• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a90a4e9be2ada249e7ca47b8a207a74a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><blockquote><blockquote><p align=\"center\">\n      \n </p>\n<p>\n  <img src=\"http://board.palungjit.com/attachment.php?attachmentid=454858&amp;stc=1&amp;d=1227693090\" />\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p>\n  ไพร่  หมายถึง  ราษฎรสามัญชนทั่วไป  มีทั้งหญิงและชาย  มีศีกดินาระหว่าง 10-25 ไร่  แต่ถ้าได้เข้าไปรับราชการได้เป็นขุนนางชั้นผู้น้อย  เช่น  ขุน  หมื่น  เป็นต้น  จะถือศักดินา  25-400 ไร่\n </p>\n<p>\n      <strong>1.ฐานะของไพร่ในสังคมไทย</strong>  ไพร่ทุกคนต้องเข้าสังกัดมูลนาย  เพื่อแลกกับการได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายและคนที่เป็นไพร่  จะไม่มีเงินเดือน\n </p>\n<p>\n     <strong> 2.หน้าที่ของไพร่</strong>  ไพร่จะต้องเข้าเวรปีละ 6 เดือน  ไพร่ที่เป็นแรงงาน  ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ชาย  มีอายุระหว่าง 20-70 ปี เมื่อบ้านเมืองเกิดสึกสงคราม  ไพร่เหล่านี้ต้องออกรบ\n </p>\n<p>\n     <strong> 3.ประเภทของไพร่</strong>  แบ่งออกได้ 3 ประเภท  ได้แก่  ไพร่หลวง  ไพร่สม  และไพร่ส่วย\n </p>\n<p>\n         <strong>  1)  ไพร่หลวง</strong>  คือไพร่ในสังกัดของพระมหากษัตริย์โดยตรง  แต่จะทรงแจกจ่ายไปยังกรมหน่วยงานราชการต่างๆ  ไพร่หลวงมีฐานะลำบากมากที่สุด  เพราะต้องทำงานหนักกว่าไพร่อื่นๆ\n </p>\n<p>\n          <strong> 2)  ไพร่สม</strong>  คือเป็นไพร่ในสังกัดของเจ้านาย  ขุนนาง มีหน้าที่รับใช้เจ้านายของตน  มีพันธะที่ต้องเข้าเวรรับราชการด้วย  แต่ภาระน้อยกว่าไพร่หลวง  คือเพียงปีละ 1 เดือน\n </p>\n<p>\n           <strong>3)  ไพร่ส่วย</strong>  คือไพร่หลวงที่ได้รับการยกเว้นจากการไม่ต้องเข้าเวรรับราชการ  แต่ต้องส่งเงินหรือสิ่งของมาทดแทน  เรียกว่า  เงินค่าราชการ\n </p>\n<p>\n   <strong>   4.  ความสำคัญของไพร่ที่มีต่อสังคมไทย</strong>\n </p>\n<p>\n <strong>       </strong>   1) เป็นแรงงานด้านโยธาให้แก่ราชการ\n </p>\n<p>\n           2)  เป็นฐานอำนาจทางการเมืองให้มูลนายของตนเอง\n </p>\n<p>\n           3)  เป็นกำลังในการผลิตภาคการเกษตรกรรม\n </p>\n<p>\n           4)  เป็นกำลังในการรบยามบ้านเมืองเกิดศึกสงคราม\n </p>\n<p>\n <strong>     5.สาเหตุการเลิกไพร่</strong>  รัชกาลที่ 5 โปรดฯ ให้มีการยกเลิกระบบไพร่ มีสาเหตุเนื่องจาก\n </p>\n<p>\n           1)  การควบคุมไพร่ที่มีมาแต่เดิมถึงช่วงที่ไร้ประสิทธิภาพ  พระมหากษัตริย์  ไม่สามารถควบคุมคนได้  ในขณะที่มูลนายอื่นๆได้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากไพร่  และใช้ไพร่เป็นอำนาจทางการเมือง\n </p>\n<p>\n           2)  ไพร่บางพวกได้รับกดข่มขี่เหงจากมูลนายก็หนีเข้าป่า\n </p>\n<p>\n           3)  การเกิดวิกฤตการณ์วังหน้า  พ.ศ.2417 แสดงให้เห็นว่ากำลังของไพร่พลที่ถูกฝึกหัดตามแบบทหารตะวันตกสามารถสร้างความไม่มั่นคงให้แก่ราชบัลลังก์ได้\n </p>\n<p>\n           4)  จากการทำสนธิสัญญาบาวริ่ง  เป็นผลให้เกิดการขยายตัวทางการผลิตและการค้าโดยเฉพาะข้าว  ทำให้ความต้องการแรงงานเพื่อใช้ในการทำนาสูงขึ้น  ก่อให้เกิดการอพยพของแรงงานจากต่างถิ่นเข้าไปทำงานในเขตเศรษฐกิจ\n </p>\n<p>\n           5)  ความจำเป็นที่ต้องการใช้แรงงานเกณฑ์จากไพร่ลดความต้องการลง\n </p>\n<p>\n           6)  เพื่อลดอิทธิพลอำนาจของมูลนายหรือขุนนาง\n </p>\n<p>\n           7) การคุมคามจากจักรวรรดินิยมตะวันตก  ทำให้รัฐบาลต้องคำนึงถึงทัศนะความคิดเห็นของชาติตะวันตก  เกี่ยวกับการเกญฑ์แรงงานกับการสักเลกเป็นเรื่องที่เลวร้าย  ในขณะเดียวกันรัฐบาลก็ต้องเห็นความจำเป็นที่ต้องมีกองกำลังทหารตามแบบตะวันตก  เพื่อเป็นการป้องกันประเทศชาติ\n </p>\n<p>\n <strong>     6.  ขั้นตอนการเลิกไพร่</strong>\n </p>\n<p>\n           1)  การแก้ไขปรับปรุงระเบียบการบริหารในกรมพระสุรัสวดีที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา  รัชกาลที่ 5 ทรงแก้ไขโดยยกฐานะกรมพระสุรัสวดีให้มีความเท่าเทียมกับกรมสำคัญอื่นๆ\n </p>\n<p>\n           2)  การฟื้นฟูกรมทหารหน้า  รัชกาลที่ 5 ทรงดำเนินการใน พ.ศ. 2423  ได้มีการประกาศรับสมัครคนมือขาว  (คนที่ไม่ได้สักเลก) หรือไพร่ที่ไม่ได้สังกัดมูลนายเข้ามาเป็นทหาร  กรมทหารหน้ามีความก้าวหน้ามากและได้กลายเป็นพื้นฐานสำหรับการจัดกองทัพประจำการ \n </p>\n<p>\n           3)  การควบคุมคนให้ขึ้นสังกัดตามท้องที่การทำสำมะโนครัว\n </p>\n<p>\n           4)  ใน พ.ศ. 2444  ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติเก้ฐเงินค่าราชการ  เพื่อเป็นกฎหมายแน่นอนว่าชายฉกรรจ์ที่มีอายุ      18-60 ปีต้องเสียค่าราชการ ไม่เกินปีละ 6 บาท \n </p>\n<p>\n           5)  พระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร พ.ศ. 2448  กำหนดให้ชายฉกรรจ์ทุกคนที่มีอายุ 18 - 60 ปี ต้องเป็นทหารและผู้ที่ได้ผ่านการคัดเลือกต้องรับราชการ 2 ปี  และได้รับการฝึกฝนทหารแบบใหม่มีกระทรวงกลาโหมเป็นผู้ดูแล  จึงถือได้ว่ากฎหมายฉบับนี้เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการยกเลิกการควบคุมระบบไพร่แบบเดิม\n </p>\n<div class=\"field field-type-text field-field-author\">\n<div class=\"field-items\">\n<div class=\"field-item odd\">\n<div class=\"field-label-inline-first\">\n <strong>สร้างโดย: </strong>\n </div>\n<p> นางสาวศรัญญา ศรีสุข ชี้น ม.6/1 เลขที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์\n </p></div>\n</div>\n</div>\n<div class=\"field field-type-text field-field-link\">\n<div class=\"field-items\">\n<div class=\"field-item odd\">\n<div class=\"field-label-inline-first\">\n <strong>แหล่งอ้างอิง: </strong>\n </div>\n<p> หนังสือ คู่มือเตรียมสอบสังคมศึกษา ม.6 หนังสือ คู่มือสังคมศึกษา ม.6\n </p></div>\n</div>\n</div>\n</blockquote>\n</blockquote>\n', created = 1715666887, expire = 1715753287, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a90a4e9be2ada249e7ca47b8a207a74a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c62e99fc96d3fe39652027ea11cf6a0f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nน้องขา พี่ว่าตำราที่น้องเรียนมันแปลกๆ นะคะ\n</p>\n<p>\n ในสมัยรัชกาลที่ 5 ท่านทรงเลิกทาสค่ะ เหตุผลเนื่องจากสมัยนั้นฝั่งประเทศตะวันตกส่วนใหญ่ได้มีการยกเลิกระบบทาสแล้ว\n</p>\n<p>\n การเลิกทาสของบ้านเรานับเป็นการเลิกทาสที่นุ่มนวลที่สุดเท่าที่โลกนี้เคยมีมา ถ้าเปรียบเทียบกับประเทศสหรัฐอเมริกา ที่การเลิกทาสทำให้เกิดสงครามกลางเมืองกันเลยทีเดียว\n</p>\n<p>\n น้องลองอ่านเรื่องการเลิกทาสตามลิงค์นี้นะคะ\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://webboard.mthai.com/10/2005-11-17/166897.html\" title=\"http://webboard.mthai.com/10/2005-11-17/166897.html\">http://webboard.mthai.com/10/2005-11-17/166897.html</a>\n</p>\n<p>\nเอามาแปะให้ดูด้วย\n</p>\n<p>\n <span class=\"font_detail\"><span class=\"font_body\">สมเด็จพระปิยมหาราชกับการเลิกทาส </span></span></p>\n<p>สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือสมเด็จพระปิยมหาราช<br />\nทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถมาก </p>\n<p>ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจที่สำคัญ<br />\nและเป็นประโยชน์ต่อบ้านเมืองจนได้รับพระสมัญญาว่า &quot;สมเด็จพระปิยมหาราช&quot;<br />\nพระราชกรณียกิจที่สำคัญอย่างยิ่งประการหนึ่งคือ &quot;การเลิกทาส&quot;<br />\nซึ่งถือว่าเป็นงานใหญ่มากของประวัติศาสตร์ไทย </p>\n<p>พระราชดำริแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />\nในการที่จะเลิกทาสนั้น แม้ตามหลักฐานจะปรากฏว่า<br />\nได้เริ่มมีเค้ามาตั้งแต่ต้นรัชกาลก็ตาม แต่ที่เริ่มปรากฏเป็นรูปเป็นร่าง<br />\nขึ้นอย่างแท้จริงก็เป็นเวลาหลายปีต่อมา<br />\nทั้งนี้เพราะการบริหารราชการแผ่นดินในรัชสมัยของพระองค์ท่านนั้นทรงโปรดระบบ<br />\nการทำงานที่มีลักษณะรีบเตรียมให้พร้อม พร้อมแล้วรีบทำ<br />\nไม่ทรงโปรดการหักด้ามพร้าด้วยเข่า หรือ<br />\nอาการผลีผลามตามอารมณ์ของเจ้าหน้าที่ผู้บริหาร<br />\nเกี่ยวกับการประกาศเลิกทาสก็เช่นเดียวกัน<br />\nดังจะเห็นได้จากการประกาศเป็นขั้นตอนตามลำดับมา </p>\n<p>สมเด็จพระปิยมหาราชทรงตระหนักเป็นอย่างดีว่า<br />\nทาสก็จัดเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งทางด้านสังคมและการเมือง<br />\nที่สำคัญคือ ทางด้านเศรษฐกิจ พระองค์จังทรงมีพระราชดำริ<br />\nเลิกทาสจึงตรัสปรึกษาข้าราชการ แต่พระองค์ก็ทรงพบอุปสรรค<br />\nเพราะบรรดาข้าราชบริพารทั้งหายไม่เห็นชอบด้วยกับพระองค์<br />\nแต่พระองค์มิได้ทรงท้อถอย ทรงดำเนินกุศโลบายอย่างสุขุมรอบคอบ<br />\nและเป็นไปตามลำดับขั้น<br />\nนอกจากนี้พระองค์ได้ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อช่วยไถ่ถอนทาส<br />\nและพระราชทานทุนทรัพย์เพื่อให้ลูกทาส<br />\nได้ทำมาหากินต่อไปนอกจากนี้พระองค์ยังทรง<br />\nจัดตั้งโรงเรียนสำหรับลูกทาสขึ้นมา </p>\n<p>ในที่สุดก็มาถึงวาระอันนับได้ว่าอิสรภาพและค่าแห่งความเป็นมนุษย์ของปวงชนชาว<br />\nไทย ได้บรรลุถึงหลักชัยอย่างแน่นอน<br />\nโดยพระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์พระปิยมหาราชจากการตราพระราชบัญญัติลักษณะเลิก<br />\nทาส ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448)<br />\nให้คงความเป็นไทเป็นสัญลักษณ์สำคัญประการหนึ่งของชาติ \n</p>\n<p>\nอันนี้เป็นข้อมูลการเลิกทาสของวิกิพีเดียค่ะ\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\" title=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%...</a>\n</p>\n<p>\n<b>การเลิกทาส</b> เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่ง<br />\nที่ทำให้พระองค์ทรงได้รับพระสมัญญาว่า “<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A\" title=\"สมเด็จพระปิยมหาราช\" class=\"mw-redirect\">สมเด็จพระปิยมหาราช</a>”\n</p>\n<p>\nสมัยที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัตินั้น <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2\" title=\"ประเทศไทย\">ประเทศไทย</a>มี<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%AA\" title=\"ทาส\">ทาส</a>เป็นจำนวนกว่าหนึ่งในสามของพลเมือง ของประเทศ<br />\nเพราะเหตุว่าลูกทาสในเรือนเบี้ยได้มีสืบต่อกันเรื่อยมาไม่มีที่สิ้นสุด<br />\nและเป็นทาสกันตลอดชีวิต พ่อแม่เป็นทาสแล้ว<br />\nลูกที่เกิดจากพ่อแม่ที่เป็นทาสก็ตกเป็นทาสอีกต่อ ๆ กันเรื่อยไป\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2\" title=\"กฎหมาย\">กฎหมาย</a>ที่ใช้กันอยู่ในเวลานั้น<br />\nตีราคาลูกทาสในเรือนเบี้ย ชาย 14 ตำลึง หญิง 12 ตำลึง แล้วไม่มีการลด<br />\nต้องเป็นทาสไปจนกระทั่ง ชายอายุ 40 หญิงอายุ 30 จึงมีการลดบ้าง<br />\nคำนวณการลดนี้ อายุทาสถึง 100 ปี ก็ยังมีค่าตัวอยู่ คือชาย 1 ตำลึง หญิง 3<br />\nบาท แปลว่า ผู้ที่เกิดในเรือนเบี้ย ถ้าไม่มีเงินมาไถ่ตัวเองแล้ว<br />\nก็ต้องเป็นทาสไปตลอดชีวิต\n</p>\n<p>\nในการนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ได้ตราพระราชบัญญัติขึ้น<br />\nเมื่อวันที่ <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/21_%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1\" title=\"21 สิงหาคม\">21 สิงหาคม</a> <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2417\" title=\"พ.ศ. 2417\">พ.ศ. 2417</a> ให้มีผลย้อนหลังไปถึงปีที่<br />\nพระองค์เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติ จึงมีบัญญัติว่า ลูกทาสซึ่งเกิดเมื่อปีมะโรง<br />\n<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2411\" title=\"พ.ศ. 2411\">พ.ศ. 2411</a> ให้มีสิทธิได้ลดค่าตัวทุกปี โดยกำหนดว่า<br />\nเมื่อแรกเกิด ชายมีค่าตัว 8 ตำลึง หญิงมีค่าตัว 7 ตำลึง<br />\nเมื่อลดค่าตัวไปทุกปีแล้ว พอครบอายุ 21<br />\nปีก็ให้ขาดจากความเป็นทาสทั้งชายและหญิง\n</p>\n<p>\nพอถึงปี <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2448\" title=\"พ.ศ. 2448\">พ.ศ. 2448</a><br />\nก็ได้ออกพระราชบัญญัติเลิกทาสที่แท้จริงขึ้น เรียกว่า “<i>พระราชบัญญัติทาส<br />\nร.ศ.124</i>” (พ.ศ. 2448) เลิกเรื่องลูกทาส ในเรือนเบี้ยอย่างเด็ดขาด<br />\nเด็กที่เกิดจากทาส ไม่เป็นทาสอีกต่อไป การซื้อขายทาสเป็นโทษทางอาญา<br />\nส่วนผู้ที่เป็นทาสอยู่แล้ว ให้นายเงินลดค่าตัวให้เดือนละ 4 บาท<br />\nจนกว่าจะหมด..\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n ส่วนความหมายและประเภทของทาศดูได้ตามลิงค์นี้นะคะ\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%AA\" title=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%AA\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%AA</a>\n</p>\n<p>\n ส่วนอันนี้เป็นลิงค์ความหมายของคำว่าไพร่ค่ะ\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%88\" title=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%88\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%88</a>\n</p>\n<p>\nดูเหมือนผู้เขียนตำราที่น้องเรียนจะเอา &quot;ไพร่&quot; กับ &quot;ทาส&quot; มารวมกันค่ะ  \n</p>\n<p>\nพี่ไม่ได้มีความประสงค์จะต่อว่าอะไรน้องนะคะ แค่อยากให้น้องได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจากตำราที่ออกจะแปลกๆ ตามความรู้สึกของพี่น่ะค่ะ\n</p>\n<p>\n ด้วยความปรารถนาดี\n</p>\n<p>\n (ผ่านมาอ่านค่ะ)\n</p>\n', created = 1715666887, expire = 1715753287, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c62e99fc96d3fe39652027ea11cf6a0f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การเลิกไพร่

     

 

 

 ไพร่  หมายถึง  ราษฎรสามัญชนทั่วไป  มีทั้งหญิงและชาย  มีศีกดินาระหว่าง 10-25 ไร่  แต่ถ้าได้เข้าไปรับราชการได้เป็นขุนนางชั้นผู้น้อย  เช่น  ขุน  หมื่น  เป็นต้น  จะถือศักดินา  25-400 ไร่

     1.ฐานะของไพร่ในสังคมไทย  ไพร่ทุกคนต้องเข้าสังกัดมูลนาย  เพื่อแลกกับการได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายและคนที่เป็นไพร่  จะไม่มีเงินเดือน

     2.หน้าที่ของไพร่  ไพร่จะต้องเข้าเวรปีละ 6 เดือน  ไพร่ที่เป็นแรงงาน  ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ชาย  มีอายุระหว่าง 20-70 ปี เมื่อบ้านเมืองเกิดสึกสงคราม  ไพร่เหล่านี้ต้องออกรบ

     3.ประเภทของไพร่  แบ่งออกได้ 3 ประเภท  ได้แก่  ไพร่หลวง  ไพร่สม  และไพร่ส่วย

          1)  ไพร่หลวง  คือไพร่ในสังกัดของพระมหากษัตริย์โดยตรง  แต่จะทรงแจกจ่ายไปยังกรมหน่วยงานราชการต่างๆ  ไพร่หลวงมีฐานะลำบากมากที่สุด  เพราะต้องทำงานหนักกว่าไพร่อื่นๆ

          2)  ไพร่สม  คือเป็นไพร่ในสังกัดของเจ้านาย  ขุนนาง มีหน้าที่รับใช้เจ้านายของตน  มีพันธะที่ต้องเข้าเวรรับราชการด้วย  แต่ภาระน้อยกว่าไพร่หลวง  คือเพียงปีละ 1 เดือน

          3)  ไพร่ส่วย  คือไพร่หลวงที่ได้รับการยกเว้นจากการไม่ต้องเข้าเวรรับราชการ  แต่ต้องส่งเงินหรือสิ่งของมาทดแทน  เรียกว่า  เงินค่าราชการ

     4.  ความสำคัญของไพร่ที่มีต่อสังคมไทย

          1) เป็นแรงงานด้านโยธาให้แก่ราชการ

          2)  เป็นฐานอำนาจทางการเมืองให้มูลนายของตนเอง

          3)  เป็นกำลังในการผลิตภาคการเกษตรกรรม

          4)  เป็นกำลังในการรบยามบ้านเมืองเกิดศึกสงคราม

     5.สาเหตุการเลิกไพร่  รัชกาลที่ 5 โปรดฯ ให้มีการยกเลิกระบบไพร่ มีสาเหตุเนื่องจาก

          1)  การควบคุมไพร่ที่มีมาแต่เดิมถึงช่วงที่ไร้ประสิทธิภาพ  พระมหากษัตริย์  ไม่สามารถควบคุมคนได้  ในขณะที่มูลนายอื่นๆได้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากไพร่  และใช้ไพร่เป็นอำนาจทางการเมือง

          2)  ไพร่บางพวกได้รับกดข่มขี่เหงจากมูลนายก็หนีเข้าป่า

          3)  การเกิดวิกฤตการณ์วังหน้า  พ.ศ.2417 แสดงให้เห็นว่ากำลังของไพร่พลที่ถูกฝึกหัดตามแบบทหารตะวันตกสามารถสร้างความไม่มั่นคงให้แก่ราชบัลลังก์ได้

          4)  จากการทำสนธิสัญญาบาวริ่ง  เป็นผลให้เกิดการขยายตัวทางการผลิตและการค้าโดยเฉพาะข้าว  ทำให้ความต้องการแรงงานเพื่อใช้ในการทำนาสูงขึ้น  ก่อให้เกิดการอพยพของแรงงานจากต่างถิ่นเข้าไปทำงานในเขตเศรษฐกิจ

          5)  ความจำเป็นที่ต้องการใช้แรงงานเกณฑ์จากไพร่ลดความต้องการลง

          6)  เพื่อลดอิทธิพลอำนาจของมูลนายหรือขุนนาง

          7) การคุมคามจากจักรวรรดินิยมตะวันตก  ทำให้รัฐบาลต้องคำนึงถึงทัศนะความคิดเห็นของชาติตะวันตก  เกี่ยวกับการเกญฑ์แรงงานกับการสักเลกเป็นเรื่องที่เลวร้าย  ในขณะเดียวกันรัฐบาลก็ต้องเห็นความจำเป็นที่ต้องมีกองกำลังทหารตามแบบตะวันตก  เพื่อเป็นการป้องกันประเทศชาติ

     6.  ขั้นตอนการเลิกไพร่

          1)  การแก้ไขปรับปรุงระเบียบการบริหารในกรมพระสุรัสวดีที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา  รัชกาลที่ 5 ทรงแก้ไขโดยยกฐานะกรมพระสุรัสวดีให้มีความเท่าเทียมกับกรมสำคัญอื่นๆ

          2)  การฟื้นฟูกรมทหารหน้า  รัชกาลที่ 5 ทรงดำเนินการใน พ.ศ. 2423  ได้มีการประกาศรับสมัครคนมือขาว  (คนที่ไม่ได้สักเลก) หรือไพร่ที่ไม่ได้สังกัดมูลนายเข้ามาเป็นทหาร  กรมทหารหน้ามีความก้าวหน้ามากและได้กลายเป็นพื้นฐานสำหรับการจัดกองทัพประจำการ 

          3)  การควบคุมคนให้ขึ้นสังกัดตามท้องที่การทำสำมะโนครัว

          4)  ใน พ.ศ. 2444  ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติเก้ฐเงินค่าราชการ  เพื่อเป็นกฎหมายแน่นอนว่าชายฉกรรจ์ที่มีอายุ      18-60 ปีต้องเสียค่าราชการ ไม่เกินปีละ 6 บาท 

          5)  พระราชบัญญัติลักษณะเกณฑ์ทหาร พ.ศ. 2448  กำหนดให้ชายฉกรรจ์ทุกคนที่มีอายุ 18 - 60 ปี ต้องเป็นทหารและผู้ที่ได้ผ่านการคัดเลือกต้องรับราชการ 2 ปี  และได้รับการฝึกฝนทหารแบบใหม่มีกระทรวงกลาโหมเป็นผู้ดูแล  จึงถือได้ว่ากฎหมายฉบับนี้เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการยกเลิกการควบคุมระบบไพร่แบบเดิม

สร้างโดย: 

นางสาวศรัญญา ศรีสุข ชี้น ม.6/1 เลขที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์

น้องขา พี่ว่าตำราที่น้องเรียนมันแปลกๆ นะคะ

 ในสมัยรัชกาลที่ 5 ท่านทรงเลิกทาสค่ะ เหตุผลเนื่องจากสมัยนั้นฝั่งประเทศตะวันตกส่วนใหญ่ได้มีการยกเลิกระบบทาสแล้ว

 การเลิกทาสของบ้านเรานับเป็นการเลิกทาสที่นุ่มนวลที่สุดเท่าที่โลกนี้เคยมีมา ถ้าเปรียบเทียบกับประเทศสหรัฐอเมริกา ที่การเลิกทาสทำให้เกิดสงครามกลางเมืองกันเลยทีเดียว

 น้องลองอ่านเรื่องการเลิกทาสตามลิงค์นี้นะคะ

http://webboard.mthai.com/10/2005-11-17/166897.html

เอามาแปะให้ดูด้วย

 สมเด็จพระปิยมหาราชกับการเลิกทาส

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือสมเด็จพระปิยมหาราช
ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถมาก

ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจที่สำคัญ
และเป็นประโยชน์ต่อบ้านเมืองจนได้รับพระสมัญญาว่า "สมเด็จพระปิยมหาราช"
พระราชกรณียกิจที่สำคัญอย่างยิ่งประการหนึ่งคือ "การเลิกทาส"
ซึ่งถือว่าเป็นงานใหญ่มากของประวัติศาสตร์ไทย

พระราชดำริแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ในการที่จะเลิกทาสนั้น แม้ตามหลักฐานจะปรากฏว่า
ได้เริ่มมีเค้ามาตั้งแต่ต้นรัชกาลก็ตาม แต่ที่เริ่มปรากฏเป็นรูปเป็นร่าง
ขึ้นอย่างแท้จริงก็เป็นเวลาหลายปีต่อมา
ทั้งนี้เพราะการบริหารราชการแผ่นดินในรัชสมัยของพระองค์ท่านนั้นทรงโปรดระบบ
การทำงานที่มีลักษณะรีบเตรียมให้พร้อม พร้อมแล้วรีบทำ
ไม่ทรงโปรดการหักด้ามพร้าด้วยเข่า หรือ
อาการผลีผลามตามอารมณ์ของเจ้าหน้าที่ผู้บริหาร
เกี่ยวกับการประกาศเลิกทาสก็เช่นเดียวกัน
ดังจะเห็นได้จากการประกาศเป็นขั้นตอนตามลำดับมา

สมเด็จพระปิยมหาราชทรงตระหนักเป็นอย่างดีว่า
ทาสก็จัดเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งทางด้านสังคมและการเมือง
ที่สำคัญคือ ทางด้านเศรษฐกิจ พระองค์จังทรงมีพระราชดำริ
เลิกทาสจึงตรัสปรึกษาข้าราชการ แต่พระองค์ก็ทรงพบอุปสรรค
เพราะบรรดาข้าราชบริพารทั้งหายไม่เห็นชอบด้วยกับพระองค์
แต่พระองค์มิได้ทรงท้อถอย ทรงดำเนินกุศโลบายอย่างสุขุมรอบคอบ
และเป็นไปตามลำดับขั้น
นอกจากนี้พระองค์ได้ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อช่วยไถ่ถอนทาส
และพระราชทานทุนทรัพย์เพื่อให้ลูกทาส
ได้ทำมาหากินต่อไปนอกจากนี้พระองค์ยังทรง
จัดตั้งโรงเรียนสำหรับลูกทาสขึ้นมา

ในที่สุดก็มาถึงวาระอันนับได้ว่าอิสรภาพและค่าแห่งความเป็นมนุษย์ของปวงชนชาว
ไทย ได้บรรลุถึงหลักชัยอย่างแน่นอน
โดยพระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์พระปิยมหาราชจากการตราพระราชบัญญัติลักษณะเลิก
ทาส ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448)
ให้คงความเป็นไทเป็นสัญลักษณ์สำคัญประการหนึ่งของชาติ

อันนี้เป็นข้อมูลการเลิกทาสของวิกิพีเดียค่ะ

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%...

การเลิกทาส เป็นพระราชกรณียกิจอันสำคัญยิ่ง
ที่ทำให้พระองค์ทรงได้รับพระสมัญญาว่า “สมเด็จพระปิยมหาราช

สมัยที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัตินั้น ประเทศไทยมีทาสเป็นจำนวนกว่าหนึ่งในสามของพลเมือง ของประเทศ
เพราะเหตุว่าลูกทาสในเรือนเบี้ยได้มีสืบต่อกันเรื่อยมาไม่มีที่สิ้นสุด
และเป็นทาสกันตลอดชีวิต พ่อแม่เป็นทาสแล้ว
ลูกที่เกิดจากพ่อแม่ที่เป็นทาสก็ตกเป็นทาสอีกต่อ ๆ กันเรื่อยไป

กฎหมายที่ใช้กันอยู่ในเวลานั้น
ตีราคาลูกทาสในเรือนเบี้ย ชาย 14 ตำลึง หญิง 12 ตำลึง แล้วไม่มีการลด
ต้องเป็นทาสไปจนกระทั่ง ชายอายุ 40 หญิงอายุ 30 จึงมีการลดบ้าง
คำนวณการลดนี้ อายุทาสถึง 100 ปี ก็ยังมีค่าตัวอยู่ คือชาย 1 ตำลึง หญิง 3
บาท แปลว่า ผู้ที่เกิดในเรือนเบี้ย ถ้าไม่มีเงินมาไถ่ตัวเองแล้ว
ก็ต้องเป็นทาสไปตลอดชีวิต

ในการนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ได้ตราพระราชบัญญัติขึ้น
เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2417 ให้มีผลย้อนหลังไปถึงปีที่
พระองค์เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติ จึงมีบัญญัติว่า ลูกทาสซึ่งเกิดเมื่อปีมะโรง
พ.ศ. 2411 ให้มีสิทธิได้ลดค่าตัวทุกปี โดยกำหนดว่า
เมื่อแรกเกิด ชายมีค่าตัว 8 ตำลึง หญิงมีค่าตัว 7 ตำลึง
เมื่อลดค่าตัวไปทุกปีแล้ว พอครบอายุ 21
ปีก็ให้ขาดจากความเป็นทาสทั้งชายและหญิง

พอถึงปี พ.ศ. 2448
ก็ได้ออกพระราชบัญญัติเลิกทาสที่แท้จริงขึ้น เรียกว่า “พระราชบัญญัติทาส
ร.ศ.124
” (พ.ศ. 2448) เลิกเรื่องลูกทาส ในเรือนเบี้ยอย่างเด็ดขาด
เด็กที่เกิดจากทาส ไม่เป็นทาสอีกต่อไป การซื้อขายทาสเป็นโทษทางอาญา
ส่วนผู้ที่เป็นทาสอยู่แล้ว ให้นายเงินลดค่าตัวให้เดือนละ 4 บาท
จนกว่าจะหมด..

 

 ส่วนความหมายและประเภทของทาศดูได้ตามลิงค์นี้นะคะ

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%AA

 ส่วนอันนี้เป็นลิงค์ความหมายของคำว่าไพร่ค่ะ

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%88

ดูเหมือนผู้เขียนตำราที่น้องเรียนจะเอา "ไพร่" กับ "ทาส" มารวมกันค่ะ  

พี่ไม่ได้มีความประสงค์จะต่อว่าอะไรน้องนะคะ แค่อยากให้น้องได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจากตำราที่ออกจะแปลกๆ ตามความรู้สึกของพี่น่ะค่ะ

 ด้วยความปรารถนาดี

 (ผ่านมาอ่านค่ะ)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 498 คน กำลังออนไลน์