• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ef8c41168e4014720102783fc6dbdb0c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"432\" src=\"/files/u18897/_copy_3.jpg\" height=\"144\" /> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">    สิ่งที่ต้องรู้เพื่อมเติมต่อไปก็คือ คำนามหลักเพราะคำนามหลักจะเป็นตัวบอกของความหมายสำคัญในข้อความนั้นๆ ถ้าหากเรารู้คำนามหลักแล้ว ไม่ว่าเราจะเจอในรูปแบบใด เราก็สามารถเข้าใจความหมายของสิ่งที่กำลังอ่านได้โดยไม่ต้องรู้ศัพท์ทุกตัว คำขยายนามนั้นพอแบ่งออกให้เห็นได้ชัดเจนดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><strong>1. คำนำหน้านามประเภท</strong></span> <img border=\"0\" width=\"39\" src=\"/files/u18897/kiss1.gif\" height=\"34\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong>A.</strong> พวก <strong>a, an, the</strong> ซึ่งแน่นอนต้องนำหน้าคำนามอยู่แล้ว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">a war the data </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">an ethnography the effect </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong>B.</strong> คำชี้เฉพาะเจาะจงเช่น <strong>this, that, these, those <img border=\"0\" width=\"48\" src=\"/files/u18897/38636.gif\" height=\"48\" /></strong> เช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">this belief that part </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">these societies those theories </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #3366ff\"><strong>C.</strong> คำคุณศัพท์ เช่น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">- คำคุณศัพท์แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น my, his, her, your, its, their, our ประเภทนี้แหละเช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">his fieldwork our understanding </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">- คำคุณศัพท์ล้วนๆ ที่บรรยายว่าคำนามนั้นเป็นอย่างไร เช่น ดี เลว ดำ ขาว เก่า ใหม่และอีกมากมาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">good ethnography new data </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">- คำคุณศัพท์แสดงขั้นกว่า ขั้นสุด เช่น พวก -er, more...than, -est, the most เช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">better research older age groups </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">- คำนามที่มาทำหน้าที่ขยายนามด้วยกันซึ่งเรารู้จักกันนามว่านามขยายนาม เช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">sex bias อคติทางเพศ female personality บุคลิกแบบผู้หญิง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #3366ff\"><strong>D.</strong> คำแสดงจำนวน เช่น ทั้งหมด บ้าง มาก เช่น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">all anthropologists much fieldwork </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #3366ff\"><strong>E.</strong> คำวิเศษณ์ที่ทำหน้าที่ขยายคำคุณศัพท์ ซึ่งสามารถสังเกตได้จากคำว่า -ly เป็นส่วนใหญ่ เช่น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">completely objective study  <img border=\"0\" width=\"21\" src=\"/files/u18897/hana2-2-1.gif\" height=\"16\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">ตัวอย่างเพิ่มเติม เมื่อรู้คำนามหลักแล้ว จากนั้น เราก็ไล่เรียงจากคำนามหลักไปก่อนเป็นอันดับแรก ไล่เรื่อยไปจนถึงตัวขยายต่างๆ แล้วเราจะพบว่าความหมายหลักของมันอยู่ตรงไหน เช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">a male-oriented view คำนามหลักคือ view เราก็จะทราบว่า มุมมองที่มุ่งไปทางผู้ชายเป็นสำคัญ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\">in relatively isolated and integrated social systems คำนามหลักคือ systems เราก็จะทราบว่า ระบบที่นวามกันเป็นหนึ่งและแยกแยกกัน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><a href=\"/node/41746\" title=\"HOME\"></a></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"560\" src=\"/files/u18897/barra.gif\" height=\"25\" style=\"width: 395px; height: 15px\" />  <img border=\"0\" width=\"90\" src=\"/files/u18897/bc3.gif\" height=\"90\" style=\"width: 82px; height: 69px\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><a href=\"/node/41746\" title=\"HOME\"></a></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"380\" src=\"/files/u18897/ist2_5573909-splash-home-icon_copy.jpg\" height=\"333\" style=\"width: 83px; height: 71px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1715875370, expire = 1715961770, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ef8c41168e4014720102783fc6dbdb0c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้างขยาย

 

    สิ่งที่ต้องรู้เพื่อมเติมต่อไปก็คือ คำนามหลักเพราะคำนามหลักจะเป็นตัวบอกของความหมายสำคัญในข้อความนั้นๆ ถ้าหากเรารู้คำนามหลักแล้ว ไม่ว่าเราจะเจอในรูปแบบใด เราก็สามารถเข้าใจความหมายของสิ่งที่กำลังอ่านได้โดยไม่ต้องรู้ศัพท์ทุกตัว คำขยายนามนั้นพอแบ่งออกให้เห็นได้ชัดเจนดังนี้

1. คำนำหน้านามประเภท

A. พวก a, an, the ซึ่งแน่นอนต้องนำหน้าคำนามอยู่แล้ว

a war the data

an ethnography the effect

B. คำชี้เฉพาะเจาะจงเช่น this, that, these, those  เช่น

this belief that part

these societies those theories

C. คำคุณศัพท์ เช่น

- คำคุณศัพท์แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น my, his, her, your, its, their, our ประเภทนี้แหละเช่น

his fieldwork our understanding

- คำคุณศัพท์ล้วนๆ ที่บรรยายว่าคำนามนั้นเป็นอย่างไร เช่น ดี เลว ดำ ขาว เก่า ใหม่และอีกมากมาย

good ethnography new data

- คำคุณศัพท์แสดงขั้นกว่า ขั้นสุด เช่น พวก -er, more...than, -est, the most เช่น

better research older age groups

- คำนามที่มาทำหน้าที่ขยายนามด้วยกันซึ่งเรารู้จักกันนามว่านามขยายนาม เช่น

sex bias อคติทางเพศ female personality บุคลิกแบบผู้หญิง

D. คำแสดงจำนวน เช่น ทั้งหมด บ้าง มาก เช่น

all anthropologists much fieldwork

E. คำวิเศษณ์ที่ทำหน้าที่ขยายคำคุณศัพท์ ซึ่งสามารถสังเกตได้จากคำว่า -ly เป็นส่วนใหญ่ เช่น

completely objective study 

ตัวอย่างเพิ่มเติม เมื่อรู้คำนามหลักแล้ว จากนั้น เราก็ไล่เรียงจากคำนามหลักไปก่อนเป็นอันดับแรก ไล่เรื่อยไปจนถึงตัวขยายต่างๆ แล้วเราจะพบว่าความหมายหลักของมันอยู่ตรงไหน เช่น

a male-oriented view คำนามหลักคือ view เราก็จะทราบว่า มุมมองที่มุ่งไปทางผู้ชายเป็นสำคัญ

in relatively isolated and integrated social systems คำนามหลักคือ systems เราก็จะทราบว่า ระบบที่นวามกันเป็นหนึ่งและแยกแยกกัน

 

สร้างโดย: 
นางสาววีรวรรณ ทวีคงศักดิ์สกุล ร่วมกับ อาจารย์วีณา รัตนสุมาวงศ์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 284 คน กำลังออนไลน์