• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('สำนวนภาษาอังกฤษ:idiom ', 'node/86720', '', '3.133.159.198', 0, '01624b20d3a8a14e4b26307fdfe65162', 126, 1716151517) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:985574729bbe3817cc744d66ad750a01' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n <img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19377/p2-1.gif\" height=\"120\" />\n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #000099; font-family: MS Sans Serif\"><strong><br />\n</strong><span style=\"font-size: x-small\"><strong>           การสื่อสารข้อมูล (Data Communications)</strong><span style=\"font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><strong> </strong>หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน<br />\n<strong>          </strong><span style=\"color: #008000\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\">เมื่อกล่าวถึงการติดต่อสื่อสาร ในอดีตอาจหมายถึงการพูดคุยกันของมนุษย์ซึ่งอาจเป็นการแสดงออกด้วยท่าทาง การใช้ภาษาพูดหรือผ่านทางตัวอักษร โดยเป็นการสื่อสารในระยะใกล้ๆ ต่อมา เมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้าได้มีการพัฒนาการสื่อสารเข้ากับการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำให้สามารถสื่อสารได้ในระยะไกลขึ้นและสะดวกรวดเร็วมากขึ้น เช่น การใช้โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร อีกทั้งตัวอุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารเองก็ได้รับการพัฒนาความสามารถขึ้นมาเป็นลำดับ และเข้ามามีบทบาทในทุกวงการ ดังนั้น ในยุคสารสนเทศนี้ การสื่อสารข้อมูลจึงหมายถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารซึ่งอาจอยู่ในรูปของตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียงหรือวิดีทัศน์ ระหว่างอุปกรณ์สื่อสาร โดยผ่านทางสื่อกลางในการสื่อสารซึ่งอาจเป็นสื่อกลางประเภทที่มีสายหรือไร้สายก็ได้ โดยปกติ องค์ประกอบหลักของระบบสื่อสารข้อมูลมีอยู่</span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span style=\"font-size: small; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"color: #008000\"> 5 </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #008000\">อย่าง ได้แก่ </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000099; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span style=\"font-size: small; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #008000\">1.  <strong>ข่าวสารหรือข้อมูล </strong>(message)<br />\n2.  <span lang=\"TH\"><strong>ผู้ส่ง </strong></span>(sender) <br />\n3.  <span lang=\"TH\"><strong>ผู้รับ </strong></span>(receiver) <br />\n4.  </span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000099; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span style=\"font-size: small; font-family: tahoma,arial,helvetica,sans-serif\"><span style=\"color: #008000\"><span lang=\"TH\"><strong>สื่อกลาง </strong></span>(media) <br />\n5.  <span lang=\"TH\"><strong>โพรโทคอล<span class=\"MsoHyperlink\"><span style=\"color: windowtext\"> </span></span></strong></span>(protocol</span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"><img border=\"0\" width=\"571\" src=\"/files/u19377/data.gif\" height=\"379\" /></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<b>             1. ผู้ส่งข่าวสาร</b>หรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร (source) อาจจะเป็นสัญญาณต่างๆ เช่นสัญญาณภาพ <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\">ข้อมูลและสียงเป็นต้น      ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ  ควันไฟ หรือท่าทางต่าง ๆ ก็นับว่าเป็นแหล่งกำเนิดข่าวสาร  จัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน</span></span> <br />\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><b>             2. ผู้รับข่าวสาร</b>หรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสาร</span></span> <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\">หรือแหล่งกำเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์  ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ  ถ้าผู้รับสารหรือ</span></span> <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\">จุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสำเร็จ  กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง<br />\n<strong>             3. ช่องสัญญาณ</strong>  (channel)  ในที่นี้อาจจะหมายถึงสื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่าน  อาจจะเป็นอากาศ  สายนำสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งของเหลว  เช่น  น้ำ  น้ำมัน เป็นต้น  เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง <br />\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><b>              4. การเข้ารหัส</b>  (encoding)  เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย  จึงมีความจำเป็นต้องแปลงความหมายนี้  การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน</span></span> <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\">ที่พร้อมจะส่งไปในสื่อกลาง   ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้</span></span> <br />\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><b>              5. การถอดรหัส</b> (decoding)  หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร  โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน</span></span> <br />\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\"><b>              6. สัญญาณรบกวน</b> (noise)  เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ  มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร  ผู้รับข่าวสาร  และช่องสัญญาณ    แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด  ตำแหน่งที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ  เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร  ในทางปฎิบัติมักจะใช้</span></span> <span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"font-size: x-small\">วงจรกรอง (filter)  กรองสัญญาณแต่ต้นทาง  เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดำเนินการ  เช่น  การเข้ารหัสแหล่ง</span></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/43402\"><img border=\"0\" width=\"234\" src=\"/files/u19377/restart.gif\" height=\"136\" style=\"width: 206px; height: 95px\" /></a> <a href=\"/node/50777\"><img border=\"0\" width=\"220\" src=\"/files/u19377/next.gif\" height=\"139\" style=\"width: 132px; height: 90px\" /></a>\n</div>\n<p>\n<strong>เอกสารอ้างอิง<br />\n</strong>- เอกสิทธิ์ วิริยจารี,เรียนรู้ระบบเน็ตเวิร์กจากอุปกรณ์ของ CISCO, สำนักพิมพ์ ซีเอ็ด.<br />\n- ธวัชชัย ชมศิริ,ติดตั้ง/ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์,สำนักพิมพ์ ซีเอ็ด.<br />\n- เปิดโลก TCP/IP และโปรโตคอลของอินเตอร์เน็ต, สำนักพิมพ์ provision.\n</p>\n', created = 1716151527, expire = 1716237927, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:985574729bbe3817cc744d66ad750a01' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การสื่อสารข้อมูล

 

       
           การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน
          เมื่อกล่าวถึงการติดต่อสื่อสาร ในอดีตอาจหมายถึงการพูดคุยกันของมนุษย์ซึ่งอาจเป็นการแสดงออกด้วยท่าทาง การใช้ภาษาพูดหรือผ่านทางตัวอักษร โดยเป็นการสื่อสารในระยะใกล้ๆ ต่อมา เมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้าได้มีการพัฒนาการสื่อสารเข้ากับการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำให้สามารถสื่อสารได้ในระยะไกลขึ้นและสะดวกรวดเร็วมากขึ้น เช่น การใช้โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร อีกทั้งตัวอุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารเองก็ได้รับการพัฒนาความสามารถขึ้นมาเป็นลำดับ และเข้ามามีบทบาทในทุกวงการ ดังนั้น ในยุคสารสนเทศนี้ การสื่อสารข้อมูลจึงหมายถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารซึ่งอาจอยู่ในรูปของตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียงหรือวิดีทัศน์ ระหว่างอุปกรณ์สื่อสาร โดยผ่านทางสื่อกลางในการสื่อสารซึ่งอาจเป็นสื่อกลางประเภทที่มีสายหรือไร้สายก็ได้ โดยปกติ องค์ประกอบหลักของระบบสื่อสารข้อมูลมีอยู่ 5 อย่าง ได้แก่

1.  ข่าวสารหรือข้อมูล (message)
2.  ผู้ส่ง (sender)
3.  ผู้รับ (receiver)
4. 
สื่อกลาง (media)
5.  โพรโทคอล (protocol

 


             1. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร (source) อาจจะเป็นสัญญาณต่างๆ เช่นสัญญาณภาพ ข้อมูลและสียงเป็นต้น      ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้แสงไฟ  ควันไฟ หรือท่าทางต่าง ๆ ก็นับว่าเป็นแหล่งกำเนิดข่าวสาร  จัดอยู่ในหมวดหมู่นี้เช่นกัน
             2. ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (sink) ซึ่งจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสาร หรือแหล่งกำเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ตราบใด ที่การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์  ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ  ถ้าผู้รับสารหรือ จุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนั้นไม่ประสบความสำเร็จ  กล่าวคือไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้นนั่นเอง
             3. ช่องสัญญาณ  (channel)  ในที่นี้อาจจะหมายถึงสื่อกลางหรือตัวกลางที่ข่าวสารเดินทางผ่าน  อาจจะเป็นอากาศ  สายนำสัญญาณต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งของเหลว  เช่น  น้ำ  น้ำมัน เป็นต้น  เปรียบเสมือนเป็นสะพานที่จะให้ข่าวสารข้ามจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง
              4. การเข้ารหัส  (encoding)  เป็นการช่วยให้ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารมีความเข้าใจตรงกันในการสื่อความหมาย  จึงมีความจำเป็นต้องแปลงความหมายนี้  การเข้ารหัสจึงหมายถึงการแปลงข่าวสารให้อยู่ในรูปพลังงาน ที่พร้อมจะส่งไปในสื่อกลาง   ทางผู้ส่งมีความเข้าใจต้องตรงกันระหว่าง ผู้ส่งและผู้รับ หรือมีรหัสเดียวกัน การสื่อสารจึงเกิดขึ้นได้
              5. การถอดรหัส (decoding)  หมายถึงการที่ผู้รับข่าวสารแปลงพลังงานจากสื่อกลางให้กลับไปอยู่ในรูปข่าวสารที่ส่งมาจากผู้ส่งข่าวสาร  โดยมีความเข้าในหรือรหัสตรงกัน
              6. สัญญาณรบกวน (noise)  เป็นสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ  มักจะลดทอนหรือรบกวนระบบ อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านผู้ส่งข่าวสาร  ผู้รับข่าวสาร  และช่องสัญญาณ    แต่ในการศึกษาขั้นพื้นฐานมักจะสมมติให้ทางด้านผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารไม่มีความผิดพลาด  ตำแหน่งที่ใช้วิเคราะห์ มักจะเป็นที่ตัวกลางหรือช่องสัญญาณ  เมื่อไรที่รวมสัญญาณรบกวนด้านผู้ส่งข่าวสารและด้านผู้รับข่าวสาร  ในทางปฎิบัติมักจะใช้ วงจรกรอง (filter)  กรองสัญญาณแต่ต้นทาง  เพื่อให้การสื่อสารมีคุณภาพดียิ่งขึ้นแล้วค่อยดำเนินการ  เช่น  การเข้ารหัสแหล่ง

 

 

เอกสารอ้างอิง
- เอกสิทธิ์ วิริยจารี,เรียนรู้ระบบเน็ตเวิร์กจากอุปกรณ์ของ CISCO, สำนักพิมพ์ ซีเอ็ด.
- ธวัชชัย ชมศิริ,ติดตั้ง/ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์,สำนักพิมพ์ ซีเอ็ด.
- เปิดโลก TCP/IP และโปรโตคอลของอินเตอร์เน็ต, สำนักพิมพ์ provision.

สร้างโดย: 
ครูวีรานุช วิจารณ์ปรีชา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 249 คน กำลังออนไลน์