• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e06b084c4a8f21d3e9094b9e095f91e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u7500/1214558298.jpg\" width=\"282\" height=\"227\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #ffcc99; color: #ff0000\"> แหล่งที่มาภาพ</span></b> : <a href=\"http://www.googig.com/html/upload/1214558298.jpg\" title=\"http://www.googig.com/html/upload/1214558298.jpg\">http://www.googig.com/html/upload/1214558298.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #ccffff; color: #800000\">สภาพพื้นที่</span></b></p>\n<p>- ความลาดเอียง ไม่ควรเกิน 15%</p>\n<p>- พื้นที่ไม่มีน้ำท่วมขัง</p>\n<p><b><span style=\"background-color: #ccffff; color: #800000\">ลักษณะดิน</span></b></p>\n<p>- ดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย หรือดินร่วนปนเหนียว ที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง ระบายน้ำดี</p>\n<p>- ชั้นดินลึกไม่น้อยกว่า 1 เมตร</p>\n<p>- ระดับน้ำใต้ดินลึกมากกว่า 50 เซนติเมตร</p>\n<p>- มีค่าความเป็น กรด-ด่าง อยู่ระหว่าง 5.0-6.5</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<b><span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff6600\">สภาพภูมิอากาศ</span></b></p>\n<p>- อุณหภูมิ 20-40 องศาเซลเซียส</p>\n<p>- ปริมาณน้ำฝน ไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี การกระจายตัวของฝนดี</p>\n<p>- ความชื้นสัมพัทธ์ เฉลี่ย 60-70%</p>\n<p><b><span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff6600\">แหล่งน้ำ</span></b></p>\n<p>- ต้องมีแหล่งน้ำเพียงพอตลอดช่วงฤดูแล้ง</p>\n<p>- น้ำสะอาดไม่มีสารอินทรีย์และอนินทรีย์ที่เป็นพิษปนเปื้อน\n</p>\n<p>\nสะละในระยะก่อนให้ผลผลิต (อายุ 1-3 ปี)</p>\n<p><b><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #800080\"> การใส่ปุ๋ย</span></b></p>\n<p>- ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 หรือ 16-16-16 อัตรา 2-5 กิโลกรัม ต่อกอ ต่อปี แบ่งใส่ 2-4 ครั้ง ต่อปี</p>\n<p>- ปุ๋ยคอก อัตรา 10-20 กิโลกรัม ต่อกอ ต่อปี แบ่งใส่ 2 ครั้ง ต่อปี</p>\n<p><b><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #800080\">การให้น้ำ</span></b></p>\n<p>- ให้น้ำอย่างสม่ำเสมอประมาณ 0.7 เท่า ของอัตราการระเหยน้ำจากถาดระเหยน้ำ ชนิด A (Class A cvaportion pan) หรือเท่ากับ 2.8-3.2 มิลลิเมตร ต่อวัน หรือคิดเป็น 100-118 ลิตร ต่อกอ ต่อวัน สำหรับระยะปลูก 6x6 เมตร ในเขตจังหวัดจันทบุรีมีอัตราการระเหยน้ำจากถาดระเหยน้ำ ประมาณ 4.0-4.5 มิลลิเมตร ต่อวัน ในช่วงเดือนตุลาคม-มีนาคม</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<b><span style=\"background-color: #ffffff; color: #0000ff\">การตัดแต่งทางใบ</span></b></p>\n<p>- ไม่ควรตัดแต่งทางใบมากนัก นอกจากทางใบที่แก่หมดสภาพแล้วเท่านั้น หากทางใบโน้มกีดขวางการทำงานควรใช้เชือกไนลอนผูกรวบไว้ ทางใบที่ตัดแล้วควรนำไปปูคลุมรอบโคนต้นโดยคว่ำด้านหนามลงดิน หรือบดละเอียดด้วยเครื่องบดทางสะละเป็นปุ๋ยหมักต่อไป</p>\n<p>การตัดแต่งหน่อและการไว้กอ</p>\n<p>- สะละอายุได้ประมาณ 1 ปี จะแตกหน่อออกมาจำนวนมาก หากปลูกแบบกอควรเลี้ยงหน่อไว้เพียงหน่อเดียว (2 ต้น ต่อกอรวมทั้งต้นแม่) จะทำให้สะละตกผลเร็ว หลังจากนั้น ค่อยเลี้ยงหน่อเพิ่มขึ้นให้ได้จำนวนต้นตามต้องการ คอยหมั่นตัดแต่งหน่อที่ไม่ต้องการออก</p>\n<p>สะละในระยะให้ผลผลิต (อายุ 3 ปี ขึ้นไป)</p>\n<p><b><span style=\"background-color: #ffffff; color: #0000ff\">การใส่ปุ๋ย</span></b></p>\n<p>- ควรเก็บตัวอย่างดินและใบสะละไปวิเคราะห์ทางเคมี เพื่อประเมินความต้องการธาตุอาหารของสะละ สำหรับใช้เป็นแนวทางการใส่ปุ๋ยอย่างถูกต้อง</p>\n<p>- ควรกำจัดวัชพืชก่อนใส่ปุ๋ย และใส่ปุ๋ยในขณะที่ดินมีความชื้นเพียงพอ</p>\n<p>- ปุ๋ยคอก อัตรา 30-40 กิโลกรัม ต่อกอ ต่อปี แบ่งใส่ปีละ 2 ครั้ง</p>\n<p>- ปุ๋ยเคมีที่มีเรโซเท่ากับ 1:1:1 sinv 2:1:2 หรือใกล้เคียง อัตรา 1-2 กิโลกรัม ต่อกอ ต่อเดือน ใส่ทุกเดือน เดือนละ 1-2 ครั้ง โดยพิจารณาจากความสมบูรณ์ของต้นและ ปริมาณผลผลิตประกอบด้วย</p>\n<p><b><span style=\"background-color: #000000; color: #ffffff\">การให้น้ำ</span></b></p>\n<p>- ให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ ประมาณ 0.7 เท่า ของอัตราการระเหยน้ำจากถาดระเหยน้ำ ชนิด A (Class A cvaportion pan) หรือเท่ากับ 2.8-3.2 มิลลิเมตร ต่อวัน หรือคิดเป็น 100-118 ลิตร ต่อกอ ต่อวัน สำหรับระยะปลูก 6x6 เมตร</p>\n<p>การตัดแต่งทางใบ</p>\n<p>- สะละที่ให้ผลผลิตแล้ว ควรไว้ทางใบ 15-20 ทางใบ</p>\n<p>- ไม่ควรตัดแต่งทางใบที่รองรับทะลายผล จนกว่าจะเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว</p>\n<p>- ทางใบช่วงที่มีใบตัดแล้วนำมาปูคลุมโคนโดยคว่ำหนามลงดิน ส่วนช่วงโคนที่ไม่มีใบนำไปบดละเอียดด้วยเครื่องบดทางสะละเป็นปุ๋ยหมักต่อไป</p>\n<p><b><span style=\"background-color: #000000; color: #ffffff\">การตัดแต่งหน่อและไว้กอ</span></b></p>\n<p>- หลังจากเลี้ยงหน่อได้จำนวนต้นที่ต้องการแล้วคอยหมั่นตัดหน่อที่ไม่ต้องการออก ทั้งหน่อข้างต้น (หน่อต๊อก) และหน่อดิน</p>\n<p>- เมื่อสะละมีอายุได้ประมาณ 7-8 ปี หรือเมื่อต้นมีความสูงไม่น้อยกว่า 1 เมตร อาจตัดต้นแม่ออกนำไปขยายพันธุ์ เพื่อให้มีช่องว่างตรงกลางกอ จะทำให้ปฏิบัติการดูแลรักษาสะดวกยิ่งขึ้น</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<b><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #800000\">การตัดแต่งดอก</span></b></p>\n<p>- คานดอกที่ออกมาในระยะก่อน 2 ปี ควรตัดทิ้ง เพราะผลผลิตที่ได้ ในระยะนี้จะไม่มีคุณภาพ</p>\n<p>- ตัดแต่งช่อดอกในแต่ละคานให้เหลือปริมาณพอเหมาะกับความสมบูรณ์ต้น โดยสังเกตจากช่อดอกหากสมบูรณ์จะอวบยาว สีแดงเข้ม กาบหุ้มมีสีดำ หรือสีน้ำตาล</p>\n<p><b><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #800000\">การผสมเกสร</span></b></p>\n<p>- สะละต้องช่วยผสมเกสร</p>\n<p>- ผสมเกสรโดยตัดช่อดอกตัวผู้ของระกำ สะกำ หรือสะละที่ บานแลวมาเคาะใส่ช่อดอกตัวเมียที่บานแล้ว ประมาณ 50% ของช่อดอกขึ้นไป ให้ละอองเกสรตกลงไปผสมกับเกสรตัวเมีย</p>\n<p>- ผสมเกสร โดยใช้เกสรสำเร็จรูปที่เก็บรวบรวมไว้ ผสมกับแป้งทาลคัม อัตรา 1:10 พ่นบนช่อดอกตัวเมียที่บานแล้ว 80% ก่อนนำเกสรสำเร็จรูปไป ใช้ควรทดสอบเปอร์เซ็นต์ความมีชีวิตของละอองเกสรก่อน</p>\n<p>- การผสมเกสรสามารถทำได้ตลอดทั้งวัน แต่ในฤดูฝนเมื่อ ผสมแล้วต้องคลุมดอกไว้อย่างน้อย 2 วัน</p>\n<p><b><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #800000\">การโยงผล</span></b></p>\n<p>- โยงผลตามความเหมาะสมโดยเฉพาะใน ต้นเล็กที่กระปุกผลอยู่ใกล้พื้นดิน\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #ffcc99; color: #ff0000\">แหล่งที่มาเนื้อหา</span></b> : <a href=\"http://www.doae.go.th/LIBRARY/html/detail/salacca/care.html\" title=\"http://www.doae.go.th/LIBRARY/html/detail/salacca/care.html\">http://www.doae.go.th/LIBRARY/html/detail/salacca/care.html</a>     \n</p>\n<p>\nเรียบเรียงโดย น.ส. ณัฐวดี นวมศรีสงวน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719575006, expire = 1719661406, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e06b084c4a8f21d3e9094b9e095f91e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สละ

รูปภาพของ sss27418

 

 

 

 แหล่งที่มาภาพ : http://www.googig.com/html/upload/1214558298.jpg

สภาพพื้นที่

- ความลาดเอียง ไม่ควรเกิน 15%

- พื้นที่ไม่มีน้ำท่วมขัง

ลักษณะดิน

- ดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย หรือดินร่วนปนเหนียว ที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง ระบายน้ำดี

- ชั้นดินลึกไม่น้อยกว่า 1 เมตร

- ระดับน้ำใต้ดินลึกมากกว่า 50 เซนติเมตร

- มีค่าความเป็น กรด-ด่าง อยู่ระหว่าง 5.0-6.5

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 292 คน กำลังออนไลน์