กรณฑ์

 กรณท์

 

 

ประวัติความเป็นมาของเครื่องหมายราก  หรือกรณท์
 
--------------------------------------------------------------------------------
 
โดย ปรีชา เหล่าพันนา

                  ในสมัยโบราณ การแต่งตำรายังไม่ได้คิดค้นสัญลักษญ์แทนเครื่องหมายรากหรือกรณฑ์ คงใช้คำเต็มว่า กรณฑ์ หรือ ราก   (Radix)    จนกระทั่งในยุคกลาง นักคณิตศาสตร์ชาวลาติน ชื่อ Leonardo Da Pisa ได้ใช้สัญลักษณ์ PX อันเป็นตัวย่อของคำว่า Radix มาใช้เป็นคนแรก ในปี ค.ศ.1220 และถูกนำมาพิมพ์ลงในตำราต่าง ๆ เป็นเวลานานกว่าศตวรรตนอกจากนี้สัญลักษณ์ดังกล่าวยังใช้ในจุดประสงค์อื่น ๆ อีกด้วย เช่นใช้ แทนคำว่า respone , res , ratio , rex และที่คุ้นเคยกันมากคือ recipe ในใบสั่งยาของแพทย์ เป็นต้นในขณะเดียวกันนักเขียนตำราชาวอาหรับก็ใช้ สัญลักษณ์แทนเครื่องหมายรากหรือกรณฑ์ เช่นเดียวกัน โดยใช้สัญลักษณ์แต่ไม่มีอิทธิพลต่อนักแต่งตำราของยุโรปเท่าที่ควร สัญลักษณ์  ได้ปรากฎครั้งแรกในหนังสือ Coss ของ Rudoff (1525) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน แต่ไม่มีใครสนใจ เมื่อ Stifelได้แก้ไขใหม่ในปี ค.ศ.1553  โดยได้เปลี่ยนเป็นสัญลักษณ์ ดังนี้

 

                   คนมักจะกล่าวกันเสมอๆ ว่า Rudoff ใช้สัญลักษณ์  เพราะมันคล้ายคลึงกับอักษร r เล็ก ตัวย่อของ radixแต่ไม่มีหลักฐานใดยืนยันเรื่องนี้โดยตรง สัญลักษณ์นี้อาจจะได้รับการคิดค้นขึ้นมาตามลำพังก็ได้ อย่างไรก็ตาม มีข้อเท็จจริงที่ว่า ในศตวรรษที 14 และต่อมาภายหลัง เราได้ค้นพบว่ามีหนังสือหลายเล่มหลายเรื่อง ที่ใช้รูปแบบสัญญลักษณ์แสดงความหมายของรากได้มีการพัฒนาขึ้นหลายครั้ง เช่น Viacq ได้ใช้

                   สำหรับรากที่สอง
                   สำหรับรากที่สาม
                 สำหรับรากที่สี่
                  นอกจากนี้ Rahn (ค.ศ. 1622-1676) ได้ใช้
                   สำหรับรากที่สอง  สำหรับรากที่สาม  สำหรับรากที่สี่
                 สำหรับรากที่หก  สำหรับรากที่แปด

                  นักเขียนตำราฝรั่งเศส อังกฤษ และอิตาเลียน แห่งศตวรรษที่ 16 ยอมรับสัญลักษณ์ของเยอรมันนี้อย่างช้า ๆ แท้ที่จริงนักเขียนเยอรมันเอง ก็ไม่ได้ ชอบสัญลักษณ์เช่นนี้กันหมดทุกคน สัญลักษณ์ i (มาจากLatus = ข้าง หมายถึงด้านของจัตุรัส) ได้ถูกใช้อยู่บ่อย ๆ ดังนั้นเราจึงพบว่า The Ramus - Schoner (ค.ศ. 1592) ได้ใช้สัญลักษณ์

                 14 สำหรับ 
                  lc5 สำหรับ 
                  l s q6 สำหรับ 
                  และ ll 6 สำหรับ  , 1 3 สำหรับ 

                 Cosselin ได้ใช้สัญลักษณะในหนังสือ De Arte Magna ( ค.ศ.1577) ดังนี้

                  L9 สำหรับ 
                  LC8 สำหรับ 
                  LL16 สำหรับ 
                  LV24 PL9 สำหรับ  ( V หมายถึงทั้งหมด P หมายถึงบวก)

                 ในศตวรรษที่ 17 เครื่องหมายรากที่ใช้กันอยู่ในทุกวันนี้ ก็ได้รับการยอมรับจากคนทั่วไป แต่ก็มีการขัดแย้งกันอย่างมากมาย เช่น Stevin ก็ยังคงใช้สัญลักษณ์ เดียวกับที่ Rudoff เคยใช้ คือ

                 สำหรับรากที่สอง 3 สำหรับรากที่สาม
                3 สำหรับรากที่สี่ของรากที่สาม 
                ) (2 สำหรับ .x2
               (2) สำหรับ .


                 Netton ได้ใช้สัญลักษณ์ ดังนี้
                 สำหรับ 
                สำหรับ 
 

                เมื่อก่อนจะสิ้นคริสตวรรษที่ 17 ในหนังสือ Dictioarie Mathematique ของ Ozanam ( ปารีส , 1691 ) ได้ใช้สัญลักษณ์

                C. aab สำหรับ 
               C. a3 +3abb สำหรับ 

     ในศตวรรษที่ 18 ทุกฝ่ายได้ยอมรับเครื่องหมาย  สำหรับรากที่สองและ  สำหรับรากที่สาม


 

สร้างโดย: 
นายวุฒชัย ศรีรางวัล นายจารุกิตติ์ บรรลือเผ่าพงศ์

ถ้านู๋เรียน ม.ปลาย คงจะเข้าใจมากกว่านี้แน่ๆ...

ขอบคุงที่เผยแพร่ความรู้ให้..แต๊งกิ้ว Tongue outWink

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 560 คน กำลังออนไลน์