• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fac08683311a100e9becbaee3f149d6d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<hr id=\"null\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n  \n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<strong><u>อนุกรมวิธาน</u></strong>\n</div>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<strong>การจำแนกสิ่งมีชีวิต</strong><br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong>1. ลักษณะภายนอกและโครงสร้างภายในของร่างกาย</strong> เป็นลักษณะที่ใช้ในการแบ่งกลุ่มใหญ่ๆเท่านั้น ในการแบ่งกลุ่มที่ย่อยๆลงไปจะใช้ลักษณะอื่นๆประกอบ <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong>2. แบบแผนของการเจริญเติบโตและโครงสร้างที่เกิดขึ้นในระยะที่เป็นตัวอ่อน</strong> โดยใช้หลักที่ว่า สิ่งมีชีวิตใดที่มีลักษณะของตัวอ่อนคล้ายคลึงหรือมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก ย่อมมีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายและวิวัฒนาการมากด้วย<br />\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /> <strong>3. ซากดึกดำบรรพ์</strong> ซึ่งอาศัยหลักที่ว่าสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการ ดังนั้นสิ่งมีชีวิตใดที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันย่อมมีซากดึกดำบรรพ์ที่พบในชั้นหินต่างๆคล้ายคลึงกันและอาจทำให้ทราบถึงบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ <br />\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /> <strong>4. โครงสร้างของเซลล์และออร์แกเนล</strong> เป็นการศึกษาในระดับเซลล์และส่วนประกอบของเซลล์ เช่นการแบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นพวกที่ไม่เป็นเซลล์ เช่น ไวรัส และพวกที่เป็นเซลล์เช่นสิ่งมีชีวิตทั่วไป<br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><strong>5. สรีรวิทยาและการสังเคราะห์สารเคมี <br />\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />6. ลักษณะทางพันธุกรรม</strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><u>ลำดับขั้นในการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต</u> (Taxonomic category)</strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />เรียงลำดับจากใหญ่ไปเล็ก ได้ดังนี้\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />อาณาจักร์ (kingdom) <br />\n   <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />     <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />ไฟลัม (phylum)/ ดิวิชั่น (division) <br />\n       <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />     <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />  คลาส (class) <br />\n         <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />            ออร์เดอร์ (order) <br />\n       <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /> <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />                    แฟมิลี่ (family) <br />\n              <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />      <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />               จีนัส (genus) <br />\n            <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />                              สปีชีส์ (species)</strong> \n</p>\n<p align=\"left\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19289/Untitled-1.gif\" style=\"width: 32px; height: 12px\" height=\"15\" width=\"75\" />ในแต่ละระดับขั้นของการแบ่งนี้ อาจมีระดับการแบ่งที่แทรกอยู่ในแต่ละระดับชั้น โดยใช้คำว่า<strong> &quot;sub&quot;</strong> แทรกอยู่ เช่น subphylum subclass เป็นต้น\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/41856\">ความหลากหลายทางชีวภาพ</a></strong> \n</p>\n<p align=\"center\">\n <strong><span style=\"color: #810081\"><a href=\"/node/41856?page=0%2C4\"><u><span style=\"color: #810081\">อาณาจักร 5 อาณาจักร</span></u></a></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/41856?page=0%2C2\"><span style=\"color: #810081\"><u><span style=\"color: #0000ff\">วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต</span></u></span></a></strong>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/41856?page=0%2C3\"><span style=\"color: #810081\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ธรณีกาลการเกิดขึ้นของสิ่งมีชีวิตบนโลก</span></u></span></a></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/51356\" title=\"ขอบคุณผู้เข้าชมทุกท่านค่ะ\"><span style=\"color: #810081\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ผู้จัดทำ</span></u></span></a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\nที่มา :  <a href=\"http://dit.dru.ac.th/biology/taxonomy.html\">http://dit.dru.ac.th/biology/taxonomy.html</a>\n</p>\n<hr id=\"null\" />\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>', created = 1715471313, expire = 1715557713, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fac08683311a100e9becbaee3f149d6d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความหลากหลายทางชีวภาพ


  
อนุกรมวิธาน


การจำแนกสิ่งมีชีวิต
 1. ลักษณะภายนอกและโครงสร้างภายในของร่างกาย เป็นลักษณะที่ใช้ในการแบ่งกลุ่มใหญ่ๆเท่านั้น ในการแบ่งกลุ่มที่ย่อยๆลงไปจะใช้ลักษณะอื่นๆประกอบ 
 2. แบบแผนของการเจริญเติบโตและโครงสร้างที่เกิดขึ้นในระยะที่เป็นตัวอ่อน โดยใช้หลักที่ว่า สิ่งมีชีวิตใดที่มีลักษณะของตัวอ่อนคล้ายคลึงหรือมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก ย่อมมีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายและวิวัฒนาการมากด้วย
 3. ซากดึกดำบรรพ์ ซึ่งอาศัยหลักที่ว่าสิ่งมีชีวิตมีวิวัฒนาการ ดังนั้นสิ่งมีชีวิตใดที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันย่อมมีซากดึกดำบรรพ์ที่พบในชั้นหินต่างๆคล้ายคลึงกันและอาจทำให้ทราบถึงบรรพบุรุษของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ
 4. โครงสร้างของเซลล์และออร์แกเนล เป็นการศึกษาในระดับเซลล์และส่วนประกอบของเซลล์ เช่นการแบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็นพวกที่ไม่เป็นเซลล์ เช่น ไวรัส และพวกที่เป็นเซลล์เช่นสิ่งมีชีวิตทั่วไป
 5. สรีรวิทยาและการสังเคราะห์สารเคมี 
 6. ลักษณะทางพันธุกรรม

ลำดับขั้นในการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต (Taxonomic category)

 เรียงลำดับจากใหญ่ไปเล็ก ได้ดังนี้

อาณาจักร์ (kingdom) 
        ไฟลัม (phylum)/ ดิวิชั่น (division) 
              คลาส (class) 
                     ออร์เดอร์ (order) 
                            แฟมิลี่ (family) 
                                   จีนัส (genus) 
                                          สปีชีส์ (species)
 

 ในแต่ละระดับขั้นของการแบ่งนี้ อาจมีระดับการแบ่งที่แทรกอยู่ในแต่ละระดับชั้น โดยใช้คำว่า "sub" แทรกอยู่ เช่น subphylum subclass เป็นต้น


ความหลากหลายทางชีวภาพ 

 อาณาจักร 5 อาณาจักร

วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต  

ธรณีกาลการเกิดขึ้นของสิ่งมีชีวิตบนโลก

ผู้จัดทำ


ที่มา :  http://dit.dru.ac.th/biology/taxonomy.html


 

 

สร้างโดย: 
นางสาว ชิดชนก รักษ์ถาววรวงศ์ ; อาจารย์ที่ปรึกษา : นาย สมบูรณ์ กมลาสนางกูร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 316 คน กำลังออนไลน์