• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('สมุนไพรพื้นบ้าน', 'node/48971', '', '3.144.10.130', 0, 'd486784e251965f0b54432a5fce34180', 131, 1716095283) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e118c785836351b8c1e8968e7e665122' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><blockquote><blockquote><p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><strong>                                  </strong><img border=\"0\" width=\"505\" src=\"/files/u18783/wel.gif\" height=\"169\" /> </span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><strong><img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u18783/111.gif\" height=\"225\" /></strong> </span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <strong><span style=\"color: #000000\"></span></strong>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"> <span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff00ff\">   </span><span style=\"color: #ff6600\">*********** </span></span></span></strong><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff9900\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\">มะเร็งตับอ่อน*********</span></span></strong></span> </span></span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #ff9900\"></span></p>\n<p>\n <br />\n <span style=\"color: #000000\">                            เป็นมะเร็งที่พบได้ไม่บ่อยนัก แต่ เนื่องจาก ตับอ่อนเป็นอวัยวะที่อยู่หลัง เยื่อบุช่องท้อง การตรวจวินิจฉัยค่อน ข้างยาก และอาการจะปรากฎเมื่อ มะเร็งมักจะลุกลามมากแล้ว </span>\n </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #000000\"><img border=\"0\" width=\"256\" src=\"/files/u18783/pancreas_2.jpg\" height=\"192\" /> </span>\n </div>\n<p align=\"center\">\n <strong><span style=\"color: #000000\">ที่มาของรูป<br />\n </span><a href=\"http://www.nci.go.th/Knowledge/tubaon.html\"><span style=\"color: #000000\">http://www.nci.go.th/Knowledge/tubaon.html</span></a></strong><span style=\"color: #000000\"> </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">               <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue out\" title=\"Tongue out\" />นักวิจัยทำการศึกษาและเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลาถึง 6 ปีจากประชาชนทั้งหมดประมาณ 500,000 คน เพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งตับอ่อนนอกเหนือจากการสูบบุหรี่ (การสูบบุหรี่คือปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของการเกิดโรคมะเร็งตับอ่อน)ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่รับประทานอาหารประเภทไขมันอิ่มตัว (พบมากในอาหารประเภทเนื้อแดง นม) เป็นประจำนั้น ส่งผลให้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคมะเร็งตับอ่อนมากกว่าในกลุ่มที่รับประทานอาหารประเภทนี้น้อยๆอยากห่างไกลจากโรคมะเร็งตับอ่อน ทำได้ง่ายๆ เพียงแค่ไม่สูบบุหรี่ ควบคู่กับการรับประทานผัก ผลไม้และอาหารที่มีกากใยสูง ลดการรับประทานอาหารประเภทเนื้อแดง อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ รวมทั้งละหรือเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพียงเท่านี้ชีวิตคุณก็จะห่างไกลจากโรคมะเร็งตับอ่อนแล้ว</span></p>\n<p>                <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-money-mouth.gif\" alt=\"Money mouth\" title=\"Money mouth\" />มะเร็งตับอ่อน เป็นมะเร็งที่มีความรุนแรงมากชนิดหนึ่ง แต่เป็นมะเร็งที่ไม่ค่อยพบบ่อยนักเป็นมะเร็งของผู้ใหญ่เกิดในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง \n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"></span><strong><u></u></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <span style=\"color: #000000\"><img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u18783/1234.jpg\" height=\"288\" /> </span>\n </div>\n<p> \n </p>\n<p> <strong><u><br />\n </u><span style=\"color: #000000\">                                                                               </span><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"> ที่มาของรูป<br />\n </span></span></strong><strong><span style=\"color: #000000\">                                               </span><a href=\"http://www.thaitravelhealth.com/blog/โรคมะเร็งตับอ่อน/\"><span style=\"color: #000000\">http://www.thaitravelhealth.com/blog/โรคมะเร็งตับอ่อน/</span></a></strong><span style=\"color: #000000\"> </span></p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><strong>             <span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">  โรคมะเร็งตับอ่อน</span></span></strong> โรคนี้เกิดจากกการที่เกิดเนื้อมะเร็งที่ตับอ่อน ซึ่งอยู่ด้านหลังของช่องท้อง ซึ่งถือว่าเป็นเนื้อมะเร็งที่หาเจอได้ยากที่สุดชนิดหนึ่ง พบมากในบรรดาผู้ชายที่มีอายุประมาณ 50-70 ปี ที่ชอบรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง เมื่อตับอ่อนทำงานหนักก็จะเกิดการหลั่งน้ำย่อย และฮอร์โมนออกมา ซึ่งโอกาสเกิดมะเร็งในตับอ่อนได้มากขึ้น ก็เป็นเนื่องจากการไหลออกมามากของน้ำย่อยจนทำให้เกิดมะเร็งขึ้นที่บริเวณ Pancreatic Duct อาการปวดท้อง หรือแน่นท้อง หรืออาการปวดหลังนั้นเป็นเพราะเนื้อมะเร็งเริ่มเจริญเติบโตขึ้นทำให้น้ำย่อยอุดตัน สะสมอยู่ในตับอ่อนเป็นผลทำให้ตับอ่อนบวมขึ้น </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">             <span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #000000\"> <strong> <span style=\"color: #ff6600\">ตับอ่อน (pancreas)</span></strong></span></span> เป็นอวัยวะที่ยาวประมาณ 6 นิ้ว วางทอดขวางหน้ากระดูกสันหลัง และอยู่หลังกระเพาะอาหาร รูปร่างของมันคล้ายปลาดุก ส่วนหัวอยู่ทางด้านขวาของเจ้าของ ทอดอยู่ในอ้อมกอดของลำไส้เล็กส่วนต้นที่เรียกว่า ดูโอดีนัม (duodenum) ส่วนหางอยู่ทางซ้ายจ่อติดกับม้าม (spleen) ตรงกลางมีหลอดเลือดใหญ่ทอดผ่านหลายหลอด (ทำให้การผ่าตัดยาก) ตับอ่อนทำหน้าที่สร้างน้ำย่อยอาหาร และสร้างฮอร์โมนอินซูลินและกลูคากอนซึ่งช่วยให้ร่างกายสามารถใช้น้ำตาลใน ร่างกายได้เป็นปกติ มะเร็งตับอ่อนส่วนมาก (90%) เกิดจากเซลล์ที่หลั่งน้ำย่อย </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">               เนื่องจากตับอ่อนถูกห้อมล้อมไปด้วยอวัยวะอื่นๆ เช่นกระเพาะอาหาร เป็นต้น แพทย์ตรวจร่างกายทั่วไปก็สามารถเห็นถึงความผิดปกตินี้ได้ยาก และอาการสุดท้าย การปัสสาวะที่มีสีเข้มเหมือนสีช็อกโกแล็ต และใบหน้าเปลี่ยนเป็นสีเหลือง สาเหตุเป็นเพราะ เนื้อมะเร็งได้เจริญเติบโตขึ้นจนไปปิดกั้นทางเดินน้ำดีที่ไหลผ่านตับอ่อน ทำให้น้ำดีไหลย้อนกลับไปนอกท่อ แล้วหลั่งไปทั่วร่างกาย </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">               โรคมะเร็งตับอ่อนนี้เป็นโรคที่พัฒนาไปอย่างช้าๆ ดังนั้นกว่าจะพบว่าเป็นโรคนี้ ส่วนใหญ่ก็สายไปเสียแล้ว<br />\n ถ้าสงสัยว่าจะเป็นมะเร็งตับอ่อนหรือไม่ แพทย์มีวิธีการตรวจหาหรือยืนยันได้หลายวิธี รวมทั้งวิธีต่างๆ ที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ แต่อาจจะไม่จำเป็นต้องทำหมดทุกอย่างขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของแพทย์<br />\n • การซักประวัติตรวจร่างกาย เป็นสิ่งชี้นำในการตรวจขั้นตอนต่อไป ถ้าเป็นมะเร็งในระยะเริ่มแรกมักจะตรวจไม่พบสิ่งผิดปกติ หรือคลำได้ก้อน </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">• ฉายภาพรังสีปอด เพื่อดูว่ามีมะเร็งแพร่กระจายมายังปอดแล้วหรือยัง ถ้าแพร่มาแล้วก็เป็นสิ่งที่ไม่ดี </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">• ซีทีสแกน (CT scan) เป็นเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ถ่ายกวาดให้เห็นภาพตัดตามขวางของส่วน ต่างๆ ในร่างกาย ถ้ามีมะเร็งตับอ่อนส่วนมากจะเห็นได้จากซีทีสแกนนี้ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">• เอ็มอาร์ไอ (MRI) เป็นการถ่ายภาพคอมพิวเตอร์อีกชนิดหนึ่งที่ไม่อาศัยรังสีเอกซ์แต่อาศัยคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า ทำให้เห็นภาพถ่ายกวาดของอวัยวะภายใน สามารถตรวจพบมะเร็งตับอ่อนได้ ในบางกรณีจะช่วยเสริมข้อมูลบางอย่างที่ ซีที มองไม่เห็น </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">• เพ็ตสแกน (PET scan)(positron emission tomography scan) เป็นเครื่องที่ใช้ตรวจหาเซลล์มะเร็ง โดยอาศัยหลักการที่มะเร็งจับเอาสารกลูโคสที่ติดฉลากด้วยกัมมันตภาพรังสี ทำให้เครื่องตรวจกวาดเห็นได้ ในบางกรณีต้องใช้เครื่องนี้ช่วย โดยเฉพาะในรายที่ต้องการรู้ว่ามะเร็งแพร่กระจายไปแล้วหรือยัง </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">• การส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบน แล้วตรวจด้วยอัลตราซาวน์บริเวณตับอ่อน (endoscopic ultrasound = EUS) ทำให้สามารถเห็นภาพมะเร็งตับอ่อนและต่อมน้ำเหลืองรอบตับอ่อนว่ามีมะเร็งแพร่ กระจายไปถึงหรือยัง </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">• การส่องกล้องตรวจภายในช่องท้อง (laparoscopy) เป็นการตรวจหามะเร็งและตัดชิ้นเนื้อตรวจ และเพื่อดูว่ามะเร็งที่ตรวจพบโดยวิธีอื่นแล้วนั้นมันแพร่กระจายไปในช่องท้อง แล้วหรือไม่ ถ้าแพร่กระจายแล้วแสดงว่าการผ่าตัดซึ่งเป็นวิธีรักษาให้หายขาดใช้ไม่ได้แล้ว ขืนทำไปคนไข้จะได้รับความเสี่ยงโดยได้ประโยชน์ไม่คุ้มเสีย </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">• การส่องกล้องตรวจและฉีดสีเอกซเรย์ท่อน้ำดีและท่อตับอ่อน (endoscopic retrograde cholangiopancreatography หรือย่อว่า ERCP) วิธีนี้ทำให้สามารถบอกได้ว่ามีมะเร็งที่หัวตับอ่อนหรือตัวตับอ่อนหรือไม่ สามารถตัดชิ้นเนื้อเอาไปตรวจยืนยันมะเร็งทางพยาธิสภาพ และถ้ามีการอุดตันของท่อน้ำดีจากมะเร็ง คนส่องกล้องก็สามารถสอดใส่หลอดตะแกรงโลหะ(stent) เพื่อค้ำจุนเปิดท่อไม่ให้ตีบตัน เป็นการรักษาแบบทุเลาอาการดีซ่านในกรณีคนที่ไม่สามารถผ่าตัดรักษาให้หายขาด ได้แล้ว </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">• การตรวจโดยการแทงเข็มผ่านผิวหนังเข้าตับเพื่อฉีดสารทึบรังสี แล้วเอกซเรย์ดูภาพท่อน้ำดี (percutaneous transhepatic cholangiography หรือย่อว่า PTC) ถ้าตรวจพบว่ามีการอุดตันของท่อน้ำดีก็จะช่วยการวินิจฉัยและสามารถใส่ stent บรรเทาการอุดตันซึ่งทำให้เกิดอาการดีซ่านด้วย ในบางกรณีถ้าใส่ stent ไม่ได้เขาก็ใส่ท่อระบายน้ำดีออกสู่ภายนอก การตรวจอย่างนี้จะทำก็ต่อเมื่อการทำ ERCP ทำไม่ได้แล้ว </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">• การตัดชิ้นเนื้อไปตรวจทางพยาธิสภาพ เป็นสิ่งจำเป็นในการวินิจฉัยโรคที่แน่นอนว่าก้อนเนื้องอกในตับอ่อนเป็น มะเร็ง(เนื้อร้าย) หรือเนื้องอกชนิดไม่ร้าย การตัดชิ้นเนื้ออาจจะทำได้หลายวิธี เช่น การแทงเข็มเล็กๆ ผ่านช่องท้องภายใต้การนำวิถีโดยอัลตราซาวน์หรือเอกซเรย์ การตัดชิ้นเนื้อโดยการส่องกล้องในทางเดินอาหารส่วนต้นร่วมกับการทำอัลตรา ซาวน์ หรือโดยการส่องภายในช่องท้องแล้วตัดชิ้นเนื้อ<br />\n  <br />\n                <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-sealed.gif\" alt=\"Sealed\" title=\"Sealed\" /><strong><span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">มะเร็งตับอ่อนพบในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ในปี พ.ศ. 2543-2544</span></span> </strong>ประมาณปีละ 10-17 ราย(1) ผู้ป่วยมะเร็งตับอ่อน มักมาพบแพทย์ เมื่อมีก้อนมะเร็งขนาดใหญ่ เนื่องจากอาการในระยะแรกมักไม่จำเพาะ เช่น ปวดท้อง ประกอบกับแพทย์ผู้ดูแลเบื้องต้นอาจไม่ได้ส่งเอกซเรย์ หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ บางกรณีผู้ป่วยอาจไม่มีอาการเลย จนกระทั่งเป็นมากแล้ว จึงจะแสดงอาการ อาทิ ปวดท้อง เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ตัวเหลือง  ตาเหลือง อาการปวดท้องมีลักษณะเหมือนถูกมีดแทงบริเวณลิ้นปี่และปวดร้าวไปข้างหลัง<br />\n                ผู้ป่วยเพียง 5-22% เท่านั้นที่ก้อนมะเร็งอยู่ในระยะที่ผ่าตัดได้(2,3,4) การรักษาหลักของมะเร็งตับอ่อน ส่วนหัวคือ การผ่าตัดแบบ Whipple ซึ่งพบอัตราการรอดชีวิตที่ 5 ปี (5-year survival rate) ประมาณ 4-24%(5,6) และมัธยฐานเวลาการรอดชีวิต <br />\n ( median survival rate) ประมาณ 15-19 เดือน(7) อัตราการกำเริบเฉพาะที่ (local recurrent rate) และการแพร่กระจาย <br />\n ( distant metastasis rate ) สูง ผู้ป่วย 80-85% อยู่ในระยะที่ ไม่สามารถผ่าตัดก้อนมะเร็งออกได้การทำการผ่าตัดเพื่อระบายน้ำดี<br />\n สามารถช่วยประคับประคองผู้ป่วยและลดอาการของภาวะตับวาย การทำ celiac block สามารถป้องกันอาการปวดซึ่งอาจจะเกิดได้<br />\n ในอนาคตผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะเสียชีวิตใน 1 ปี และหากไม่ได้รับการรักษาจะมีมัธยฐานเวลาการรอดชีวิตเพียง 3-6 เดือน</span></p>\n<p> <strong><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-money-mouth.gif\" alt=\"Money mouth\" title=\"Money mouth\" /><span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">กายวิภาค</span></span></strong><br />\n         ตับอ่อนเป็นอวัยวะซึ่งอยู่หลังเยื่อบุช่องท้อง ( retroperitoneum ) ในระดับเดียวกับกระดูกสันหลัง L1-L2 และถูกห้อมล้อมด้วย<br />\n อวัยวะต่างๆ ซึ่งไวต่อรังสี ได้แก่ กระเพาะอาหาร ตับ ไต ม้าม และลำไส้เล็ก ตามรูปที่ 1 ตับอ่อนประกอบด้วย 4 ส่วน คือ ส่วนหัว, ส่วนคอ, ส่วนลำตัวและส่วนหาง โดยส่วนหางจะชี้ไปทางขั้วม้าม ในขณะที่ส่วนหัวอยู่บริเวณหน้าและด้านข้างของ superior mesenteric artery และมี uncinate process โอบไปทางด้านหลังของเส้นเลือดเส้นนี้ ด้านหน้าของตับอ่อนถูกปกคลุมด้วยเยื่อบุช่องท้อง แต่ด้านหลังของ ตับอ่อนอยู่ติดกับ preaortic soft tissue, superior mesenteric artery และ splenic vein ก้อนมะเร็งที่โตขึ้น จึงมักจะขยายไปทางด้านหลัง และลุกลามไปยังเส้นเลือดดังกล่าว ตลอดจน portal vein และ celiac artery ซึ่งการลุกลามไปยังเส้นเลือดนี้เอง ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้<br />\n <strong>                      <span style=\"color: #ff6600\">     <span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"> <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-money-mouth.gif\" alt=\"Money mouth\" title=\"Money mouth\" />สำหรับศัลยแพทย์ว่าจะสามารถผ่าตัดได้หรือไม่ (resectability)</span></span></strong><br />\n         ทางเดินน้ำเหลืองของตับอ่อนผ่านทางต่อมน้ำเหลือง pancreaticoduodenal, suprapancreatic, pyloric และ pancreatiocosplenicซึ่งทั้งหมดนี้จะนำไปสู่ต่อมน้ำเหลือง celiac และ superior mesenteric สำหรับต่อมน้ำเหลืองบริเวณ porta hepatis มักพบในรายที่เป็น<br />\n มะเร็งระยะเป็นมากเฉพาะที่ ( locally advanced disease )<br />\n         ก้อนมะเร็งที่ส่วนหัวของตับอ่อน สามารถกดทางเดินน้ำดี ( common bile duct ) และ pancreatic duct หรือลุกลามบริเวณรูเปิดAmpulla of vater ซึ่งทำให้เกิดอาการตัวเหลือง ตาเหลือง หรือเกิด exocrine pancreatic insufficiency ได้<br />\n รูปที่ 1 แสดงกายวิภาคของมะเร็งตับอ่อนและอวัยวะข้างเคียง \n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"> <img border=\"0\" width=\"565\" src=\"/files/u18783/R43_0.jpg\" height=\"451\" /> </span>\n </p>\n<p>\n <br />\n <span style=\"color: #000000\"><strong>                                                                 ที่มาของรูป<br />\n </strong>                                   </span><a href=\"http://www.chulacancer.net/p0000617.html\"><strong><span style=\"color: #000000\">http://www.chulacancer.net/p0000617.html</span></strong></a><br />\n <span style=\"color: #000000\">               เส้นประสาทที่เลี้ยงบริเวณตับอ่อน ได้แก่ vagus และ splanchnic nerve ซึ่งออกมาจาก celiac และ superior mesenteric plexusหากก้อนมะเร็งลุกลามมาบริเวณปมประสาทนี้สามารถทำให้เกิดอาการปวดแบบ sharp pain ซึ่งร้าวไปที่หลังได้ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><strong><span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-money-mouth.gif\" alt=\"Money mouth\" title=\"Money mouth\" />การวินิจฉัย<br />\n </span></span></strong>        การประเมินผู้ป่วยและลักษณะก้อนมะเร็งมีเป้าหมายเพื่อให้ทราบว่าจะสามารถผ่าตัดก้อนมะเร็งได้หรือไม่ นอกจากนี้การพิสูจน์ผล<br />\n ชิ้นเนื้อและการประเมินภาวะทางเดินน้ำดีอุดตันยังเป็นสิ่งจำเป็นในการวางแผนการรักษาการใช้เทคโนโลยี ทาง Imaging ได้แก่การทำ<br />\n CT Scan โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำ helical CT และการฉีดสารทึบรังสีสามารถตรวจพบก้อนมะเร็งซึ่งมีขนาดเล็ก ๆ ได้และยังสามารถ<br />\n บอกว่าก้อนมะเร็งติดหรือลุกลามเข้าไปในหลอดเลือดหรือไม่<br />\n         การใช้ CT-guided fine-needle aspiration (FNA) สามารถช่วยในการพิสูจน์เซลล์มะเร็งได้ แต่วิธีการนี้ต้องอาศัยความชำนาญ<br />\n ของแพทย์ทางรังสีร่วมรักษา (interventional radiologist)<br />\n         การพิสูจน์ชิ้นเนื้อที่มีประสิทธิภาพคือการตัดชิ้นเนื้อผ่าน endoscope (ERCP-endoscopic retrograde <br />\n cholangiopancreaticography) วิธีนี้ยังสามารถช่วยให้ได้ภาพทางรังสี ซึ่งแสดงถึงการอุดตันของท่อน้ำดี และท่อตับอ่อน และช่วยในการรักษาแบบประคับประคองโดยการใส่ endobiliary stent เพื่อลดอาการดีซ่าน ปัจจุบันมีการใช้ endoscopic ultrasound และการใช้<br />\n endoscopic ultrasound-directed FNA เพื่อทำให้การวินิจฉัยแม่นยำขึ้น<br />\n         MRI มีบทบาทในมะเร็งตับอ่อนน้อยกว่า CT scan แต่มีข้อได้เปรียบคือ สามารถทำ MR cholangiography เพื่อช่วยในการดู<br />\n ทางเดินน้ำดีได้โดยไม่ต้องทำ ERCP แต่ข้อเสียคือใช้เวลาในการทำ (image acquisition) ค่อนข้างนาน<br />\n         หาก Imaging ไม่สามารถบอกได้ชัดเจนว่าก้อนมะเร็งอยู่ในระยะผ่าตัดได้หรือไม่ การทำ laparoscope หรือทำ laparotomy เลย<br />\n เป็นสิ่งที่ช่วยดูก้อนมะเร็งได้ดีที่สุด <br />\n การจำแนกทางพยาธิวิทยา (Pathological classification)<br />\n         -    ลักษณะทางพยาธิวิทยาสามารถจำแนกมะเร็งตับอ่อนได้ดังนี้<br />\n         1.    Malignant<br />\n                 1.1    Duct cell carcinoma พบประมาณ 90% ของผู้ป่วยทั้งหมด<br />\n                 1.2    Acinar cell carcinoma<br />\n                 1.3    Papillary mucinous carcinoma<br />\n                 1.4    Signet ring carcinoma<br />\n                 1.5    Adenosquamous carcinoma<br />\n                 1.6    Undifferentiated carcinoma<br />\n                 1.7    Mucinous carcinoma<br />\n                 1.8    Giant cell carcinoma<br />\n                 1.9    Mixed type (ductal-endocrine or acinar-endoerine)<br />\n                 1.10  Small cell carcinoma<br />\n                 1.11  Cystadenocarcinoma (serous and mucinous types)<br />\n                 1.12  Unclassified<br />\n                 1.13  Pancreatoblastoma                                                                   <br />\n                 1.14  Papillary-cystic neoplasm<br />\n         2.    Borderline malignancies<br />\n                 2.1    Mucinous cystic tumor with dysplasia<br />\n                 2.2    Intraductal papillary mucinous tumor with dysplasia<br />\n                 2.3    Pseudopapillary solid tumor </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><strong>                                                    <span style=\"color: #ff6600\">                <span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\">     <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />อุบัติการณ์</span></span></strong> <br />\n                 การเกิดมะเร็งตับอ่อนในประเทศไทย พบว่า มีประมาณ 1 % ของมะเร็งทางเดินอาหาร พบมากในเพศชายมากกว่าเพศหญิงประมาณ 4 เท่า อายุที่พบเฉลี่ย 40-70 ปี</span></p>\n<p> <strong>                                                    <span style=\"color: #ff6600\">        <span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\">      <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ตำแหน่งของมะเร็ง</span></span></strong> <br />\n                ตับอ่อนเป็นต่อมที่ทำหน้าที่ผลิตอินซูลินและฮอร์โมนต่างๆ รวมไปถึงเอนไซม์ย่อยต่างๆ <br />\n มะเร็งตับอ่อนนั้นพัฒนาขึ้นจากท่อ ที่เป็นทางเดินของน้ำย่อย โดยตับอ่อนจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือส่วนบน, <br />\n ส่วนกลางและส่วนท้าย มะเร็งชนิดนี้สามารถแพร่กระจายจากต่อมน้ำเหลืองเข้าสู่ตับ, ปอด, เยื่อบุช่องท้อง <br />\n พบผู้เป็นมะเร็งชนิดนี้ในสหรัฐอเมริกา ประมาณ 32,000 คนต่อปี โดยมักจะรักษาได้ยาก เนื่องจากพบมะเร็งเมื่อสายเกินไป <br />\n มะเร็งจึงลุกลามยากที่จะผ่าตัดได้ </p>\n<p>                                         <span style=\"color: #ff6600\">              <span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #000000\"> <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" /><strong>ปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งตับอ่อน</strong></span></span></span><br />\n - อาหารบางประเภทเช่น น้ำตาล, กาแฟ<br />\n - การสูบบุหรี่, การเป็นโรคเบาหวาน, การเป็นโรคตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง<br />\n - ผู้ชายมีความเสี่ยงมากกว่าผู้หญิงในอัตรา 2 ต่อ 1 อายุเฉลี่ยที่พบคือ 65 ปี <br />\n   โดยเป็นชาวแอฟริกันอเมริกันมากกว่าชาวเอเชียหรือ <br />\n   ชนผิวขาว \n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"><strong>                              <span style=\"color: #ff6600\">                   <span style=\"background-color: #000000\">        </span><span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />สาเหตุของการเกิดมะเร็งตับอ่อน</span></span></strong><br />\n                ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของมะเร็งตับอ่อนแต่พบว่าอาจมีปัจจัยเสี่ยงได้ดังนี้<br />\n   1. ในคนที่สูบบุหรี่จัด มีปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งตับอ่อนมากกว่า  <br />\n   2. ในคนที่มีครอบครัวป่วยเป็นมะเร็งตับอ่อน มีโอกาสเป็นมะเร็งตับอ่อนได้สูงกว่า  <br />\n   3. ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน มีปัจจัยเสี่ยงสูงกว่า  </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">                                                   </span><span style=\"color: #ff6600\">        <span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\">  <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" /> </span></span><strong><span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">อาการและอาการแสดง</span></span><span style=\"color: #000000\"><br />\n                อาการของมะเร็งตับอ่อนเมื่อเริ่มเป็นมักไม่มีอาการต่อเมื่อก้อนมะเร็งโตมากขึ้นจะไปกดทับทางเดินน้ำดี ทำให้มีตัวเหลือง ตาเหลือง หรือ ปวดหลังได้ ซึ่งมักเป็นอาการที่พบได้ในโรคทั่วๆไป ไม่ใช่อาการเฉพาะของมะเร็งตับอ่อน<br />\n ถ้าโรครุนแรงมากขึ้น อาจมีอาการแน่นท้องจากมีน้ำในท้อง เบื่ออาหาร ผอมลง หรือมีอาการจากการที่โรคแพร่ไปยังอวัยวะอื่นๆ เช่น อาการปวดกระดูกจากการมีโรคแพร่ไปกระดูก เป็นต้น </span></strong>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">               </span><span style=\"color: #ff6600\">                                    <span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" /> </span></span><strong><span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">การตรวจเพื่อวินิจฉัยโรคและหาระยะของโรค</span></span><span style=\"color: #000000\"><br />\n                มะเร็งตับอ่อนเป็นมะเร็งที่วินิจฉัยโรคได้ยากแต่อย่างไรก็ตามจากการ ซักประวัติ อาการ อาการแสดง และการตรวจร่างกาย ถ้าแพทย์สงสัยว่าเป็นโรค ตับอ่อน มักจะทำการตรวจเพิ่มเติม โดยการทำอัลตราซาวด์ หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ดูพยาธิสภาพของตับอ่อน และตับเพราะมะเร็งตับอ่อนกระจายไปตับได้สูง และอาจมีการตรวจเลือดเพื่อตรวจสารที่เรียกว่า ซี อี เอ (CEA) หรือ ซี เอ 19-9 (CA 19-9) ถ้าภาพอัลตราซาวด์ หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ พบมีก้อนเนื้อของตับอ่อนแพทย์มักทำการผ่าตัดเพื่อเอาก้อนเนื้อออก เพื่อการรักษาและเพื่อนำก้อนเนื้อไปตรวจพิสูจน์ทางพยาธิวิทยา (การตัดชิ้นเนื้อจากตับอ่อนก่อนผ่าตัดเพื่อการพิสูจน์ทางการพยาธิวิทยาก่อนการผ่าตัด มักทำไม่ได้เพราะมีอันตรายค่อนข้างสูง) ว่าใช่มะเร็งตับอ่อนหรือไม่<br />\n ก่อนผ่าตัดแพทย์จะมีการตรวจเลือดเพิ่มเติม ตรวจปัสสาวะ และภาพเอกซเรย์ปอด เพื่อดูสภาพร่างกายผู้ป่วยและดูว่ามีโรคแพร่กระจายไปปอดและตับหรือยัง </span></strong>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">   </span><span style=\"color: #000000\"><strong>         <span style=\"color: #ff6600\">                                      <span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"> <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ระยะของโรคมะเร็งตับอ่อน  แบ่งได้เป็น 4 ระยะ ดังนี้</span></span>        <br />\n ระยะที่ 1</strong>  ก้อนมะเร็งลุกลามอยู่ในตับอ่อนหรืออาจเริ่มลุกลามเข้าลำไส้เล็กส่วนที่ อยู่ติดกัน <br />\n <strong>ระยะที่ 2</strong> มะเร็งลุกลามออกนอกตับอ่อนเข้ากระเพาะอาหารและ / หรือม้ามและ / หรือลำไส้ใหญ่ <br />\n <strong>ระยะที่ 3</strong> มะเร็งลุกลามกระจายไปต่อมน้ำเหลืองแล้ว <br />\n <strong>ระยะที่ 4</strong> มะเร็งลุกลามเข้ากระแสโลหิตแพร่ไปยังอวัยวะที่ไกลออกไปที่พบได้บ่อยคือ ตับ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">                                                       </span><span style=\"color: #ff6600\">        <span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />  </span></span><strong><span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">การรักษามะเร็งตับอ่อน</span></span><span style=\"color: #000000\"><br />\n                วิธีการรักษาที่ใช้รักษามะเร็งตับอ่อนมี 3 วิธี ได้แก่ การผ่าตัด เคมีบำบัดและรังสีรักษา โดยทั่วๆ ไป เมื่อวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งตับอ่อนแพทย์จะแบ่งผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ทำผ่าตัดได้และกลุ่มที่ทำผ่าตัดไม่ได้<br />\n <strong>กลุ่มที่ทำผ่าตัดได้</strong> คือ ผู้ป่วยที่โรคยังลุกลามไม่มากและมีสภาพร่างกาย แข็งแรง เมื่อผ่าตัดแล้วแพทย์จะนำก้อนเนื้อไปตรวจพิสูจน์ทางพยาธิวิทยา และถ้ามีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ก็จะมีการรักษาเพิ่มเติมโดย เคมีบำบัด หรือรังสีรักษาร่วมด้วย<br />\n <strong>กลุ่มที่ทำผ่าตัดไม่ได้</strong> คือ กลุ่มที่โรคลุกลามมากแล้วแต่ยังแข็งแรงมักให้การรักษา โดยเคมีบำบัด ร่วมกับรังสีรักษาแต่ถ้าเป็นผู้ป่วยที่ร่างกายไม่แข็งแรงการรักษาจะเป็นการรักษาแบบประคับประคองตามอาการ</span></strong></p>\n<p> <strong><span style=\"color: #ff6600\">                 <span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\">     <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ความรุนแรงของมะเร็งตับอ่อน ความรุนแรงของมะเร็งตับอ่อนขึ้นกับหลายปัจจัยที่สำคัญได้แก่</span></span></strong><br />\n   1. ระยะของโรคมะเร็งระยะยิ่งสูงความรุนแรงก็มากขึ้น  <br />\n   2. สภาพร่างกายของผู้ป่วยถ้าร่างกายไม่แข็งแรงก็จะเป็นอุปสรรค ต่อการรักษา  <br />\n   3. โรคร่วมอื่นๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ เช่น โรคไต หรือโรคเบาหวาน เป็นต้น ......ก็จะเป็นอุปสรรคต่อการรักษา  <br />\n   4. อายุ ผู้ป่วยสูงอายุมักทนการรักษาได้ไม่ดี  \n </p>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"color: #000000\">                                                      </span><span style=\"color: #ff6600\">      <span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\">    <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" /> </span></span><strong><span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">การติดตามผลการรักษา<br />\n </span></span><span style=\"color: #000000\">               เมื่อให้การรักษาครบแล้ว แพทย์จะนัดตรวจติดตามโรคและดูแลผู้ป่วยต่อสม่ำเสมอ โดยภายใน 1-2 ปี หลังครบการรักษามักนัดตรวจทุก 1-2 เดือน ในปีที่ 3-5 หลังการรักษามักนัดตรวจทุก 2-3 เดือน และในปีที่ 5ไปแล้วมักนัดตรวจทุก 6-12 เดือน<br />\n ในการมาตรวจทุกครั้ง ควรนำญาติสายตรงหรือผู้ดูแลมาด้วย เพื่อร่วมพูดคุยปรึกษากับแพทย์โดยตรง และถ้ารับประทานยาอะไรอยู่ หรือมีการตรวจเพิ่มเติมจากแพทย์ท่านอื่นๆ ควรแจ้งให้แพทย์ทราบด้วย เพื่อจะได้ให้การดูแลผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม </span></strong></p>\n<p> <span style=\"background-color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" />  <strong>สรุป</strong></span></span></span> \n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\">        ผู้ป่วยมะเร็งตับอ่อนส่วนใหญ่มาพบแพทย์เมื่อก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่และมักจะไม่สามารถผ่าตัดก้อนมะเร็งออกได้ รังสีเคมีบำบัดมีบทบาทในการช่วยควบคุมโรคเฉพาะที่และช่วยในการรักษาแบบประคับประคอง ยาเคมีบำบัดที่ใช้เป็นมาตรฐานเมื่อให้ร่วมกับรังสีรักษาคือ 5FU สำหรับยาเคมี gemcitabine ซึ่งมีบทบาทในมะเร็งตับอ่อนระยะลุกลามกำลังได้รับการศึกษาเพื่อนำมาใช้ร่วมกับรังสีรักษาผู้ป่วยที่มีก้อนมะเร็งอยู่ในระยะผ่าตัดได้ ควรได้รับการรักษาเสริมโดยรังสีเคมีบำบัด เพื่อช่วยเพิ่มอัตราการควบคุมโรค และอัตราการรอดชีวิตอย่างไรก็ตามทางยุโรปเชื่อว่าการให้ยาเคมีบำบัดเสริมอย่างเดียวเพียงพอในการรักษาเสริม </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000; background-color: #999999\">คลิปโรคมะเร็งตับอ่อน</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000; background-color: #999999\"></span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"425\" height=\"350\">\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/vempLgOcwDw\" />\n <param name=\"width\" value=\"425\" />\n <param name=\"height\" value=\"350\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" src=\"http://www.youtube.com/v/vempLgOcwDw\" width=\"425\" height=\"350\"></embed>\n </object></p>\n<p align=\"center\">\n <br />\n <strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff; background-color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-sealed.gif\" alt=\"Sealed\" title=\"Sealed\" />ที่มาของข้อมูล</span></span><br />\n </span><a href=\"http://www.thaitravelhealth.com/blog/โรคมะเร็งตับอ่อน/\"><span style=\"color: #000000\">http://www.thaitravelhealth.com/blog/โรคมะเร็งตับอ่อน/</span></a></span></strong><strong><span style=\"color: #0000ff\"><br />\n <a href=\"http://www.yourhealthyguide.com/article/ac-pancreas.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://www.yourhealthyguide.com/article/ac-pancreas.htm</span></a><br />\n <a href=\"http://healthy.in.th/categories/healthful/news/339\"><span style=\"color: #000000\">http://healthy.in.th/categories/healthful/news/339</span></a><br />\n <a href=\"http://www.chulacancer.net/p0000617.html\"><span style=\"color: #000000\">http://www.chulacancer.net/p0000617.html</span></a><br />\n <a href=\"http://www.nci.go.th/Knowledge/tubaon.html\"><span style=\"color: #000000\">http://www.nci.go.th/Knowledge/tubaon.html</span></a></span></strong><span style=\"color: #000000\"> </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #000000\"></span>\n </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <strong><span style=\"color: #000000\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18783/47_83097_819b0652c7a35e9.gif\" height=\"50\" /><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18783/47_83097_819b0652c7a35e9.gif\" height=\"50\" /><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18783/47_83097_819b0652c7a35e9.gif\" height=\"50\" /><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18783/47_83097_819b0652c7a35e9.gif\" height=\"50\" /><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18783/47_83097_819b0652c7a35e9.gif\" height=\"50\" /><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18783/47_83097_819b0652c7a35e9.gif\" height=\"50\" /><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18783/47_83097_819b0652c7a35e9.gif\" height=\"50\" /><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u18783/47_83097_819b0652c7a35e9.gif\" height=\"50\" /><br />\n </span></strong><strong><br />\n </strong><strong><span style=\"color: #0000ff\"><br />\n <span style=\"color: #000000\"> </span></span></strong><span style=\"color: #000000\"> </span>\n </div>\n<p> <strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong></p>\n<p>\n <strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong><br />\n <span style=\"color: #000000\">  </span>\n </p>\n<p> \n </p></blockquote>\n</blockquote>\n', created = 1716095293, expire = 1716181693, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e118c785836351b8c1e8968e7e665122' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มะเร็งตับอ่อน

                                  

    *********** มะเร็งตับอ่อน*********


                            เป็นมะเร็งที่พบได้ไม่บ่อยนัก แต่ เนื่องจาก ตับอ่อนเป็นอวัยวะที่อยู่หลัง เยื่อบุช่องท้อง การตรวจวินิจฉัยค่อน ข้างยาก และอาการจะปรากฎเมื่อ มะเร็งมักจะลุกลามมากแล้ว

ที่มาของรูป
http://www.nci.go.th/Knowledge/tubaon.html

               Tongue outนักวิจัยทำการศึกษาและเก็บข้อมูลเป็นระยะเวลาถึง 6 ปีจากประชาชนทั้งหมดประมาณ 500,000 คน เพื่อศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งตับอ่อนนอกเหนือจากการสูบบุหรี่ (การสูบบุหรี่คือปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของการเกิดโรคมะเร็งตับอ่อน)ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่รับประทานอาหารประเภทไขมันอิ่มตัว (พบมากในอาหารประเภทเนื้อแดง นม) เป็นประจำนั้น ส่งผลให้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคมะเร็งตับอ่อนมากกว่าในกลุ่มที่รับประทานอาหารประเภทนี้น้อยๆอยากห่างไกลจากโรคมะเร็งตับอ่อน ทำได้ง่ายๆ เพียงแค่ไม่สูบบุหรี่ ควบคู่กับการรับประทานผัก ผลไม้และอาหารที่มีกากใยสูง ลดการรับประทานอาหารประเภทเนื้อแดง อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ รวมทั้งละหรือเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพียงเท่านี้ชีวิตคุณก็จะห่างไกลจากโรคมะเร็งตับอ่อนแล้ว

               Money mouthมะเร็งตับอ่อน เป็นมะเร็งที่มีความรุนแรงมากชนิดหนึ่ง แต่เป็นมะเร็งที่ไม่ค่อยพบบ่อยนักเป็นมะเร็งของผู้ใหญ่เกิดในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง


                                                                                ที่มาของรูป
                                               http://www.thaitravelhealth.com/blog/โรคมะเร็งตับอ่อน/

               โรคมะเร็งตับอ่อน โรคนี้เกิดจากกการที่เกิดเนื้อมะเร็งที่ตับอ่อน ซึ่งอยู่ด้านหลังของช่องท้อง ซึ่งถือว่าเป็นเนื้อมะเร็งที่หาเจอได้ยากที่สุดชนิดหนึ่ง พบมากในบรรดาผู้ชายที่มีอายุประมาณ 50-70 ปี ที่ชอบรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง เมื่อตับอ่อนทำงานหนักก็จะเกิดการหลั่งน้ำย่อย และฮอร์โมนออกมา ซึ่งโอกาสเกิดมะเร็งในตับอ่อนได้มากขึ้น ก็เป็นเนื่องจากการไหลออกมามากของน้ำย่อยจนทำให้เกิดมะเร็งขึ้นที่บริเวณ Pancreatic Duct อาการปวดท้อง หรือแน่นท้อง หรืออาการปวดหลังนั้นเป็นเพราะเนื้อมะเร็งเริ่มเจริญเติบโตขึ้นทำให้น้ำย่อยอุดตัน สะสมอยู่ในตับอ่อนเป็นผลทำให้ตับอ่อนบวมขึ้น

               ตับอ่อน (pancreas) เป็นอวัยวะที่ยาวประมาณ 6 นิ้ว วางทอดขวางหน้ากระดูกสันหลัง และอยู่หลังกระเพาะอาหาร รูปร่างของมันคล้ายปลาดุก ส่วนหัวอยู่ทางด้านขวาของเจ้าของ ทอดอยู่ในอ้อมกอดของลำไส้เล็กส่วนต้นที่เรียกว่า ดูโอดีนัม (duodenum) ส่วนหางอยู่ทางซ้ายจ่อติดกับม้าม (spleen) ตรงกลางมีหลอดเลือดใหญ่ทอดผ่านหลายหลอด (ทำให้การผ่าตัดยาก) ตับอ่อนทำหน้าที่สร้างน้ำย่อยอาหาร และสร้างฮอร์โมนอินซูลินและกลูคากอนซึ่งช่วยให้ร่างกายสามารถใช้น้ำตาลใน ร่างกายได้เป็นปกติ มะเร็งตับอ่อนส่วนมาก (90%) เกิดจากเซลล์ที่หลั่งน้ำย่อย

               เนื่องจากตับอ่อนถูกห้อมล้อมไปด้วยอวัยวะอื่นๆ เช่นกระเพาะอาหาร เป็นต้น แพทย์ตรวจร่างกายทั่วไปก็สามารถเห็นถึงความผิดปกตินี้ได้ยาก และอาการสุดท้าย การปัสสาวะที่มีสีเข้มเหมือนสีช็อกโกแล็ต และใบหน้าเปลี่ยนเป็นสีเหลือง สาเหตุเป็นเพราะ เนื้อมะเร็งได้เจริญเติบโตขึ้นจนไปปิดกั้นทางเดินน้ำดีที่ไหลผ่านตับอ่อน ทำให้น้ำดีไหลย้อนกลับไปนอกท่อ แล้วหลั่งไปทั่วร่างกาย

               โรคมะเร็งตับอ่อนนี้เป็นโรคที่พัฒนาไปอย่างช้าๆ ดังนั้นกว่าจะพบว่าเป็นโรคนี้ ส่วนใหญ่ก็สายไปเสียแล้ว
ถ้าสงสัยว่าจะเป็นมะเร็งตับอ่อนหรือไม่ แพทย์มีวิธีการตรวจหาหรือยืนยันได้หลายวิธี รวมทั้งวิธีต่างๆ ที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ แต่อาจจะไม่จำเป็นต้องทำหมดทุกอย่างขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของแพทย์
• การซักประวัติตรวจร่างกาย เป็นสิ่งชี้นำในการตรวจขั้นตอนต่อไป ถ้าเป็นมะเร็งในระยะเริ่มแรกมักจะตรวจไม่พบสิ่งผิดปกติ หรือคลำได้ก้อน

• ฉายภาพรังสีปอด เพื่อดูว่ามีมะเร็งแพร่กระจายมายังปอดแล้วหรือยัง ถ้าแพร่มาแล้วก็เป็นสิ่งที่ไม่ดี

• ซีทีสแกน (CT scan) เป็นเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ถ่ายกวาดให้เห็นภาพตัดตามขวางของส่วน ต่างๆ ในร่างกาย ถ้ามีมะเร็งตับอ่อนส่วนมากจะเห็นได้จากซีทีสแกนนี้

• เอ็มอาร์ไอ (MRI) เป็นการถ่ายภาพคอมพิวเตอร์อีกชนิดหนึ่งที่ไม่อาศัยรังสีเอกซ์แต่อาศัยคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า ทำให้เห็นภาพถ่ายกวาดของอวัยวะภายใน สามารถตรวจพบมะเร็งตับอ่อนได้ ในบางกรณีจะช่วยเสริมข้อมูลบางอย่างที่ ซีที มองไม่เห็น

• เพ็ตสแกน (PET scan)(positron emission tomography scan) เป็นเครื่องที่ใช้ตรวจหาเซลล์มะเร็ง โดยอาศัยหลักการที่มะเร็งจับเอาสารกลูโคสที่ติดฉลากด้วยกัมมันตภาพรังสี ทำให้เครื่องตรวจกวาดเห็นได้ ในบางกรณีต้องใช้เครื่องนี้ช่วย โดยเฉพาะในรายที่ต้องการรู้ว่ามะเร็งแพร่กระจายไปแล้วหรือยัง

• การส่องกล้องทางเดินอาหารส่วนบน แล้วตรวจด้วยอัลตราซาวน์บริเวณตับอ่อน (endoscopic ultrasound = EUS) ทำให้สามารถเห็นภาพมะเร็งตับอ่อนและต่อมน้ำเหลืองรอบตับอ่อนว่ามีมะเร็งแพร่ กระจายไปถึงหรือยัง

• การส่องกล้องตรวจภายในช่องท้อง (laparoscopy) เป็นการตรวจหามะเร็งและตัดชิ้นเนื้อตรวจ และเพื่อดูว่ามะเร็งที่ตรวจพบโดยวิธีอื่นแล้วนั้นมันแพร่กระจายไปในช่องท้อง แล้วหรือไม่ ถ้าแพร่กระจายแล้วแสดงว่าการผ่าตัดซึ่งเป็นวิธีรักษาให้หายขาดใช้ไม่ได้แล้ว ขืนทำไปคนไข้จะได้รับความเสี่ยงโดยได้ประโยชน์ไม่คุ้มเสีย

• การส่องกล้องตรวจและฉีดสีเอกซเรย์ท่อน้ำดีและท่อตับอ่อน (endoscopic retrograde cholangiopancreatography หรือย่อว่า ERCP) วิธีนี้ทำให้สามารถบอกได้ว่ามีมะเร็งที่หัวตับอ่อนหรือตัวตับอ่อนหรือไม่ สามารถตัดชิ้นเนื้อเอาไปตรวจยืนยันมะเร็งทางพยาธิสภาพ และถ้ามีการอุดตันของท่อน้ำดีจากมะเร็ง คนส่องกล้องก็สามารถสอดใส่หลอดตะแกรงโลหะ(stent) เพื่อค้ำจุนเปิดท่อไม่ให้ตีบตัน เป็นการรักษาแบบทุเลาอาการดีซ่านในกรณีคนที่ไม่สามารถผ่าตัดรักษาให้หายขาด ได้แล้ว

• การตรวจโดยการแทงเข็มผ่านผิวหนังเข้าตับเพื่อฉีดสารทึบรังสี แล้วเอกซเรย์ดูภาพท่อน้ำดี (percutaneous transhepatic cholangiography หรือย่อว่า PTC) ถ้าตรวจพบว่ามีการอุดตันของท่อน้ำดีก็จะช่วยการวินิจฉัยและสามารถใส่ stent บรรเทาการอุดตันซึ่งทำให้เกิดอาการดีซ่านด้วย ในบางกรณีถ้าใส่ stent ไม่ได้เขาก็ใส่ท่อระบายน้ำดีออกสู่ภายนอก การตรวจอย่างนี้จะทำก็ต่อเมื่อการทำ ERCP ทำไม่ได้แล้ว

• การตัดชิ้นเนื้อไปตรวจทางพยาธิสภาพ เป็นสิ่งจำเป็นในการวินิจฉัยโรคที่แน่นอนว่าก้อนเนื้องอกในตับอ่อนเป็น มะเร็ง(เนื้อร้าย) หรือเนื้องอกชนิดไม่ร้าย การตัดชิ้นเนื้ออาจจะทำได้หลายวิธี เช่น การแทงเข็มเล็กๆ ผ่านช่องท้องภายใต้การนำวิถีโดยอัลตราซาวน์หรือเอกซเรย์ การตัดชิ้นเนื้อโดยการส่องกล้องในทางเดินอาหารส่วนต้นร่วมกับการทำอัลตรา ซาวน์ หรือโดยการส่องภายในช่องท้องแล้วตัดชิ้นเนื้อ
 
               Sealedมะเร็งตับอ่อนพบในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ในปี พ.ศ. 2543-2544 ประมาณปีละ 10-17 ราย(1) ผู้ป่วยมะเร็งตับอ่อน มักมาพบแพทย์ เมื่อมีก้อนมะเร็งขนาดใหญ่ เนื่องจากอาการในระยะแรกมักไม่จำเพาะ เช่น ปวดท้อง ประกอบกับแพทย์ผู้ดูแลเบื้องต้นอาจไม่ได้ส่งเอกซเรย์ หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ บางกรณีผู้ป่วยอาจไม่มีอาการเลย จนกระทั่งเป็นมากแล้ว จึงจะแสดงอาการ อาทิ ปวดท้อง เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ตัวเหลือง  ตาเหลือง อาการปวดท้องมีลักษณะเหมือนถูกมีดแทงบริเวณลิ้นปี่และปวดร้าวไปข้างหลัง
               ผู้ป่วยเพียง 5-22% เท่านั้นที่ก้อนมะเร็งอยู่ในระยะที่ผ่าตัดได้(2,3,4) การรักษาหลักของมะเร็งตับอ่อน ส่วนหัวคือ การผ่าตัดแบบ Whipple ซึ่งพบอัตราการรอดชีวิตที่ 5 ปี (5-year survival rate) ประมาณ 4-24%(5,6) และมัธยฐานเวลาการรอดชีวิต
( median survival rate) ประมาณ 15-19 เดือน(7) อัตราการกำเริบเฉพาะที่ (local recurrent rate) และการแพร่กระจาย
( distant metastasis rate ) สูง ผู้ป่วย 80-85% อยู่ในระยะที่ ไม่สามารถผ่าตัดก้อนมะเร็งออกได้การทำการผ่าตัดเพื่อระบายน้ำดี
สามารถช่วยประคับประคองผู้ป่วยและลดอาการของภาวะตับวาย การทำ celiac block สามารถป้องกันอาการปวดซึ่งอาจจะเกิดได้
ในอนาคตผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะเสียชีวิตใน 1 ปี และหากไม่ได้รับการรักษาจะมีมัธยฐานเวลาการรอดชีวิตเพียง 3-6 เดือน

Money mouthกายวิภาค
        ตับอ่อนเป็นอวัยวะซึ่งอยู่หลังเยื่อบุช่องท้อง ( retroperitoneum ) ในระดับเดียวกับกระดูกสันหลัง L1-L2 และถูกห้อมล้อมด้วย
อวัยวะต่างๆ ซึ่งไวต่อรังสี ได้แก่ กระเพาะอาหาร ตับ ไต ม้าม และลำไส้เล็ก ตามรูปที่ 1 ตับอ่อนประกอบด้วย 4 ส่วน คือ ส่วนหัว, ส่วนคอ, ส่วนลำตัวและส่วนหาง โดยส่วนหางจะชี้ไปทางขั้วม้าม ในขณะที่ส่วนหัวอยู่บริเวณหน้าและด้านข้างของ superior mesenteric artery และมี uncinate process โอบไปทางด้านหลังของเส้นเลือดเส้นนี้ ด้านหน้าของตับอ่อนถูกปกคลุมด้วยเยื่อบุช่องท้อง แต่ด้านหลังของ ตับอ่อนอยู่ติดกับ preaortic soft tissue, superior mesenteric artery และ splenic vein ก้อนมะเร็งที่โตขึ้น จึงมักจะขยายไปทางด้านหลัง และลุกลามไปยังเส้นเลือดดังกล่าว ตลอดจน portal vein และ celiac artery ซึ่งการลุกลามไปยังเส้นเลือดนี้เอง ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้
                            Money mouthสำหรับศัลยแพทย์ว่าจะสามารถผ่าตัดได้หรือไม่ (resectability)
        ทางเดินน้ำเหลืองของตับอ่อนผ่านทางต่อมน้ำเหลือง pancreaticoduodenal, suprapancreatic, pyloric และ pancreatiocosplenicซึ่งทั้งหมดนี้จะนำไปสู่ต่อมน้ำเหลือง celiac และ superior mesenteric สำหรับต่อมน้ำเหลืองบริเวณ porta hepatis มักพบในรายที่เป็น
มะเร็งระยะเป็นมากเฉพาะที่ ( locally advanced disease )
        ก้อนมะเร็งที่ส่วนหัวของตับอ่อน สามารถกดทางเดินน้ำดี ( common bile duct ) และ pancreatic duct หรือลุกลามบริเวณรูเปิดAmpulla of vater ซึ่งทำให้เกิดอาการตัวเหลือง ตาเหลือง หรือเกิด exocrine pancreatic insufficiency ได้
รูปที่ 1 แสดงกายวิภาคของมะเร็งตับอ่อนและอวัยวะข้างเคียง

 


                                                                 ที่มาของรูป
                                  
http://www.chulacancer.net/p0000617.html
               เส้นประสาทที่เลี้ยงบริเวณตับอ่อน ได้แก่ vagus และ splanchnic nerve ซึ่งออกมาจาก celiac และ superior mesenteric plexusหากก้อนมะเร็งลุกลามมาบริเวณปมประสาทนี้สามารถทำให้เกิดอาการปวดแบบ sharp pain ซึ่งร้าวไปที่หลังได้

Money mouthการวินิจฉัย
        การประเมินผู้ป่วยและลักษณะก้อนมะเร็งมีเป้าหมายเพื่อให้ทราบว่าจะสามารถผ่าตัดก้อนมะเร็งได้หรือไม่ นอกจากนี้การพิสูจน์ผล
ชิ้นเนื้อและการประเมินภาวะทางเดินน้ำดีอุดตันยังเป็นสิ่งจำเป็นในการวางแผนการรักษาการใช้เทคโนโลยี ทาง Imaging ได้แก่การทำ
CT Scan โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำ helical CT และการฉีดสารทึบรังสีสามารถตรวจพบก้อนมะเร็งซึ่งมีขนาดเล็ก ๆ ได้และยังสามารถ
บอกว่าก้อนมะเร็งติดหรือลุกลามเข้าไปในหลอดเลือดหรือไม่
        การใช้ CT-guided fine-needle aspiration (FNA) สามารถช่วยในการพิสูจน์เซลล์มะเร็งได้ แต่วิธีการนี้ต้องอาศัยความชำนาญ
ของแพทย์ทางรังสีร่วมรักษา (interventional radiologist)
        การพิสูจน์ชิ้นเนื้อที่มีประสิทธิภาพคือการตัดชิ้นเนื้อผ่าน endoscope (ERCP-endoscopic retrograde
cholangiopancreaticography) วิธีนี้ยังสามารถช่วยให้ได้ภาพทางรังสี ซึ่งแสดงถึงการอุดตันของท่อน้ำดี และท่อตับอ่อน และช่วยในการรักษาแบบประคับประคองโดยการใส่ endobiliary stent เพื่อลดอาการดีซ่าน ปัจจุบันมีการใช้ endoscopic ultrasound และการใช้
endoscopic ultrasound-directed FNA เพื่อทำให้การวินิจฉัยแม่นยำขึ้น
        MRI มีบทบาทในมะเร็งตับอ่อนน้อยกว่า CT scan แต่มีข้อได้เปรียบคือ สามารถทำ MR cholangiography เพื่อช่วยในการดู
ทางเดินน้ำดีได้โดยไม่ต้องทำ ERCP แต่ข้อเสียคือใช้เวลาในการทำ (image acquisition) ค่อนข้างนาน
        หาก Imaging ไม่สามารถบอกได้ชัดเจนว่าก้อนมะเร็งอยู่ในระยะผ่าตัดได้หรือไม่ การทำ laparoscope หรือทำ laparotomy เลย
เป็นสิ่งที่ช่วยดูก้อนมะเร็งได้ดีที่สุด
การจำแนกทางพยาธิวิทยา (Pathological classification)
        -    ลักษณะทางพยาธิวิทยาสามารถจำแนกมะเร็งตับอ่อนได้ดังนี้
        1.    Malignant
                1.1    Duct cell carcinoma พบประมาณ 90% ของผู้ป่วยทั้งหมด
                1.2    Acinar cell carcinoma
                1.3    Papillary mucinous carcinoma
                1.4    Signet ring carcinoma
                1.5    Adenosquamous carcinoma
                1.6    Undifferentiated carcinoma
                1.7    Mucinous carcinoma
                1.8    Giant cell carcinoma
                1.9    Mixed type (ductal-endocrine or acinar-endoerine)
                1.10  Small cell carcinoma
                1.11  Cystadenocarcinoma (serous and mucinous types)
                1.12  Unclassified
                1.13  Pancreatoblastoma                                                                  
                1.14  Papillary-cystic neoplasm
        2.    Borderline malignancies
                2.1    Mucinous cystic tumor with dysplasia
                2.2    Intraductal papillary mucinous tumor with dysplasia
                2.3    Pseudopapillary solid tumor

                                                                         Smileอุบัติการณ์
                การเกิดมะเร็งตับอ่อนในประเทศไทย พบว่า มีประมาณ 1 % ของมะเร็งทางเดินอาหาร พบมากในเพศชายมากกว่าเพศหญิงประมาณ 4 เท่า อายุที่พบเฉลี่ย 40-70 ปี

                                                                  Smileตำแหน่งของมะเร็ง
               ตับอ่อนเป็นต่อมที่ทำหน้าที่ผลิตอินซูลินและฮอร์โมนต่างๆ รวมไปถึงเอนไซม์ย่อยต่างๆ
มะเร็งตับอ่อนนั้นพัฒนาขึ้นจากท่อ ที่เป็นทางเดินของน้ำย่อย โดยตับอ่อนจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือส่วนบน,
ส่วนกลางและส่วนท้าย มะเร็งชนิดนี้สามารถแพร่กระจายจากต่อมน้ำเหลืองเข้าสู่ตับ, ปอด, เยื่อบุช่องท้อง
พบผู้เป็นมะเร็งชนิดนี้ในสหรัฐอเมริกา ประมาณ 32,000 คนต่อปี โดยมักจะรักษาได้ยาก เนื่องจากพบมะเร็งเมื่อสายเกินไป
มะเร็งจึงลุกลามยากที่จะผ่าตัดได้ 

                                                       Smileปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งตับอ่อน
- อาหารบางประเภทเช่น น้ำตาล, กาแฟ
- การสูบบุหรี่, การเป็นโรคเบาหวาน, การเป็นโรคตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง
- ผู้ชายมีความเสี่ยงมากกว่าผู้หญิงในอัตรา 2 ต่อ 1 อายุเฉลี่ยที่พบคือ 65 ปี
  โดยเป็นชาวแอฟริกันอเมริกันมากกว่าชาวเอเชียหรือ
  ชนผิวขาว

                                                         Smileสาเหตุของการเกิดมะเร็งตับอ่อน
               ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของมะเร็งตับอ่อนแต่พบว่าอาจมีปัจจัยเสี่ยงได้ดังนี้
  1. ในคนที่สูบบุหรี่จัด มีปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งตับอ่อนมากกว่า 
  2. ในคนที่มีครอบครัวป่วยเป็นมะเร็งตับอ่อน มีโอกาสเป็นมะเร็งตับอ่อนได้สูงกว่า 
  3. ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน มีปัจจัยเสี่ยงสูงกว่า 

                                                             Smile อาการและอาการแสดง
               อาการของมะเร็งตับอ่อนเมื่อเริ่มเป็นมักไม่มีอาการต่อเมื่อก้อนมะเร็งโตมากขึ้นจะไปกดทับทางเดินน้ำดี ทำให้มีตัวเหลือง ตาเหลือง หรือ ปวดหลังได้ ซึ่งมักเป็นอาการที่พบได้ในโรคทั่วๆไป ไม่ใช่อาการเฉพาะของมะเร็งตับอ่อน
ถ้าโรครุนแรงมากขึ้น อาจมีอาการแน่นท้องจากมีน้ำในท้อง เบื่ออาหาร ผอมลง หรือมีอาการจากการที่โรคแพร่ไปยังอวัยวะอื่นๆ เช่น อาการปวดกระดูกจากการมีโรคแพร่ไปกระดูก เป็นต้น

                                                   Smile การตรวจเพื่อวินิจฉัยโรคและหาระยะของโรค
               มะเร็งตับอ่อนเป็นมะเร็งที่วินิจฉัยโรคได้ยากแต่อย่างไรก็ตามจากการ ซักประวัติ อาการ อาการแสดง และการตรวจร่างกาย ถ้าแพทย์สงสัยว่าเป็นโรค ตับอ่อน มักจะทำการตรวจเพิ่มเติม โดยการทำอัลตราซาวด์ หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ดูพยาธิสภาพของตับอ่อน และตับเพราะมะเร็งตับอ่อนกระจายไปตับได้สูง และอาจมีการตรวจเลือดเพื่อตรวจสารที่เรียกว่า ซี อี เอ (CEA) หรือ ซี เอ 19-9 (CA 19-9) ถ้าภาพอัลตราซาวด์ หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ พบมีก้อนเนื้อของตับอ่อนแพทย์มักทำการผ่าตัดเพื่อเอาก้อนเนื้อออก เพื่อการรักษาและเพื่อนำก้อนเนื้อไปตรวจพิสูจน์ทางพยาธิวิทยา (การตัดชิ้นเนื้อจากตับอ่อนก่อนผ่าตัดเพื่อการพิสูจน์ทางการพยาธิวิทยาก่อนการผ่าตัด มักทำไม่ได้เพราะมีอันตรายค่อนข้างสูง) ว่าใช่มะเร็งตับอ่อนหรือไม่
ก่อนผ่าตัดแพทย์จะมีการตรวจเลือดเพิ่มเติม ตรวจปัสสาวะ และภาพเอกซเรย์ปอด เพื่อดูสภาพร่างกายผู้ป่วยและดูว่ามีโรคแพร่กระจายไปปอดและตับหรือยัง

                                                   Smileระยะของโรคมะเร็งตับอ่อน  แบ่งได้เป็น 4 ระยะ ดังนี้       
ระยะที่ 1
  ก้อนมะเร็งลุกลามอยู่ในตับอ่อนหรืออาจเริ่มลุกลามเข้าลำไส้เล็กส่วนที่ อยู่ติดกัน
ระยะที่ 2 มะเร็งลุกลามออกนอกตับอ่อนเข้ากระเพาะอาหารและ / หรือม้ามและ / หรือลำไส้ใหญ่
ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามกระจายไปต่อมน้ำเหลืองแล้ว
ระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามเข้ากระแสโลหิตแพร่ไปยังอวัยวะที่ไกลออกไปที่พบได้บ่อยคือ ตับ

                                                               Smile  การรักษามะเร็งตับอ่อน
               วิธีการรักษาที่ใช้รักษามะเร็งตับอ่อนมี 3 วิธี ได้แก่ การผ่าตัด เคมีบำบัดและรังสีรักษา โดยทั่วๆ ไป เมื่อวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งตับอ่อนแพทย์จะแบ่งผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ทำผ่าตัดได้และกลุ่มที่ทำผ่าตัดไม่ได้
กลุ่มที่ทำผ่าตัดได้ คือ ผู้ป่วยที่โรคยังลุกลามไม่มากและมีสภาพร่างกาย แข็งแรง เมื่อผ่าตัดแล้วแพทย์จะนำก้อนเนื้อไปตรวจพิสูจน์ทางพยาธิวิทยา และถ้ามีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ก็จะมีการรักษาเพิ่มเติมโดย เคมีบำบัด หรือรังสีรักษาร่วมด้วย
กลุ่มที่ทำผ่าตัดไม่ได้ คือ กลุ่มที่โรคลุกลามมากแล้วแต่ยังแข็งแรงมักให้การรักษา โดยเคมีบำบัด ร่วมกับรังสีรักษาแต่ถ้าเป็นผู้ป่วยที่ร่างกายไม่แข็งแรงการรักษาจะเป็นการรักษาแบบประคับประคองตามอาการ

                      Smileความรุนแรงของมะเร็งตับอ่อน ความรุนแรงของมะเร็งตับอ่อนขึ้นกับหลายปัจจัยที่สำคัญได้แก่
  1. ระยะของโรคมะเร็งระยะยิ่งสูงความรุนแรงก็มากขึ้น 
  2. สภาพร่างกายของผู้ป่วยถ้าร่างกายไม่แข็งแรงก็จะเป็นอุปสรรค ต่อการรักษา 
  3. โรคร่วมอื่นๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ เช่น โรคไต หรือโรคเบาหวาน เป็นต้น ......ก็จะเป็นอุปสรรคต่อการรักษา 
  4. อายุ ผู้ป่วยสูงอายุมักทนการรักษาได้ไม่ดี 

                                                                Smile การติดตามผลการรักษา
               เมื่อให้การรักษาครบแล้ว แพทย์จะนัดตรวจติดตามโรคและดูแลผู้ป่วยต่อสม่ำเสมอ โดยภายใน 1-2 ปี หลังครบการรักษามักนัดตรวจทุก 1-2 เดือน ในปีที่ 3-5 หลังการรักษามักนัดตรวจทุก 2-3 เดือน และในปีที่ 5ไปแล้วมักนัดตรวจทุก 6-12 เดือน
ในการมาตรวจทุกครั้ง ควรนำญาติสายตรงหรือผู้ดูแลมาด้วย เพื่อร่วมพูดคุยปรึกษากับแพทย์โดยตรง และถ้ารับประทานยาอะไรอยู่ หรือมีการตรวจเพิ่มเติมจากแพทย์ท่านอื่นๆ ควรแจ้งให้แพทย์ทราบด้วย เพื่อจะได้ให้การดูแลผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม 

Cool  สรุป

        ผู้ป่วยมะเร็งตับอ่อนส่วนใหญ่มาพบแพทย์เมื่อก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่และมักจะไม่สามารถผ่าตัดก้อนมะเร็งออกได้ รังสีเคมีบำบัดมีบทบาทในการช่วยควบคุมโรคเฉพาะที่และช่วยในการรักษาแบบประคับประคอง ยาเคมีบำบัดที่ใช้เป็นมาตรฐานเมื่อให้ร่วมกับรังสีรักษาคือ 5FU สำหรับยาเคมี gemcitabine ซึ่งมีบทบาทในมะเร็งตับอ่อนระยะลุกลามกำลังได้รับการศึกษาเพื่อนำมาใช้ร่วมกับรังสีรักษาผู้ป่วยที่มีก้อนมะเร็งอยู่ในระยะผ่าตัดได้ ควรได้รับการรักษาเสริมโดยรังสีเคมีบำบัด เพื่อช่วยเพิ่มอัตราการควบคุมโรค และอัตราการรอดชีวิตอย่างไรก็ตามทางยุโรปเชื่อว่าการให้ยาเคมีบำบัดเสริมอย่างเดียวเพียงพอในการรักษาเสริม

คลิปโรคมะเร็งตับอ่อน


Sealedที่มาของข้อมูล
http://www.thaitravelhealth.com/blog/โรคมะเร็งตับอ่อน/

http://www.yourhealthyguide.com/article/ac-pancreas.htm
http://healthy.in.th/categories/healthful/news/339
http://www.chulacancer.net/p0000617.html
http://www.nci.go.th/Knowledge/tubaon.html




 


 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 265 คน กำลังออนไลน์