• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.139.70.106', 0, '2f448c24260018a09f642c11fc59e767', 138, 1719633013) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:16a6f26fb4c37a8aa505603034213a34' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43695\" title=\"Backward : ความหมายของกรด-เบส(2)\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/back.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/43705\" title=\"Forward : ทฤษฎีกรด-เบส(1)\"><img border=\"0\" width=\"98\" src=\"/files/u18699/next.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/44546\" title=\"Mainpage : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรด-เบส\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u18699/3_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n</div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">สารละลายอิเล็กโทรไลต์</span></strong> \n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) หมายถึง สารที่ละลายในตัวทำละลายแล้วสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้   ส่งผลให้นำไฟฟ้าได้   โดยสารละลายอิเล็กโทรไลต์นี้ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          1.     อิเล็กโทรไลต์แก่ คือ สารที่ละลายในตัวทำละลายแล้วสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ดีมาก หรือ แตกตัวได้หมด (100%)  ทำให้สามารถนำไฟฟ้าได้ดีมาก   เช่น   NaCl ,  KNO<sub>3</sub> ,  Ca(OH)<sub>2</sub>  เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          2.     อิเล็กโทรไลต์อ่อน คือ สารที่ละลายในตัวทำละลายแล้วสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้น้อย หรือแตกตัวได้เพียงบางส่วนเท่านั้น (&lt; 100%) ทำให้นำไฟฟ้าได้น้อย    เช่น    HF ,  HCN   เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #987017\">          นอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-electrolyte) หมายถึง สารที่เมื่อนำมาละลายน้ำแล้วจะไม่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ ทำให้ไม่สามารถนำไฟฟ้าได้ เช่น น้ำบริสุทธิ์ น้ำตาล แอลกอฮอล์ เป็นต้น</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" /> </strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u18699/4_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">ชนิดของกรด</span></strong> <span style=\"color: #987017\">แบ่งตามลักษณะการแตกตัว ได้ 3 ชนิด ดังนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #987017\">          1. กรด Monoprotic หมายถึง กรดที่สามารถแตกตัวได้ 1 ขั้น ได้แก่ HNO<sub>3</sub>, HClO<sub>3</sub>, HClO<sub>4</sub>, HCN เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #987017\">          2. กรด Diprotic หมายถึง กรดที่สามารถแตกตัวได้ 2 ขั้น ได้แก่ H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>, H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #987017\">          3. กรด Polyprotic หมายถึง กรดที่สามารถแตกตัวได้ 3 ขั้น ได้แก่ H<sub>3</sub>PO<sub>4</sub> เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #987017\">          ในกรณีที่เป็นการแตกตัวของกรด Polyprotic นั้น การแตกตัวแต่ละครั้งจะให้ H<sup>+</sup> ไม่เท่ากัน โดยค่า K<sub>a</sub> ของการแตกตัวครั้งแรกจะมีค่าสูงมาก แต่เมื่อแตกครั้งต่อๆไปจะมีค่า K<sub>a</sub> ต่ำมาก เพราะประจุลบในไอออนดึงดูด H<sup>+</sup> ไว้ดังสมการ</span>\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"385\" src=\"/files/u18699/4_1.gif\" height=\"169\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">เนื่องจากกรด Polyprotic ส่วนใหญ่มักมีค่า K<sub>1</sub> &gt;&gt; K<sub>2</sub> &gt;&gt; K<sub>3</sub> ดังนั้น H<sup>+</sup> ในสารละลายส่วนใหญ่จะได้มาจากการแตกตัวครั้งแรก<br />\n          ถ้าค่า K<sub>1</sub> มากกว่า K<sub>2</sub> = 10<sup>3</sup> เท่าขึ้นไป จะพิจารณาค่าความเข้มข้นของ [H<sup>+</sup>] ของสารละลายกรด Polyprotic ได้จากค่า K<sub>1</sub> เท่านั้น แต่ถ้าค่า K<sub>2</sub> มีค่าไม่ต่ำมาก จะต้องนำค่า K<sub>2</sub> มาพิจารณาด้วย</span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">ชนิดของเบส</span></strong> <span style=\"color: #987017\">แบ่งตามจำนวน OH - ในเบส ได้ 3 ชนิด ดังนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #987017\">          1. เบสที่มี OH<sup>-</sup> หมู่เดียว เช่น LiOH, NaOH, KOH, RbOH, CsOH เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #987017\">          2. เบสที่มี OH<sup>-2</sup> หมู่ เช่น Ca(OH)<sub>2</sub>, Sr(OH)<sub>2</sub>, Ba(OH)<sub>2</sub> เป็นต้น </span>\n</p>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #987017\">          3. เบสที่มี OH<sup>-3</sup> หมู่ เช่น Al(OH)<sub>3</sub>, Fe(OH)<sub>3</sub> เป็นต้น</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<p></p></strong>\n</div>\n', created = 1719633024, expire = 1719719424, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:16a6f26fb4c37a8aa505603034213a34' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สารละลายอิเล็กโทรไลต์+ชนิดของกรด-เบส

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 สารละลายอิเล็กโทรไลต์ 

          อิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) หมายถึง สารที่ละลายในตัวทำละลายแล้วสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้   ส่งผลให้นำไฟฟ้าได้   โดยสารละลายอิเล็กโทรไลต์นี้ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้

          1.     อิเล็กโทรไลต์แก่ คือ สารที่ละลายในตัวทำละลายแล้วสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ดีมาก หรือ แตกตัวได้หมด (100%)  ทำให้สามารถนำไฟฟ้าได้ดีมาก   เช่น   NaCl ,  KNO3 ,  Ca(OH)2  เป็นต้น

          2.     อิเล็กโทรไลต์อ่อน คือ สารที่ละลายในตัวทำละลายแล้วสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้น้อย หรือแตกตัวได้เพียงบางส่วนเท่านั้น (< 100%) ทำให้นำไฟฟ้าได้น้อย    เช่น    HF ,  HCN   เป็นต้น


          นอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-electrolyte) หมายถึง สารที่เมื่อนำมาละลายน้ำแล้วจะไม่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ ทำให้ไม่สามารถนำไฟฟ้าได้ เช่น น้ำบริสุทธิ์ น้ำตาล แอลกอฮอล์ เป็นต้น

 ชนิดของกรด แบ่งตามลักษณะการแตกตัว ได้ 3 ชนิด ดังนี้

          1. กรด Monoprotic หมายถึง กรดที่สามารถแตกตัวได้ 1 ขั้น ได้แก่ HNO3, HClO3, HClO4, HCN เป็นต้น

          2. กรด Diprotic หมายถึง กรดที่สามารถแตกตัวได้ 2 ขั้น ได้แก่ H2SO4, H2CO3 เป็นต้น

          3. กรด Polyprotic หมายถึง กรดที่สามารถแตกตัวได้ 3 ขั้น ได้แก่ H3PO4 เป็นต้น

          ในกรณีที่เป็นการแตกตัวของกรด Polyprotic นั้น การแตกตัวแต่ละครั้งจะให้ H+ ไม่เท่ากัน โดยค่า Ka ของการแตกตัวครั้งแรกจะมีค่าสูงมาก แต่เมื่อแตกครั้งต่อๆไปจะมีค่า Ka ต่ำมาก เพราะประจุลบในไอออนดึงดูด H+ ไว้ดังสมการ

 

          เนื่องจากกรด Polyprotic ส่วนใหญ่มักมีค่า K1 >> K2 >> K3 ดังนั้น H+ ในสารละลายส่วนใหญ่จะได้มาจากการแตกตัวครั้งแรก
          ถ้าค่า K1 มากกว่า K2 = 103 เท่าขึ้นไป จะพิจารณาค่าความเข้มข้นของ [H+] ของสารละลายกรด Polyprotic ได้จากค่า K1 เท่านั้น แต่ถ้าค่า K2 มีค่าไม่ต่ำมาก จะต้องนำค่า K2 มาพิจารณาด้วย

 

 ชนิดของเบส แบ่งตามจำนวน OH - ในเบส ได้ 3 ชนิด ดังนี้

          1. เบสที่มี OH- หมู่เดียว เช่น LiOH, NaOH, KOH, RbOH, CsOH เป็นต้น

          2. เบสที่มี OH-2 หมู่ เช่น Ca(OH)2, Sr(OH)2, Ba(OH)2 เป็นต้น

          3. เบสที่มี OH-3 หมู่ เช่น Al(OH)3, Fe(OH)3 เป็นต้น

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 202 คน กำลังออนไลน์