• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:090fdcfc99f0ff8eb5c0746299084385' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>1.5<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">   </span></span></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>  </span><span lang=\"TH\">การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม</span><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>จากที่กล่าวมาแล้วเป็นการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมภายใน<span>  </span>นอกจากนี้พืชยังสามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอกต่างๆ ได้ <span> </span>สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและกระตุ้นให้พืชตอบสนองนี้ เรียกว่า <b>สิ่งเร้า</b> โดยทั่วไปปัจจัยกระตุ้นจะชักนำให้กระบวนการในพืชดำเนินไป<span>  </span>แม้ว่าปัจจัยกระตุ้นนั้นอาจไม่อยู่ในสภาพเริ่มต้น หรือหมดไปแล้ว เช่น ปลายยอดจะเจริญโค้งเข้าหาแสงแม้ว่าแสงที่กระตุ้นในช่วงแรกนั้นจะไม่มีแล้ว</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>การตอบสนองของพืชต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอกจะมีกระบวนการเช่นเดียวกับกระบวนการสื่อสารระหว่างเซลล์ที่นักเรียนทราบมาแล้วดังนี้</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span><b>การรับสัญญาณ</b> คือ การที่พืชหรือส่วนของพืชรับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายใน<span>  </span>และปัจจัยภายนอกที่มากระตุ้น เช่น กลไกการรับแสงของสารสีในกระบวนการตอบสนองต่อทิศทางของแสง เป็นต้น</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>        </span><b><span> </span>การส่งสัญญาณ</b> คือ การที่กลไกรับสัญญาณในพืชส่งสัญญาณที่รับได้ไปให้เซลล์ในส่วนของพืชที่ตอบสนองต่อปัจจัยกระตุ้นนั้น ในช่วงศตวรรษนี้นักวิจัยได้พยายามศึกษาลักษณะของสัญญาณที่ส่งไป ซึ่งรวมทั้งกระแสไฟฟ้า และสารเคมีต่างๆ เช่น ฮอร์โมนพืช เป็นต้น</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span><b>การตอบสนองของพืช</b> คือ การเปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆของพืชที่ทำให้เกิดการตอบสนองต่อปัจจัยกระตุ้น</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>พืชตอบสนองต่อปัจจัยกระตุ้นในหลายรูปแบบ<span>  </span>ซึ่งรวมทั้งการตอบสนองทางชีวเคมี สรีรวิทยา<span>  </span>สัณฐานวิทยา<span>  </span>เป็นต้น แต่การตอบสนองที่สามารถสังเกตได้ง่ายที่สุดคือ การเคลื่อนไหว</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>          </span>การเคลื่อนไหวของพืชชั้นสูง<span>  </span>สามารถแบ่งลักษณะการตอบสนองต่อปัจจัยกระตุ้นได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">1.<span lang=\"TH\"><span>  </span>ทรอปิกมูฟเมนต์</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> (</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">tropic<span>  </span>movement<span lang=\"TH\">) เป็นการเคลื่อนไหวของพืชที่เกิดจากการเจริญเติบโตอย่างมีทิศทาง โดยทิศทางของการเคลื่อนไหวของพืชถูกกำหนดโดยทิศทางของปัจจัยภายนอกที่มากระตุ้น<span>  </span>เช่น<span>  </span><b>การตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลก</b><span>  </span>(</span>gravitropism<span lang=\"TH\">) การตอบสนองต่อทิศทางของแสง<span>  </span>ในกรณีที่พืชเคลื่อนไหวเข้าหาปัจจัยกระตุ้นจะเรียกว่า<span>  </span><b>โพสซิทิฟโทรพิซึม</b><span>  </span>(</span>positive<span>  </span>tropism<span lang=\"TH\">) ส่วนกรณีที่พืชเคลื่อนไหวออกจากปัจจัยกระตุ้นจะเรียกว่า <b>เนกะทิฟโทรพิซึม</b><span>  </span>(</span>negative<span>  </span>tropism<span lang=\"TH\">) </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>         </span><b><span lang=\"TH\">การตอบสนองต่อการสัมผัสสิ่งเร้า</span></b><span lang=\"TH\"><span>  </span>(</span>thigmotropism<span lang=\"TH\">)<span>  </span>เช่น การเจริญของมือเกาะของตำลึง<span>  </span>กะทกรก<span>  </span>หรือพืชตระกูลแตง<span>  </span>เมื่อสัมผัสกับสิ่งเร้า<span>  </span><b>การตอบสนองตอความชื้นจากน้ำ</b><span>  </span>(</span>hydrotropism<span lang=\"TH\">)<span>  </span>เช่น <b>การงอกเข้าหาน้ำของราก</b> (</span>positive<span>  </span>hydrotropism<b><span lang=\"TH\">)<span>  </span>การตอบสนองต่อสารเคมี</span></b><span lang=\"TH\">(</span>chemotropism<span lang=\"TH\">) เช่น การงอกของหลอดละอองเรณูไปยังรังไข่ของพืชดอกเพื่อเข้าหาสารเคมีที่เป็นสิ่งเร้า <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>         </span>2.<span>  </span><span lang=\"TH\">แนสติกมูฟเมนต์</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> (</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">nastic<span>  </span>movement<span lang=\"TH\">) เป็นการตอบสนองของพืชที่ทิศทางของการเคลื่อนไหวของพืชไม่ถูกกำหนดโดยทิศทางของปัจจัยภายนอกที่มากระตุ้น<span>  </span>เช่น<span>  </span>การหุบและการบานของดอก เป็นต้น ปัจจัยภายนอกที่สำคัญ ได้แก่ แสงและอุณหภูมิ และกลไกการตอบสนองของพืชอาจเกิดได้จากการเจริญเติบโตที่แตกต่างกันของส่วนต่างๆ หรืออาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเต่งของเซลล์พิเศษ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\">  </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u16635/2.jpg\" height=\"478\" />\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>  </span><span>       </span><span lang=\"TH\">การหุบของดอกบัวในตอนกลางคืนและบานในเวลากลางวัน หรือการหุบของดอกกระบองเพชรในเวลากลางวัน<span>  </span>และบานในเวลากลางคืนเพราะเป็นการตอบสนองต่อแสงซึ่งเป็นสิ่งเร้า<span>  </span>การที่ดอกไม้หุบหรือบานได้นั้น<span>  </span>เนื่องจากกลุ่มเซลล์ด้านนอก<span>  </span>และด้านในของกลีบดอกมีการขยายขนาดได้ไม่เท่ากัน<span>  </span>การบานของดอกไม้เกิดจากกลุ่มเซลล์ด้านในของกลีบดอกขยายขนาดมากกว่าด้านนอก และดอกไม้จะหุบเมื่อกลุ่มเซลล์ด้านนอกของกลีบดอกขยายขนาดมากกว่าด้านใน</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\">  </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u16635/untitled.jpg\" height=\"247\" />\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>นอกจากนี้พืชยังมีการตอบสนองต่ออุณหภูมิของอากาศได้ เช่น<span>  </span>ดอกมะลิ<span>  </span>จะบานเมื่ออากาศอบอุ่น จะหุบเมื่ออากาศเย็น</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>พืชบางชนิดสามารถตอบสนองต่อการสัมผัสได้เร็ว<span>  </span>โดยการสัมผัสจะไปทำให้มีการเปลี่ยนแปลงแรงดันเต่งภายในเซลล์ซึ่งเป็นไปอย่างรวดเร็วแต่ไม่ถาวร<span>  </span>เช่น<span>  </span>ใบของต้นไมยราบแตะเพียงเบาๆ ใบจะหุบเข้าหากันอย่างรวดเร็ว</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u16635/1.jpg\" height=\"357\" />\n</div>\n<p> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>เมื่อนำโคนก้านใบของไมยราบมาศึกษา พบว่า ที่โคนก้านใบมีลักษณะพองออกเป็นกระเปาะเรียกว่า<span>  </span><b>พัลไวนัส</b><span>  </span>(</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">pulvinus<span lang=\"TH\">) ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ผนังบางมีความไวสูงต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น<span>  </span>เช่น<span>  </span>การสัมผัส การกระตุ้นดังกล่าวจะมีผลทำให้แรงดันเต่งของเซลล์กลุ่มนี้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว<span>  </span>คือ<span>  </span>เซลล์จะสูญเสียน้ำให้กับเซลล์ข้างเคียงใบจึงหุบทันที เมื่อเวลาผ่านไปน้ำจากเซลล์ข้างเคียงจะแพร่กลับเข้ามาในเซลล์อีกครั้งหนึ่ง ทำให้เซลล์เต่ง และใบกางออกดังเดิม</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>นอกจากต้นไมยราบแล้วยังมีพืชที่มีความไวต่อการสัมผัส ได้แก่ กาบหอยแครง จะมีกลุ่มเซลล์ที่ไวต่อสิ่งเร้าอยู่ทางด้านในของใบ เมื่อแมลงบินมาถูกก็จะตอบสนองโดยหุบใบในทันทีพร้อมทั้งปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยแมลงแล้วดูดซึมธาตุอาหารที่พืชต้องการไปใช้ได้</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>        </span><span lang=\"TH\">ในพืชตระกูลถั่ว<span>  </span>เช่น<span>  </span>จามจุรี<span>  </span>กระถิน<span>  </span>แค<span>  </span>ผักกระเฉด<span>  </span>ถั่วต่างๆ<span>  </span>มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงต่อความเข้มของแสงจึงพบว่า ใบจะหุบในเวลาพลบค่ำที่เรียกว่า<span>  </span>ต้นไม้นอน<span>  </span>และกางใบออกเวลารุ่งเช้าที่มีแสงสว่าง</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>        </span>การเคลื่อนไหวของพืชที่ไม่เกี่ยวข้องกับแรงดันเต่งของเซลล์พืช<span>  </span>เช่น<span>  </span>การหมุนแกว่งของยอดพืชขณะที่มีการเจริญเติบโตที่ปลายยอดพืช<span>  </span>อันเนื่องมาจากปลายยอดมีการแบ่งเซลล์สองด้านของลำต้นไม่เท่ากัน เรียกการเคลื่อนไหวแบบนี้ว่า<span>  </span><b>นิวเทชันมูฟเมนต์ </b>(</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">nutation movement<span lang=\"TH\">) </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>        </span>ยอดพืชทุกชนิดมีการเคลื่อนไหวแบบนี้<span>  </span>แต่จะเห็นได้ชัดเจนในพืชที่มีลำต้นพันหลัก</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>        </span>จากการศึกษาการตอบสนองของพืชคงพอจะทำให้นักเรียนเข้าใจถึงการปรับตัวในการดำรงชีวิตของพืช<span>  </span>เพื่อสามารถในการเจริญเติบโตอยู่ในสิ่งแวดล้อมต่างๆ<span>  </span>ได้เป็นอย่างดีนั่นเอง<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>         </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></p>\n', created = 1715819767, expire = 1715906167, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:090fdcfc99f0ff8eb5c0746299084385' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

1.5 การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม

รูปภาพของ msw6990

1.5     การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม         จากที่กล่าวมาแล้วเป็นการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมภายใน  นอกจากนี้พืชยังสามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอกต่างๆ ได้  สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปและกระตุ้นให้พืชตอบสนองนี้ เรียกว่า สิ่งเร้า โดยทั่วไปปัจจัยกระตุ้นจะชักนำให้กระบวนการในพืชดำเนินไป  แม้ว่าปัจจัยกระตุ้นนั้นอาจไม่อยู่ในสภาพเริ่มต้น หรือหมดไปแล้ว เช่น ปลายยอดจะเจริญโค้งเข้าหาแสงแม้ว่าแสงที่กระตุ้นในช่วงแรกนั้นจะไม่มีแล้ว         การตอบสนองของพืชต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอกจะมีกระบวนการเช่นเดียวกับกระบวนการสื่อสารระหว่างเซลล์ที่นักเรียนทราบมาแล้วดังนี้         การรับสัญญาณ คือ การที่พืชหรือส่วนของพืชรับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายใน  และปัจจัยภายนอกที่มากระตุ้น เช่น กลไกการรับแสงของสารสีในกระบวนการตอบสนองต่อทิศทางของแสง เป็นต้น         การส่งสัญญาณ คือ การที่กลไกรับสัญญาณในพืชส่งสัญญาณที่รับได้ไปให้เซลล์ในส่วนของพืชที่ตอบสนองต่อปัจจัยกระตุ้นนั้น ในช่วงศตวรรษนี้นักวิจัยได้พยายามศึกษาลักษณะของสัญญาณที่ส่งไป ซึ่งรวมทั้งกระแสไฟฟ้า และสารเคมีต่างๆ เช่น ฮอร์โมนพืช เป็นต้น         การตอบสนองของพืช คือ การเปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆของพืชที่ทำให้เกิดการตอบสนองต่อปัจจัยกระตุ้น         พืชตอบสนองต่อปัจจัยกระตุ้นในหลายรูปแบบ  ซึ่งรวมทั้งการตอบสนองทางชีวเคมี สรีรวิทยา  สัณฐานวิทยา  เป็นต้น แต่การตอบสนองที่สามารถสังเกตได้ง่ายที่สุดคือ การเคลื่อนไหว          การเคลื่อนไหวของพืชชั้นสูง  สามารถแบ่งลักษณะการตอบสนองต่อปัจจัยกระตุ้นได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่          1.  ทรอปิกมูฟเมนต์ (tropic  movement) เป็นการเคลื่อนไหวของพืชที่เกิดจากการเจริญเติบโตอย่างมีทิศทาง โดยทิศทางของการเคลื่อนไหวของพืชถูกกำหนดโดยทิศทางของปัจจัยภายนอกที่มากระตุ้น  เช่น  การตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลก  (gravitropism) การตอบสนองต่อทิศทางของแสง  ในกรณีที่พืชเคลื่อนไหวเข้าหาปัจจัยกระตุ้นจะเรียกว่า  โพสซิทิฟโทรพิซึม  (positive  tropism) ส่วนกรณีที่พืชเคลื่อนไหวออกจากปัจจัยกระตุ้นจะเรียกว่า เนกะทิฟโทรพิซึม  (negative  tropism)          การตอบสนองต่อการสัมผัสสิ่งเร้า  (thigmotropism)  เช่น การเจริญของมือเกาะของตำลึง  กะทกรก  หรือพืชตระกูลแตง  เมื่อสัมผัสกับสิ่งเร้า  การตอบสนองตอความชื้นจากน้ำ  (hydrotropism)  เช่น การงอกเข้าหาน้ำของราก (positive  hydrotropism)  การตอบสนองต่อสารเคมี(chemotropism) เช่น การงอกของหลอดละอองเรณูไปยังรังไข่ของพืชดอกเพื่อเข้าหาสารเคมีที่เป็นสิ่งเร้า          2.  แนสติกมูฟเมนต์ (nastic  movement) เป็นการตอบสนองของพืชที่ทิศทางของการเคลื่อนไหวของพืชไม่ถูกกำหนดโดยทิศทางของปัจจัยภายนอกที่มากระตุ้น  เช่น  การหุบและการบานของดอก เป็นต้น ปัจจัยภายนอกที่สำคัญ ได้แก่ แสงและอุณหภูมิ และกลไกการตอบสนองของพืชอาจเกิดได้จากการเจริญเติบโตที่แตกต่างกันของส่วนต่างๆ หรืออาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเต่งของเซลล์พิเศษ 

          การหุบของดอกบัวในตอนกลางคืนและบานในเวลากลางวัน หรือการหุบของดอกกระบองเพชรในเวลากลางวัน  และบานในเวลากลางคืนเพราะเป็นการตอบสนองต่อแสงซึ่งเป็นสิ่งเร้า  การที่ดอกไม้หุบหรือบานได้นั้น  เนื่องจากกลุ่มเซลล์ด้านนอก  และด้านในของกลีบดอกมีการขยายขนาดได้ไม่เท่ากัน  การบานของดอกไม้เกิดจากกลุ่มเซลล์ด้านในของกลีบดอกขยายขนาดมากกว่าด้านนอก และดอกไม้จะหุบเมื่อกลุ่มเซลล์ด้านนอกของกลีบดอกขยายขนาดมากกว่าด้านใน 

          นอกจากนี้พืชยังมีการตอบสนองต่ออุณหภูมิของอากาศได้ เช่น  ดอกมะลิ  จะบานเมื่ออากาศอบอุ่น จะหุบเมื่ออากาศเย็น         พืชบางชนิดสามารถตอบสนองต่อการสัมผัสได้เร็ว  โดยการสัมผัสจะไปทำให้มีการเปลี่ยนแปลงแรงดันเต่งภายในเซลล์ซึ่งเป็นไปอย่างรวดเร็วแต่ไม่ถาวร  เช่น  ใบของต้นไมยราบแตะเพียงเบาๆ ใบจะหุบเข้าหากันอย่างรวดเร็ว 

          เมื่อนำโคนก้านใบของไมยราบมาศึกษา พบว่า ที่โคนก้านใบมีลักษณะพองออกเป็นกระเปาะเรียกว่า  พัลไวนัส  (pulvinus) ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ผนังบางมีความไวสูงต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น  เช่น  การสัมผัส การกระตุ้นดังกล่าวจะมีผลทำให้แรงดันเต่งของเซลล์กลุ่มนี้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว  คือ  เซลล์จะสูญเสียน้ำให้กับเซลล์ข้างเคียงใบจึงหุบทันที เมื่อเวลาผ่านไปน้ำจากเซลล์ข้างเคียงจะแพร่กลับเข้ามาในเซลล์อีกครั้งหนึ่ง ทำให้เซลล์เต่ง และใบกางออกดังเดิม         นอกจากต้นไมยราบแล้วยังมีพืชที่มีความไวต่อการสัมผัส ได้แก่ กาบหอยแครง จะมีกลุ่มเซลล์ที่ไวต่อสิ่งเร้าอยู่ทางด้านในของใบ เมื่อแมลงบินมาถูกก็จะตอบสนองโดยหุบใบในทันทีพร้อมทั้งปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยแมลงแล้วดูดซึมธาตุอาหารที่พืชต้องการไปใช้ได้        ในพืชตระกูลถั่ว  เช่น  จามจุรี  กระถิน  แค  ผักกระเฉด  ถั่วต่างๆ  มีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงต่อความเข้มของแสงจึงพบว่า ใบจะหุบในเวลาพลบค่ำที่เรียกว่า  ต้นไม้นอน  และกางใบออกเวลารุ่งเช้าที่มีแสงสว่าง        การเคลื่อนไหวของพืชที่ไม่เกี่ยวข้องกับแรงดันเต่งของเซลล์พืช  เช่น  การหมุนแกว่งของยอดพืชขณะที่มีการเจริญเติบโตที่ปลายยอดพืช  อันเนื่องมาจากปลายยอดมีการแบ่งเซลล์สองด้านของลำต้นไม่เท่ากัน เรียกการเคลื่อนไหวแบบนี้ว่า  นิวเทชันมูฟเมนต์ (nutation movement)         ยอดพืชทุกชนิดมีการเคลื่อนไหวแบบนี้  แต่จะเห็นได้ชัดเจนในพืชที่มีลำต้นพันหลัก        จากการศึกษาการตอบสนองของพืชคงพอจะทำให้นักเรียนเข้าใจถึงการปรับตัวในการดำรงชีวิตของพืช  เพื่อสามารถในการเจริญเติบโตอยู่ในสิ่งแวดล้อมต่างๆ  ได้เป็นอย่างดีนั่นเอง          

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 172 คน กำลังออนไลน์