = 1720288059, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ea2ca44a8ea360a33690611854a1597b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การแตกตัวของกรดอ่อน

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 การแตกตัวของกรดอ่อน

          สารละลายกรดอ่อน เช่น กรดแอซิติก (CH3COOH) เมื่อละลายน้ำแล้ว จะมีความสามารถในการนำไฟฟ้าได้น้อย เนื่องจากกรดแอซิติกนั้นแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน เขียนแทนด้วยลูกศร  เพื่อชี้ให้เห็นว่าปฏิกิริยที่เกิดขึ้นนี้เป็นทั้งปฏิกิริยาไปข้างหน้าและปฏิกิริยาย้อนกลับ โดยอยู่ในภาวะสมดุล  เช่น

 

          ปริมาณในการแตกตัวของกรดอ่อน นิยมบอกเป็นร้อยละ เช่น กรด HA แตกตัวได้ร้อยละ 10 ในน้ำ หมายความว่า กรด HA 1 โมล เมื่อละลายน้ำ จะแตกตัวให้ H+ เพียง 0.10 โมล

 

          การแตกตัวของกรดอ่อนชนิดเดียวกัน จะเพิ่มขึ้นเมื่อสารละลายนั้นมีความเจือจางมากขึ้น เช่น กรดแอซิติก (CH3COOH) ความเข้มข้นต่างกันจะมีเปอร์เซ็นต์การแตกตัวต่างกัน ดังนี้

 
  • การแตกตัวของกรดมอนอโปรติก (monoprotic acid dissociation)

          กรดมอนอโปรติก คือ กรดที่แตกตัวให้ H+ ได้เพียง 1 ตัวเท่านั้น เช่น CH3COOH และ HCOOH

 
  • การแตกตัวของกรดพอลิโปรติก (polyprotic acid dissociation )

          กรดพอลิโปรติก หมายถึง กรดที่มีโปรตอนมากกว่า 1 ตัว และสามารถแตกตัวให้ H+ ได้มากกว่า 1 ตัว ถ้าแตกตัวแล้วได้ H+ 2 ตัว จะเรียกว่า กรดไดโปรติก เช่น H2CO3, H2S, H2C2O4 เป็นต้น

 

          ส่วนกรดที่แตกตัวแล้วให้ H+ 3 ตัว เรียกว่า กรดไตรโปรติก เช่น H3PO4 , H3PO3

 

 

 

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 566 คน กำลังออนไลน์