• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('โคลงสามสุภาพ', 'node/46461', '', '3.15.22.163', 0, 'b9bdba7d87a556cf6dfbe4363bf4678b', 165, 1715939168) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5627e51d31221d0b37fbe12ac0f0064a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เฉลยกิจกรรม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>     </span>1.1<span>   </span>เนื้อเยื่อรากและลำต้นของพืชใบเลี้ยงคู่</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตอบ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<table border=\"1\" width=\"560\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"width: 419.8pt; border-collapse: collapse; border: medium none\" class=\"MsoTableGrid\">\n<tbody>\n<tr style=\"height: 11.65pt\">\n<td width=\"187\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 5.4pt; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; width: 139.9pt; padding-top: 0cm; height: 11.65pt; background-color: transparent; border: windowtext 1pt solid\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ข้อเปรียบเทียบ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n<td width=\"187\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #fafafa; width: 139.95pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 11.65pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เนื้อเยื่อรากพืชใบเลี้ยงคู่</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n<td width=\"187\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #fafafa; width: 139.95pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 11.65pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เนื้อเยื่อลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n</tr>\n<tr style=\"height: 587.2pt\">\n<td width=\"187\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #fafafa; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 139.9pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 587.2pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. เอพิเดอร์มิส</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">\n<p> <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">2. คอร์เทกซ์</span><span>                    </span><span>               </span><o:p></o:p></span></p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3. เอนโดเดอร์มิส</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4.สตีล</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">5. วาสคิวลาร์บันเดิล</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">6. พิธ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n<td width=\"187\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #fafafa; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #fafafa; width: 139.95pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 587.2pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. มีชั้นเดียวอยู่ชั้นนอกสุดของเซลล์บางเซลล์เปลี่ยนแปลงไปเป็นขนราก</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">2. <span lang=\"TH\">มีชั้นคอร์เทกซ์อยู่ถัดชั้นเอพิเดอร์มิสเข้ามา<span>   </span>ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อพาเรงคิมา<o:p></o:p></span></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3. มีเอนโดเดอร์มิส<span>  </span>เป็นกลุ่มเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวอยู่ถัดจากกลุ่มเนื้อเยื่อคอเทกซ์เข้าไป</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4. มีชั้นสตีล<span>  </span>แต่ในรากจะแคบกว่าชั้นคอร์เทกซ์<span>  </span>และแบ่งแยกจากชั้นคอร์เทกซ์เห็นได้ชัดเจน</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">5. <span lang=\"TH\">มีวาสคิวลาร์บันเดิล<span>  </span>เป็นกลุ่มเซลล์พวกสตีลประกอบด้วย</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ไซเลมอยู่ตรงกลางเรียงเป็นแฉกมีโฟลเอ็มอยู่ระหว่างแฉก<span>  </span>และมีเนื้อเยื่อวาสคิวลาร์แคมเบียมคั่นระหว่างไซเลมและโฟลเอ็ม</span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">\n<p> <o:p></o:p></p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">6. <span lang=\"TH\">ไม่มีพิธ<span>  </span>เนื่องจากในรากพืชใบเลี้ยง<span>   </span>ตรงกลางมักเป็นไซเลมที่เรียงออกมาเป็นแฉกๆ<o:p></o:p></span></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </td>\n<td width=\"187\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #fafafa; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #fafafa; width: 139.95pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 587.2pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. มีชั้นเดียวเรียงอยู่ชั้นนอกสุดของเซลล์<span>   </span>เอพิเดอร์มิสบางเซลล์เปลี่ยนแปลงไปเป็นขน<span>  </span>หนามรือเป็นเซลล์คุม</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2. มีชั้นคอร์เทกซ์<span>  </span>เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ถัดจากเอพิเดอร์มิสเข้ามาประกอบด้วยเซลล์หลายชั้นมีเนื้อเยื่อคอลเลงคิมา<span>  </span>พาเลงคิมา<o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">3.ส่วนใหญ่ไม่มี<o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">4. มีชั้นสตีล<span>  </span>แต่ในลำต้นจะกว้างกว่าในรากและแบ่งแยกจากชั้นของคอร์เทกซ์ดห็นได้ไม่ชัดเจน<o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">5. มีวาสคิวลาร์บันเดิล<span>  </span>โดยทั่วไปประกอบด้วยไซเลมอยู่ด้านในและโฟลเอ็มอยู่ด้านนอกเรียงตัวในแนวรัศมีเดียวกัน<span>  </span>โดยมีวาสคิวลาร์แคมเบียมคั่นระหว่างกลาง<o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">6. มีพิธ<span>  </span>ส่วนใหญ่เป็นไส้ในของลำต้น<o:p></o:p></span></span> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>     </span><span lang=\"TH\">1.2<span>   </span>ไซเลมกับโฟลเอ็ม<o:p></o:p></span></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>ตอบ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<table border=\"1\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"border-collapse: collapse; border: medium none\" class=\"MsoTableGrid\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 5.4pt; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; background-color: transparent; border: windowtext 1pt solid\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไซเลม</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #fafafa; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โฟลเอม</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n</tr>\n<tr style=\"height: 176.5pt\">\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #fafafa; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 176.5pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. ประกอบด้วยเนื้เยื่อ 4 ชนิด คือ เทรคีด<span>   </span>เวสเซล<span>   </span>พาเรงคิมา<span>  </span>และไฟเบอร์</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2. ไซเลมเรียงตัวอยู่ด้านในของมัเท่อลำเลียง</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3. เนื้อเยื่อไซเลมเมื่อเจริญต่อไป คือ ส่วนของเนื้อไม้</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4. ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำ<span>  </span>และธาตุอาหารจากดินไปสู่ส่วนต่างๆของพืช</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #fafafa; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #fafafa; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 176.5pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1.<span>  </span>ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 4 ชนิด คือ ซีฟทิวบ์</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>  </span><span lang=\"TH\">เซลล์คอมพาเนียน<span>  </span>พาเรงคิมา<span>  </span>และไฟเบอร์<o:p></o:p></span></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2. โฟลเอ็มเรียงตัวอยู่ด้านนอกของมัดท่อลำเลียง<o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">3. เนื้อเยื่อโฟลเอ็มเจริญต่อไปส่วนนี้ คือ ส่วนเปลือกไม้<o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">4. ทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารที่พืชสร้างจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงไปยังส่วนต่างๆของพืช<o:p></o:p></span></span> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>    </span><span> </span>1.3<span>    </span>รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับรากพืชใบเลี้ยงคู่<o:p></o:p></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตอบ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<table border=\"1\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"border-collapse: collapse; border: medium none\" class=\"MsoTableGrid\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 5.4pt; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; background-color: transparent; border: windowtext 1pt solid\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #fafafa; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รากพืชใบเลี้ยงคู่</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n</tr>\n<tr style=\"height: 250.9pt\">\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #fafafa; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 250.9pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. มีขนราก</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2. มีไซเลมเรียงแฉกมากกว่า 6 แฉก</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3. ไม่มีเนื้อเยื่อวาสคิวลาร์แคมเบียมอยู่ระหว่างไซเลมกับโฟลเอ็ม<span>  </span>จึงไม่มีการเจริญเติบโตขั้นที่สอง</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4. ไม่มีคอร์ก<span>  </span>และคอร์กแคมเบียม</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">5. เอนโดเดอร์มิสเห็นเป็นแนวชัดเจนดี<span>  </span>และเห็นแคสพาเรียนสตริพเด่นชัดกว่าในรากพืชใบเลี้ยงคู่</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #fafafa; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #fafafa; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 250.9pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. มีขนรากในช่วงที่เมล็ดงอกใหม่<span>  </span>เมื่อเจริญเติบโตแล้ว<span>  </span>ไม่มีขนราก</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2. มีไซเลมเรียงเป็นแฉก 3-4 แฉก</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3. มีเนื้อเยื่อวาสคิวลาร์แคมเบียมอยู่ระหว่างไซเลมและโฟลเอ็ม<span>  </span>เพื่อให้กำเนิดเนื้อเยื่อที่เจริญเติบโตขั้นที่สอง</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4. ถ้าเป็นไม้ยืนต้นจะมีคอร์ก<span>  </span>และคอร์กแคมเบียม</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">5. เอนโดเดอร์มิสเรียงชั้นเดียว<span>  </span>มีผนังค่อนข้างหนา<span>  </span>และมีเม็ดแป้งมากส่วนใหญ่มักเห็นเอนโดเดอร์มิสไม่ชัดหรือไม่มีชัดหรือไม่มีเลย</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>   </span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>     </span><span lang=\"TH\"><span> </span>1.4<span>    </span>เอนโดเดอร์มิส<span>   </span>และเอพิเดอร์มิส</span><o:p></o:p></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตอบ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<table border=\"1\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"border-collapse: collapse; border: medium none\" class=\"MsoTableGrid\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"padding-right: 5.4pt; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; background-color: transparent; border: windowtext 1pt solid\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เอพิเดอร์มิส</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #fafafa; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เอนโดเดอร์มิส</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n</tr>\n<tr style=\"height: 140.6pt\">\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #fafafa; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: windowtext 1pt solid; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 140.6pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. เป็นกลุ่มเซลล์อยู่ผิวนอกสุดในส่วนต่างๆของพืช </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ส่วนใหญ่เซลล์เรียงเป็นชั้นเดียว<o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2. รูปร่างเซลล์มีได้หลายแบบอาจเป็นเหลี่ยมหรือรูปเซลล์หยักไปมา<span>  </span>บางเซลล์เปลี่ยนเป็นเซลล์คุม<span>  </span>ขน<span>  </span>หนาม<span>  </span>หรือต่อม<o:p></o:p></span></span> </td>\n<td width=\"284\" vAlign=\"top\" style=\"border-right: windowtext 1pt solid; padding-right: 5.4pt; border-top: #fafafa; padding-left: 5.4pt; padding-bottom: 0cm; border-left: #fafafa; width: 213.05pt; padding-top: 0cm; border-bottom: windowtext 1pt solid; height: 140.6pt; background-color: transparent\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">1. เป็นกลุ่มเซลล์ที่อยู่ชั้นในสุดของคอร์เทกซ์เซลล์เรียงเป็นชั้นเดียว</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2. เซลล์ส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็นเหลี่ยมเรียงเป็นวง<span>  </span>อาจมีแคสพาเรียนสตรีพ</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\">  </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2.  ตอบ<span>  </span>ทำให้พืชไม่สามารถคายน้ำ<span>  </span>แก็ส </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">CO<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">และแก็ส </span>O<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">ที่ได้จากกระบวนการเมแทบอลิทึมของเซลล์ออกไป<span>  </span><span style=\"color: #ffffff\">ฟ</span><span>      </span><span>    </span><span style=\"color: #ffffff\">ฟ</span><span>      </span>ได้<span>   </span>ในทางกลับกันพืชไม่สามารถรับแก็ส </span>CO<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">และแก็ส </span>O<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">ผ่านเข้าไปสู่ใบหรือลำต้นที่มีสีเขียวได้</span><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>จึงมีผลต่อการดำรงชีวิตของพืช<o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3.  </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตอบ<span>  </span>วิธีการจำแนกอาจใช้หลักเกณฑ์ดังนี้</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>      </span><span>   </span></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span>1. จำแนกใบออกเป็นใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยว</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>          </span>2. จำแนกใบเดี่ยวหรือใบประกอบ<span>  </span>โดยอาศัยหลักเกณฑ์การสังเกตใบเดี่ยว<span>  </span>ใบประกอบที่เคยศึกษามาแล้ว</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4.1   ตอบ<span>  </span>เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการดูดน้ำ<span>  </span>และการคายน้ำของพืช</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4.2   ตอบ<span>  </span>วัดระดับน้ำในหลอดที่ลดลง</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> 4.3   ตอบ<span>  </span>หลอดที่ 1 3 5 และ 6 ปริมาณน้ำในหลอดไม่ลดลง<span>  </span>เพราะไม่มีการคายน้ำออกสู่บรรยากาศ<span>  </span>เนื่องจากหลอด<span>           </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> 4.4  ตอบ<span>  </span>เพิ่มหลอดทดลองที่ 7 เหมือนกับหลอดที่ 3 แต่ใช้เยลลี่ทาที่รอยตัดด้านล่างด้วย</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">4.5  ตอบ<span>  </span>ทำการทดลองเช่นเดียวกันนี้ 2 ชุด</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>         </span><span lang=\"TH\">ชุดที่ 1 ให้ความเข้มของแสงมาก</span><o:p></o:p></span> </span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>         </span>ชุดที่ 2 ให้ความเข้มของแสงน้อย<span>  </span>โดยให้แสงส่องผ่านน้ำเพื่อควบคุมอุณหภูมิทั้ง 2 ชุด</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">5.   ตอบ<span>  </span>แสดงว่าในดินทีปลูกมีธาตุไนโตรเจนมาก<span>  </span>ธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของสารภายในเซลล์<span>  </span><span>      </span>โดยเฉพาะคลอโรฟิลล์ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของลำต้น<span>  </span>ใบ<span>  </span>หัว<span>  </span>ฉะนั้นพืชที่ได้รับปริมาณธาตุไนโตรเจนมาก<span>     </span>เกินไป<span>  </span>พืชจะเจริญเติบโตโดยแตกใบมากแบบที่ชาวบ้านเรียกว่าเฝือใบ<span>  </span>หรือบ้าใบและสีใบจะมีสีเขียวเข้ม</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">6.1  ตอบ<span>  </span>หมายเลข 1 และ 2 คือ<span>  </span>เนื้อเยื่อไซเลมขั้นที่ 2<span>  </span>เกิดจากการแบ่งเซลล์ของวาสคิวลาร์ แคมเบียม<span>  </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> 6.2  </span>ตอบ<span>  </span>เนื้อเยื่อหมายเลข<span>  </span>1<span>  </span>เจริญมาก่อนเนื้อเยื่อหมายเลข<span>  </span>2<span>  </span>ฉะนั้นกลุ่มเนื้อเยื่อหมายเลข<span>  </span>1<span>  </span>น่าจะเป็นกลุ่มเซลล์ไซเลมที่ไม่มีชีวิต<span>  </span>และอาจมีสารพวกลิกนินมาพอกเพิ่มความเข็งแรงให้กับเนื้อไม้<span>  </span>เนื้อไม้ส่วนนี้อยู่ในกลุ่มแก่นไม้<span>  </span>ส่วนเนื้อเยื่อหมายเลข<span>  </span>2<span>  </span>เป็นกลุ่มเนื้อเยื่อไซเลมที่เกิดภายหลัง<span>  </span>กลุ่มเซลล์เหล่านี้อาจยังคงมีชีวิตอยู่และยังทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหารอยู่ยังไม่มีสารพวกลิกนินมาพอก<span>  </span>เนื้อไม้ใน<span>  </span>หมายเลข 2 จึงเรียกว่า<span>  </span>กระพี้ไม้<span>  </span>ความแข็งแรงของเนื้อไม้ในชั้นนี้จึงแข็งแรงน้อยกว่าเนื้อไม้ในหมายเลข<span>  </span>1<o:p></o:p></span> </o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>  6.3   </span><span lang=\"TH\">ตอบ<span>  </span>พืชต้นนี้เป็นพืชใบเลี้ยงคู่<span>  </span>อายุประมาณ<span>  </span>7 </span>–<span lang=\"TH\"> 8 ปี</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">   7.  ตอบ<span>  </span>ในภาพเป็นการแสดงให้เห็นว่า<span>  </span>แรงดันอากาศในบรรยากาศดันให้ปรอทในหลอดแก้วยกตัวสูงขึ้นได้เพียง </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">    </span></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">8.   ตอบ<span>  </span>จากชุดการทดลองนี้จะเห็นว่า ในกระเปาะแก้วที่ 1 มีสารละลายน้ำตาลที่เข้มข้นกว่าในกระเปาะแก้วที่ 2 น้ำจากอ่างน้ำจะออสโมซิสเข้าสู่กระเปาะแก้วที่<span>  </span>1<span>  </span>มากกว่าจึงทำให้สารละลายน้ำตาลในกระเปาะแก้วที่ 1 มีแรงดันออสโมติกสูงกว่าดันสารละลายน้ำตาลจากกระเปาะแก้วที่ 1<span>  </span>เคลื่อนที่มายังกระเปาะแก้วที่<span>  </span>2<span>  </span>สารละลายน้ำตาลในกระเปาะแก้วที่<span>  </span>2<span>  </span>จึงมีแรงดันออสโมติกสูงขึ้น<span>  </span>น้ำในกระเปาะแก้วที่<span>  </span>2<span>  </span>จึงออสโมซิสออกสู่อ่างน้ำเช่นเดียวกับการเคลื่อนที่ของสารอาหารจากเซลล์ที่เป็นแหล่งสร้างสารอาหารในใบลำเลียงมายังซีฟทิวบ์ที่มีแรงดันออสโมติกต่ำกว่า<span>  </span>ซีพทิวบ์ ต้นทางจะมีแรงดันออสโมติกสูงขึ้น<span>  </span>เกิดการลำเลียงสารอาหารจากเซลล์ซีฟทิวบ์ต้นทางไปยังเซลล์ซีฟทิวบ์ปลายทางที่มีแรงดันออสโมติกต่ำกว่า<o:p></o:p></span></span><o:p></o:p></span></span> <o:p></o:p><o:p></o:p>        <o:p></o:p><o:p></o:p><o:p> </o:p> <span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715939208, expire = 1716025608, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5627e51d31221d0b37fbe12ac0f0064a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กิจกรรท้ายบทที่ 12

รูปภาพของ msw7006

เฉลยกิจกรรม

 

     1.1   เนื้อเยื่อรากและลำต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ ตอบ

ข้อเปรียบเทียบ เนื้อเยื่อรากพืชใบเลี้ยงคู่ เนื้อเยื่อลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่
1. เอพิเดอร์มิส

2. คอร์เทกซ์                                  

        3. เอนโดเดอร์มิส       4.สตีล       5. วาสคิวลาร์บันเดิล             6. พิธ
1. มีชั้นเดียวอยู่ชั้นนอกสุดของเซลล์บางเซลล์เปลี่ยนแปลงไปเป็นขนราก     2. มีชั้นคอร์เทกซ์อยู่ถัดชั้นเอพิเดอร์มิสเข้ามา   ส่วนใหญ่เป็นเนื้อเยื่อพาเรงคิมา     3. มีเอนโดเดอร์มิส  เป็นกลุ่มเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวอยู่ถัดจากกลุ่มเนื้อเยื่อคอเทกซ์เข้าไป   4. มีชั้นสตีล  แต่ในรากจะแคบกว่าชั้นคอร์เทกซ์  และแบ่งแยกจากชั้นคอร์เทกซ์เห็นได้ชัดเจน   5. มีวาสคิวลาร์บันเดิล  เป็นกลุ่มเซลล์พวกสตีลประกอบด้วย ไซเลมอยู่ตรงกลางเรียงเป็นแฉกมีโฟลเอ็มอยู่ระหว่างแฉก  และมีเนื้อเยื่อวาสคิวลาร์แคมเบียมคั่นระหว่างไซเลมและโฟลเอ็ม

6. ไม่มีพิธ  เนื่องจากในรากพืชใบเลี้ยง   ตรงกลางมักเป็นไซเลมที่เรียงออกมาเป็นแฉกๆ  
1. มีชั้นเดียวเรียงอยู่ชั้นนอกสุดของเซลล์   เอพิเดอร์มิสบางเซลล์เปลี่ยนแปลงไปเป็นขน  หนามรือเป็นเซลล์คุม   2. มีชั้นคอร์เทกซ์  เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ถัดจากเอพิเดอร์มิสเข้ามาประกอบด้วยเซลล์หลายชั้นมีเนื้อเยื่อคอลเลงคิมา  พาเลงคิมา   3.ส่วนใหญ่ไม่มี       4. มีชั้นสตีล  แต่ในลำต้นจะกว้างกว่าในรากและแบ่งแยกจากชั้นของคอร์เทกซ์ดห็นได้ไม่ชัดเจน   5. มีวาสคิวลาร์บันเดิล  โดยทั่วไปประกอบด้วยไซเลมอยู่ด้านในและโฟลเอ็มอยู่ด้านนอกเรียงตัวในแนวรัศมีเดียวกัน  โดยมีวาสคิวลาร์แคมเบียมคั่นระหว่างกลาง     6. มีพิธ  ส่วนใหญ่เป็นไส้ในของลำต้น

 

     1.2   ไซเลมกับโฟลเอ็ม   ตอบ

ไซเลม โฟลเอม
1. ประกอบด้วยเนื้เยื่อ 4 ชนิด คือ เทรคีด   เวสเซล   พาเรงคิมา  และไฟเบอร์   2. ไซเลมเรียงตัวอยู่ด้านในของมัเท่อลำเลียง   3. เนื้อเยื่อไซเลมเมื่อเจริญต่อไป คือ ส่วนของเนื้อไม้   4. ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำ  และธาตุอาหารจากดินไปสู่ส่วนต่างๆของพืช 1.  ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 4 ชนิด คือ ซีฟทิวบ์  เซลล์คอมพาเนียน  พาเรงคิมา  และไฟเบอร์   2. โฟลเอ็มเรียงตัวอยู่ด้านนอกของมัดท่อลำเลียง   3. เนื้อเยื่อโฟลเอ็มเจริญต่อไปส่วนนี้ คือ ส่วนเปลือกไม้   4. ทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารที่พืชสร้างจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงไปยังส่วนต่างๆของพืช

       1.3    รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับรากพืชใบเลี้ยงคู่ ตอบ

รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว รากพืชใบเลี้ยงคู่
1. มีขนราก     2. มีไซเลมเรียงแฉกมากกว่า 6 แฉก   3. ไม่มีเนื้อเยื่อวาสคิวลาร์แคมเบียมอยู่ระหว่างไซเลมกับโฟลเอ็ม  จึงไม่มีการเจริญเติบโตขั้นที่สอง     4. ไม่มีคอร์ก  และคอร์กแคมเบียม   5. เอนโดเดอร์มิสเห็นเป็นแนวชัดเจนดี  และเห็นแคสพาเรียนสตริพเด่นชัดกว่าในรากพืชใบเลี้ยงคู่ 1. มีขนรากในช่วงที่เมล็ดงอกใหม่  เมื่อเจริญเติบโตแล้ว  ไม่มีขนราก   2. มีไซเลมเรียงเป็นแฉก 3-4 แฉก   3. มีเนื้อเยื่อวาสคิวลาร์แคมเบียมอยู่ระหว่างไซเลมและโฟลเอ็ม  เพื่อให้กำเนิดเนื้อเยื่อที่เจริญเติบโตขั้นที่สอง   4. ถ้าเป็นไม้ยืนต้นจะมีคอร์ก  และคอร์กแคมเบียม   5. เอนโดเดอร์มิสเรียงชั้นเดียว  มีผนังค่อนข้างหนา  และมีเม็ดแป้งมากส่วนใหญ่มักเห็นเอนโดเดอร์มิสไม่ชัดหรือไม่มีชัดหรือไม่มีเลย

                 1.4    เอนโดเดอร์มิส   และเอพิเดอร์มิส ตอบ

เอพิเดอร์มิส เอนโดเดอร์มิส
1. เป็นกลุ่มเซลล์อยู่ผิวนอกสุดในส่วนต่างๆของพืช ส่วนใหญ่เซลล์เรียงเป็นชั้นเดียว   2. รูปร่างเซลล์มีได้หลายแบบอาจเป็นเหลี่ยมหรือรูปเซลล์หยักไปมา  บางเซลล์เปลี่ยนเป็นเซลล์คุม  ขน  หนาม  หรือต่อม 1. เป็นกลุ่มเซลล์ที่อยู่ชั้นในสุดของคอร์เทกซ์เซลล์เรียงเป็นชั้นเดียว   2. เซลล์ส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็นเหลี่ยมเรียงเป็นวง  อาจมีแคสพาเรียนสตรีพ

  2.  ตอบ  ทำให้พืชไม่สามารถคายน้ำ  แก็ส CO2 และแก็ส O2 ที่ได้จากกระบวนการเมแทบอลิทึมของเซลล์ออกไป                  ได้   ในทางกลับกันพืชไม่สามารถรับแก็ส CO2 และแก็ส O2 ผ่านเข้าไปสู่ใบหรือลำต้นที่มีสีเขียวได้          จึงมีผลต่อการดำรงชีวิตของพืช   3.  ตอบ  วิธีการจำแนกอาจใช้หลักเกณฑ์ดังนี้           1. จำแนกใบออกเป็นใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยว

          2. จำแนกใบเดี่ยวหรือใบประกอบ  โดยอาศัยหลักเกณฑ์การสังเกตใบเดี่ยว  ใบประกอบที่เคยศึกษามาแล้ว

4.1   ตอบ  เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการดูดน้ำ  และการคายน้ำของพืช

4.2   ตอบ  วัดระดับน้ำในหลอดที่ลดลง

 4.3   ตอบ  หลอดที่ 1 3 5 และ 6 ปริมาณน้ำในหลอดไม่ลดลง  เพราะไม่มีการคายน้ำออกสู่บรรยากาศ  เนื่องจากหลอด           

 4.4  ตอบ  เพิ่มหลอดทดลองที่ 7 เหมือนกับหลอดที่ 3 แต่ใช้เยลลี่ทาที่รอยตัดด้านล่างด้วย

4.5  ตอบ  ทำการทดลองเช่นเดียวกันนี้ 2 ชุด          ชุดที่ 1 ให้ความเข้มของแสงมาก

         ชุดที่ 2 ให้ความเข้มของแสงน้อย  โดยให้แสงส่องผ่านน้ำเพื่อควบคุมอุณหภูมิทั้ง 2 ชุด

5.   ตอบ  แสดงว่าในดินทีปลูกมีธาตุไนโตรเจนมาก  ธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของสารภายในเซลล์        โดยเฉพาะคลอโรฟิลล์ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของลำต้น  ใบ  หัว  ฉะนั้นพืชที่ได้รับปริมาณธาตุไนโตรเจนมาก     เกินไป  พืชจะเจริญเติบโตโดยแตกใบมากแบบที่ชาวบ้านเรียกว่าเฝือใบ  หรือบ้าใบและสีใบจะมีสีเขียวเข้ม

6.1  ตอบ  หมายเลข 1 และ 2 คือ  เนื้อเยื่อไซเลมขั้นที่ 2  เกิดจากการแบ่งเซลล์ของวาสคิวลาร์ แคมเบียม 

 6.2  ตอบ  เนื้อเยื่อหมายเลข  1  เจริญมาก่อนเนื้อเยื่อหมายเลข  2  ฉะนั้นกลุ่มเนื้อเยื่อหมายเลข  1  น่าจะเป็นกลุ่มเซลล์ไซเลมที่ไม่มีชีวิต  และอาจมีสารพวกลิกนินมาพอกเพิ่มความเข็งแรงให้กับเนื้อไม้  เนื้อไม้ส่วนนี้อยู่ในกลุ่มแก่นไม้  ส่วนเนื้อเยื่อหมายเลข  2  เป็นกลุ่มเนื้อเยื่อไซเลมที่เกิดภายหลัง  กลุ่มเซลล์เหล่านี้อาจยังคงมีชีวิตอยู่และยังทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหารอยู่ยังไม่มีสารพวกลิกนินมาพอก  เนื้อไม้ใน  หมายเลข 2 จึงเรียกว่า  กระพี้ไม้  ความแข็งแรงของเนื้อไม้ในชั้นนี้จึงแข็งแรงน้อยกว่าเนื้อไม้ในหมายเลข  1

 

  6.3   ตอบ  พืชต้นนี้เป็นพืชใบเลี้ยงคู่  อายุประมาณ  7 8 ปี

   7.  ตอบ  ในภาพเป็นการแสดงให้เห็นว่า  แรงดันอากาศในบรรยากาศดันให้ปรอทในหลอดแก้วยกตัวสูงขึ้นได้เพียง

    8.   ตอบ  จากชุดการทดลองนี้จะเห็นว่า ในกระเปาะแก้วที่ 1 มีสารละลายน้ำตาลที่เข้มข้นกว่าในกระเปาะแก้วที่ 2 น้ำจากอ่างน้ำจะออสโมซิสเข้าสู่กระเปาะแก้วที่  1  มากกว่าจึงทำให้สารละลายน้ำตาลในกระเปาะแก้วที่ 1 มีแรงดันออสโมติกสูงกว่าดันสารละลายน้ำตาลจากกระเปาะแก้วที่ 1  เคลื่อนที่มายังกระเปาะแก้วที่  2  สารละลายน้ำตาลในกระเปาะแก้วที่  2  จึงมีแรงดันออสโมติกสูงขึ้น  น้ำในกระเปาะแก้วที่  2  จึงออสโมซิสออกสู่อ่างน้ำเช่นเดียวกับการเคลื่อนที่ของสารอาหารจากเซลล์ที่เป็นแหล่งสร้างสารอาหารในใบลำเลียงมายังซีฟทิวบ์ที่มีแรงดันออสโมติกต่ำกว่า  ซีพทิวบ์ ต้นทางจะมีแรงดันออสโมติกสูงขึ้น  เกิดการลำเลียงสารอาหารจากเซลล์ซีฟทิวบ์ต้นทางไปยังเซลล์ซีฟทิวบ์ปลายทางที่มีแรงดันออสโมติกต่ำกว่า            

 

ไม่มีเฉลยหรอค่ะ

รูปภาพของ mswsompoch

Winkตรวจงานแล้วนะครับ...Tongue out

ม่ายมีไร บอกแล้ว หง่ะ...

ไว้เจอกันในห้องเรียนดีกว่า นะ พร้อม ๆ กัน

แต่ว่าที่ทำมา...........สู๊ด...ยอด...แห่งความตั้งใจพิมพ์จริง ๆ

ไม่มีการแบ่งหน้า ไม่มีการดูหัวข้อ  สุดๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 337 คน กำลังออนไลน์