• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b3615392005862e6364a8eb321b44e23' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43705\" title=\"Backward : ทฤษฎีกรด-เบส(1)\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/back.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/43710\" title=\"Forward : คู่กรด-คู่เบส+ความแรงของกรด-เบส\"><img border=\"0\" width=\"98\" src=\"/files/u18699/next.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/44546\" title=\"Mainpage : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรด-เบส\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u18699/6_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">ทฤษฎีกรด – เบส ลิวอีส (Lewis)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">ในปี ค.ศ. 1923 (พ.ศ. 2466) ลิวอีส ได ได้เป็นผู้เสนอนิยามของกรดและเบส ดังนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">กรด คือ สารที่รับอิเล็กตรอนคู่ แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">เบส คือ สารที่ให้อิเล็กตรอนคู่ แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          ปฏิกิริยาระหว่างกรด - เบส ตามทฤษฎีนี้ จะมีการใช้อิเล็กตรอนคู่ร่วมกัน โดยกรดจะเป็นผู้รับอิเล็กตรอน เรียกว่า Electrophile และเบสจะเป็นผู้ให้อิเล็กตรอน เรียกว่า Nucleophile ซึ่งตามทฤษฎีนี้สารที่เป็นเบสต้องมีอิเล็กตรอนคู่อิสระ เช่น</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u18699/6_1.gif\" height=\"160\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">ดังกรณีนี้ NH<sub>3</sub> เป็นเบสที่มีอิเล็กตรอนคู่อิสระ 1 คู่ จึงให้อิเล็กตรอนคู่กับกรดเพื่อทำให้เกิดพันธะโคเวเลนต์ ส่วน BF<sub>3</sub> นั้นจะรับอิเล็กตรอนจาก NH<sub>3 </sub>ได้ผลิตภัณฑ์เป็น NH<sub>3</sub>BF<sub>3</sub> ซึ่งมีสมบัติเป็นกรด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\"><strong>          </strong>ทฤษฎีของลิวอิสนั้นมีข้อดี คือ สามารถจำแนกกรด - เบส ที่ไม่มีทั้ง H<sup>+</sup> หรือ OH<sup>-</sup> อยู่ในสารนั้น และสารนั้นไม่จำเป็นต้องอยู่ในรูปของสารละลายเท่านั้น แต่ยังสามารถอยู่ในสถานะของแก๊สก็ใช้ทฤษฎีลิวอิสอธิบายความเป็นกรด - เบสได้</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">สารที่เป็นได้ทั้งกรด – เบส (Amphoteric)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">สารบางตัวสามารถเป็นกรด เมื่อทำปฏิกิริยากับสารตัวหนึ่ง และเป็นเบส เมื่อทำปฏิกิริยากับอีกสารหนึ่ง หมายความว่าสารนั้นอาจเป็นได้ทั้งกรดและเบส โดยสารที่มีลักษณะนี้ เรียกว่า สารเอมโฟเทอริก (Amphoteric) เช่น H<sub>2</sub>O, HCO<sup>3-</sup> เป็นต้น </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"359\" src=\"/files/u18699/6_2.gif\" height=\"217\" /> </strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"381\" src=\"/files/u18699/6_3.gif\" height=\"227\" /> </strong>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<strong> </strong><span style=\"color: #987017\">ในกรณีนี้ H<sub>2</sub>O จะเป็นกรดเมื่อทำปฏิกิริยากับ NH<sub>3</sub> และจะเป็นเบสเมื่อทำปฏิกิริยากับ NH<sub>4</sub><sup>+</sup> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่า สารที่เป็นเอมโฟเทอริก เมื่อทำปฏิกิริยากับสารที่ให้โปรตอนได้ดีกว่า ตัวมันเองจะรับโปรตอน (เป็นเบส) แต่ถ้าไปทำปฏิกิริยากับสารที่ให้โปรตอนได้ไม่ดีหรือน้อยกว่า ตัวมันเองจะให้โปรตอนกับสารนั้น (เป็นกรด) </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" /> </strong>\n</div>\n', created = 1719994783, expire = 1720081183, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b3615392005862e6364a8eb321b44e23' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ทฤษฎีกรด-เบส(2)

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 ทฤษฎีกรด – เบส ลิวอีส (Lewis)

          ในปี ค.ศ. 1923 (พ.ศ. 2466) ลิวอีส ได ได้เป็นผู้เสนอนิยามของกรดและเบส ดังนี้

กรด คือ สารที่รับอิเล็กตรอนคู่ แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์

เบส คือ สารที่ให้อิเล็กตรอนคู่ แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์

          ปฏิกิริยาระหว่างกรด - เบส ตามทฤษฎีนี้ จะมีการใช้อิเล็กตรอนคู่ร่วมกัน โดยกรดจะเป็นผู้รับอิเล็กตรอน เรียกว่า Electrophile และเบสจะเป็นผู้ให้อิเล็กตรอน เรียกว่า Nucleophile ซึ่งตามทฤษฎีนี้สารที่เป็นเบสต้องมีอิเล็กตรอนคู่อิสระ เช่น

          ดังกรณีนี้ NH3 เป็นเบสที่มีอิเล็กตรอนคู่อิสระ 1 คู่ จึงให้อิเล็กตรอนคู่กับกรดเพื่อทำให้เกิดพันธะโคเวเลนต์ ส่วน BF3 นั้นจะรับอิเล็กตรอนจาก NHได้ผลิตภัณฑ์เป็น NH3BF3 ซึ่งมีสมบัติเป็นกรด

          ทฤษฎีของลิวอิสนั้นมีข้อดี คือ สามารถจำแนกกรด - เบส ที่ไม่มีทั้ง H+ หรือ OH- อยู่ในสารนั้น และสารนั้นไม่จำเป็นต้องอยู่ในรูปของสารละลายเท่านั้น แต่ยังสามารถอยู่ในสถานะของแก๊สก็ใช้ทฤษฎีลิวอิสอธิบายความเป็นกรด - เบสได้


 สารที่เป็นได้ทั้งกรด – เบส (Amphoteric)

          สารบางตัวสามารถเป็นกรด เมื่อทำปฏิกิริยากับสารตัวหนึ่ง และเป็นเบส เมื่อทำปฏิกิริยากับอีกสารหนึ่ง หมายความว่าสารนั้นอาจเป็นได้ทั้งกรดและเบส โดยสารที่มีลักษณะนี้ เรียกว่า สารเอมโฟเทอริก (Amphoteric) เช่น H2O, HCO3- เป็นต้น

 ในกรณีนี้ H2O จะเป็นกรดเมื่อทำปฏิกิริยากับ NH3 และจะเป็นเบสเมื่อทำปฏิกิริยากับ NH4+

          ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่า สารที่เป็นเอมโฟเทอริก เมื่อทำปฏิกิริยากับสารที่ให้โปรตอนได้ดีกว่า ตัวมันเองจะรับโปรตอน (เป็นเบส) แต่ถ้าไปทำปฏิกิริยากับสารที่ให้โปรตอนได้ไม่ดีหรือน้อยกว่า ตัวมันเองจะให้โปรตอนกับสารนั้น (เป็นกรด)

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 453 คน กำลังออนไลน์