• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3d45bfd7bf2a2fa6da4bfb07d724d98d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"/files/u7500/art_275510.jpg\" width=\"208\" height=\"152\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #ff6600; color: #0000ff\"> แหล่งที่มาภาพ </span>: <a href=\"http://watkomafai.igetweb.com/article/art_275510.jpg\" title=\"http://watkomafai.igetweb.com/article/art_275510.jpg\">http://watkomafai.igetweb.com/article/art_275510.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff0000\"><b>กล้วยน้ำว้า</b></span><span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff0000\"> </span> :  เป็นพืชที่คนส่วนใหญ่รู้จักดีมากที่สุด เพราะสามารถใช้ทุกส่วนของต้น ผลสามารถใช้รับประทานผลสุกและประกอบอาหารได้มากชนิด รวมทั้งผลิตภัณฑ์สามารถส่งขายทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ถ้าหากมีการปรับปรุงคุณภาพให้ดีกว่าเดิม และมีการเพิ่มปริมาณผลผลิตให้เพียงพอต่อความต้องการของตลาด จะสามารถ<span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff0000\"><b>ทำรายได้ให้ประเทศได้</b></span>มากขึ้น\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><b>ลักษณะทั่วไป</b> </span></span>: กล้วยน้ำว้าเป็นพืชล้มลุกขนาดใหญ่ สูงประมาณ 2-5 เมตร ชอบอากาศร้อนชื้นและอบอุ่น อุณหภูมิที่เหมาะไม่สมควรต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียส หรือสูงกว่า 35 องศาเซลเซียส อุณหภูมิที่ต่ำทำให้กล้วยแทงปลี(การออกดอก) ช้า ควรมีความชื้นสัมพัทธ์อย่างน้อย 60% ปริมาณฝนตกเฉลี่ย 200-220 มม./เดือน ส่วนดินที่เหมาะสมควรเป็นดินที่มีความสมบูรณ์ การระบายน้ำดี และหมุนเวียนอากาศดี มีความเป็นกรดเป็นด่างระหว่าง 4.5-7 แต่ที่ดีควรอยู่ในระดับ 6 ซึ่งจะพบทั่วๆไป ในพื้นที่แถบเอเชีย แต่ถ้าพื้นที่นั้นมีอากาศร้อนยาวนาน แต่มีการชลประทานที่ดี คือ มีน้ำสม่ำเสมอจะสามารถปลูกกล้วยได้ดี และให้ผลผลิตสม่ำเสมอ กล้วยน้ำว้าจะใช้ระยะเวลาการปลูกถึงเก็บเกี่ยวผลใช้ระยะเวลาประมาณ1 ปี จำนวน 10 หวี/เครือ ตั้งแต่ปลูกจนถึงแทงปลีใช้ระยะเวลา 250-260 วัน แทงปลีถึงระยะเก็บเกี่ยว 110-120 วัน\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff0000\">พื้นที่ควรปลูก</span></b> : ชุมพร เลย ระนอง นครราชสีมา และหนองคาย</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #800080\">วิธีการปลูก</span></b></p>\n<p>1. ควรปลูกในช่วงต้นฤดูฝน<br />\n2. ควรขุดหลุมปลูกให้มีขนาดกว้างและลึกประมาณ 50 ซม.<br />\n3. ผสมดินปุ๋ยคอกเล็กน้อย วางหน่อกล้วยลงในหลุม<br />\n4. กลบดินที่เหลือลงในหลุม<br />\n5. กดดินบริเวณโคนหน่อกล้วยให้แน่น<br />\n6. ปักไม้หลักและผูกเชือกยึด เพื่อป้องกันลมโยก<br />\n7. หาวัสดุคลุมดินบริเวณโคนต้น เช่นฟางข้าว หญ้าแห้ง<br />\n8. รดน้ำให้ชุ่ม</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #800080\">ระยะปลูก</span></b>\n</p>\n<p>\n2.5 x 3 เมตร , 2.5 x 2.5 เมตร</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #ff6600\"> การป้องกันกำจัดศัตรูพืช</span></b>\n</p>\n<p>\n- โรคใบจุด ป้องกันโดยนำไปเผา หรือใช้สารเคมีคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ หรือสารป้องกันกำจัดเชื้อรา แมนโคเซบ หรือเบนโนมิล<br />\n- ด้วงงวง ป้องกันโดยใช้สารเคมีประเภทดูดซึม เช่นโตฟอส<br />\n- หนอนม้วนใบกล้วย ป้องกันโดยใช้สารเคมีคลอไพลิฟอส<br />\n- แมลงวันผลไม้ ใช้สารล่อแมลง สารเมธิลยูลินอลผสมสารฆ่าแมลงล่อทำลายแมลงวันเพศผู้หรือ ใช้สารฆ่าแมลงมาลาไธออน หรือ ไดเมทโทเอท\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #ff6600\">การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว</span></b>\n</p>\n<p>\n- นำเครือกล้วยแขวนไว้บนราว ปล่อยให้ยางไหลจนแห้ง<br />\n- ทำความสะอาดลูกผล หรือบริเวณปลายผลที่มีกลีบแห้งติดอยู่ออกให้หมด<br />\n- ชำแหละเครือกล้วยออกเป็นหวีๆ อย่างระมัดระวัง อย่าให้รอยตัดช้ำ<br />\n- คัดเลือกผลที่มีรอยตำหนิ หวีที่ไม่ได้ขนาดออก<br />\n- จุ่มในน้ำผสมสารไธอาเบนดาโซล แล้วผึ่งลมหรือเป่าให้แห้ง<br />\n- บรรจุหีบห่อ/บรรจุลงเข่ง โดยมีใบตองรอง เพื่อป้องกันบอบช้ำ</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak-->\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff9900; color: #0000ff\"><b>  การเก็บเกี่ยว  </b></span></p>\n<p>การเก็บเกี่ยวกล้วยระยะใดขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการขนส่ง หากขนส่งไปขายไกลๆ อาจตัดกล้วยเมื่อ ความแก่ประมาณ 75 % การดูลักษณะความอ่อนแก่ของกล้วย อาจดูจากลักษณะผล เช่น ดูขนาดลูกกล้วย เหลี่ยมกล้วย หรือใช้วิธีการนับอายุจากวันแทงปลี หรือวันตัดปลี ในการตัดจะต้องพิจารณาถึงต้นสูงหรือเตี้ย ถ้าสูงก็ให้ตัดบริเวณโคนต้น เพื่อให้ต้นเอียงลงมา โดยให้อีกคนหนึ่งจับหรือรับเครือกล้วยไว้ จะต้องเหลือก้านให้ยาวพอสมควร ก็ให้นำไปยังโรงเรือนคัดบรรจุต่อไป\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff9900; color: #0000ff\"><b><span style=\"color: #0000ff\">การใส่ปุ๋ย</span></b></span></p>\n<p>- ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 หรือ 15- 15-15 อัตรา 1 กิโลกรัม/ต้น/ปี โดยแบ่งใส่ 4 ครั้ง ดังนี้<br />\nครั้งที่ 1 ใส่หลังปลูก 1 สัปดาห์<br />\nครั้งที่ 2 ใส่หลังจากครั้งที่ 1 ประมาณ 3 เดือน<br />\nครั้งที่ 3 ใส่หลังจากครั้งที่ 2 ประมาณ 3 เดือน<br />\nครั้งที่ 4 ใส่หลังจากครั้งที่ 3 ประมาณ 3 เดือน\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #ffff99; color: #800080\">แหล่งที่มาเนื้อหา</span></b> : <a href=\"http://www.doae.go.th/plant/banana.htm\" title=\"http://www.doae.go.th/plant/banana.htm\">http://www.doae.go.th/plant/banana.htm</a>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #800080\"><span style=\"background-color: #ffff99\">เรียบเรียงโดย</span></span></b> : น.ส.ณัฐวดี นวมศรีสวงน\n</p>\n<p>\n</p>\n', created = 1727559118, expire = 1727645518, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3d45bfd7bf2a2fa6da4bfb07d724d98d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0d16d675f536df00d5fbe6a8f09e67f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff9900; color: #0000ff\"><b>  การเก็บเกี่ยว  </b></span></p>\n<p>การเก็บเกี่ยวกล้วยระยะใดขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการขนส่ง หากขนส่งไปขายไกลๆ อาจตัดกล้วยเมื่อ ความแก่ประมาณ 75 % การดูลักษณะความอ่อนแก่ของกล้วย อาจดูจากลักษณะผล เช่น ดูขนาดลูกกล้วย เหลี่ยมกล้วย หรือใช้วิธีการนับอายุจากวันแทงปลี หรือวันตัดปลี ในการตัดจะต้องพิจารณาถึงต้นสูงหรือเตี้ย ถ้าสูงก็ให้ตัดบริเวณโคนต้น เพื่อให้ต้นเอียงลงมา โดยให้อีกคนหนึ่งจับหรือรับเครือกล้วยไว้ จะต้องเหลือก้านให้ยาวพอสมควร ก็ให้นำไปยังโรงเรือนคัดบรรจุต่อไป\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff9900; color: #0000ff\"><b><span style=\"color: #0000ff\">การใส่ปุ๋ย</span></b></span></p>\n<p>- ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 หรือ 15- 15-15 อัตรา 1 กิโลกรัม/ต้น/ปี โดยแบ่งใส่ 4 ครั้ง ดังนี้<br />\nครั้งที่ 1 ใส่หลังปลูก 1 สัปดาห์<br />\nครั้งที่ 2 ใส่หลังจากครั้งที่ 1 ประมาณ 3 เดือน<br />\nครั้งที่ 3 ใส่หลังจากครั้งที่ 2 ประมาณ 3 เดือน<br />\nครั้งที่ 4 ใส่หลังจากครั้งที่ 3 ประมาณ 3 เดือน\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"background-color: #ffff99; color: #800080\">แหล่งที่มาเนื้อหา</span></b> : <a href=\"http://www.doae.go.th/plant/banana.htm\" title=\"http://www.doae.go.th/plant/banana.htm\">http://www.doae.go.th/plant/banana.htm</a>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #800080\"><span style=\"background-color: #ffff99\">เรียบเรียงโดย</span></span></b> : น.ส.ณัฐวดี นวมศรีสวงน\n</p>\n<p>\n</p>\n', created = 1727559118, expire = 1727645518, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0d16d675f536df00d5fbe6a8f09e67f5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กล้วย banana

รูปภาพของ sss27418

  การเก็บเกี่ยว 

การเก็บเกี่ยวกล้วยระยะใดขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการขนส่ง หากขนส่งไปขายไกลๆ อาจตัดกล้วยเมื่อ ความแก่ประมาณ 75 % การดูลักษณะความอ่อนแก่ของกล้วย อาจดูจากลักษณะผล เช่น ดูขนาดลูกกล้วย เหลี่ยมกล้วย หรือใช้วิธีการนับอายุจากวันแทงปลี หรือวันตัดปลี ในการตัดจะต้องพิจารณาถึงต้นสูงหรือเตี้ย ถ้าสูงก็ให้ตัดบริเวณโคนต้น เพื่อให้ต้นเอียงลงมา โดยให้อีกคนหนึ่งจับหรือรับเครือกล้วยไว้ จะต้องเหลือก้านให้ยาวพอสมควร ก็ให้นำไปยังโรงเรือนคัดบรรจุต่อไป

การใส่ปุ๋ย

- ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 หรือ 15- 15-15 อัตรา 1 กิโลกรัม/ต้น/ปี โดยแบ่งใส่ 4 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 ใส่หลังปลูก 1 สัปดาห์
ครั้งที่ 2 ใส่หลังจากครั้งที่ 1 ประมาณ 3 เดือน
ครั้งที่ 3 ใส่หลังจากครั้งที่ 2 ประมาณ 3 เดือน
ครั้งที่ 4 ใส่หลังจากครั้งที่ 3 ประมาณ 3 เดือน

แหล่งที่มาเนื้อหา : http://www.doae.go.th/plant/banana.htm

เรียบเรียงโดย : น.ส.ณัฐวดี นวมศรีสวงน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 259 คน กำลังออนไลน์