• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:df6fbd5c18ee08edd65f676796e50b2b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การรัฐประหาร 16 กันยายน 2500</span></b><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> เป็นการรัฐประหารครั้งสำคัญ ที่ทำให้กลุ่มผู้นำรัฐบาลที่เคยมาจากคณะราษฎรสิ้นสุดลง</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">อย่างสิ้นเชิงพร้อมกับเจตนารมย์ของ</span><a href=\"http://www.thaipoliticsgovernment.org/wiki/การเปลี่ยนแปลงการปกครอง_24_มิถุนายน_2475\" title=\"การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475\"><span style=\"color: windowtext\">การปฏิวัติ 2475</span></a><span style=\"color: #000000\"> การรัฐประหารครั้งนี้ เป็นจุดเริ่มต้นของการฟื้นฟูสถานภาพของ</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พระมหากษัตริย์ภายหลังการปฏิวัติทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรมให้กลับมาสูงเด่นจนสามารถกลายเป็น</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">อุดมการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในการเมืองไทยในปัจจุบัน</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในระยะก่อนการรัฐประหารจะเกิดขึ้น ความขัดแย้งทางการเมือง 3 เส้าและกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมดำเนินไปสู่การแบ่ง</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ออกเป็น 2 ขั้วทางการเมืองไทย คือ ขั้วที่สนับสนุนรัฐบาลอันมีกลุ่มจอมพล ป.และพล.ต.อ.เผ่า กับ ขั้วต่อต้านรัฐบาลที่มีจอม</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พลสฤษดิ์ และกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม ต่างชิงไหวชิงพริบกันอยู่ โดยฝ่ายรัฐบาลได้ดำเนินการในช่วงวันสุดท้ายก่อนการเกิด</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รัฐประหารดังนี้ จอมพล ป.ได้เข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ในวันที่ 16 กันยายน เวลา 11.00 น. และกลับ</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ออกมาเวลา 13.00 น. ด้วยสีหน้า เคร่งเครียดและบึ้งตึง ไม่ยอมหยุดรถชี้แจงให้สัมภาษณ์กับคณะนักหนังสือพิมพ์ที่พากันไปรอ</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สัมภาษณ์อย่างที่เป็นมา เนื่องจาก พระองค์ไม่ทรงเห็นชอบในการปลดจอมพลสฤษดิ์ จากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกตามที่</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รัฐบาลเสนอต่อมาในวันเดียวกัน เวลา 14.30 น. จอมพล ป.ได้เรียกประชุมบุคคลสำคัญของคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทน</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประเภท 1 พรรคเสรีมนังคศิลา ประชุมที่ทำการพรรค ณ บ้าน มนังคศิลาเพื่อดำเนินการบางประการกับจอมพลสฤษดิ์และ</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">พวก</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หลังการประชุมพรรคเสรีมนังคศิลาของรัฐบาลแล้ว จอมพลป.ได้ขอเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์อีกครั้ง ณ วังสวนจิตลดา ในเย็น</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วันที่ 16 กันยายน 2500 จากบันทึกนาย<st1:personname ProductID=\"ทองใบ ทองปาวด์\" w:st=\"on\">ทองใบ ทองปาวด์</st1:personname> -นักข่าวร่วมสมัยได้บันทึกว่า สีหน้าของจอมพล ป.ภายหลังเข้าเฝ้านั้น </span><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></i></span><span style=\"color: #000000\"><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">“</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บูด เหมือนปลาร้าค้างปี </span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">”</span></i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> เขาถามจอมพล ป.ว่า </span><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">“</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เข้าเฝ้าในหลวงทำไม</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">”</span></i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> จอมพล ป.ตอบว่า </span><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">“</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เข้าเฝ้าตามปกติ</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">”</span></i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> เขาถามต่อว่า </span><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></i></span><span style=\"color: #000000\"><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">“</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในหลวงรับสั่งอย่างไรบ้าง</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">”</span></i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> จอมพล ป.ตอบว่า </span><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">“</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไม่รับสั่งอะไร</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">… </span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไม่มีข่าว</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">”</span></i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> หลังจากนั้นจอมพล ป.เร่งขับรถทันเดอร์เบิรต์ </span><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></i></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">“</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พุ่งปราดออกจากประตูสวนจิตรลดาไป</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">”</span></i><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในคืนนั้นเอง เมื่อรถถังได้ปรากฏตามมุมสำคัญๆในกรุงเทพฯ สำหรับท่าทีของกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมอย่างพระยาศรีวิสาร</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วาจา-องคมนตรี เมื่อรู้ว่าเกิดการรัฐประหาร คือ เสียงหัวเราะไม่นานจากนั้น วิทยุได้ประกาศพระบรมราชโองการของ</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">พระมหากษัตริย์ที่ทรงแต่งตั้งให้</span><a href=\"http://www.thaipoliticsgovernment.org/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A5_%E0%B8%AA%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C_%E0%B8%98%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%95%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (ยังไม่ได้สร้าง)\"><span style=\"color: windowtext\">จอมพล สฤษดิ์</span></a><span style=\"color: #000000\">เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหารทั้งนี้ พระบรมราชโองการฉบับนี้ ยังคงเป็นปัญหา</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ถกเถียงถึงอำนาจของพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ เนื่องจากเป็นการกระทำที่ปราศจากผู้รับสนองพระราชโองการอัน</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ละเมิดต่อ</span><a href=\"http://www.thaipoliticsgovernment.org/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2475_%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A1_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2495&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"รัฐธรรมนุญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 (ยังไม่ได้สร้าง)\"><span style=\"color: windowtext\">รัฐธรรมนูญ 2495</span></a><span style=\"color: #000000\"> ซึ่งขณะนั้นรัฐธรรมนูญฉบับนี้มิได้ถูกยกเลิก</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">จากรายงานของหน่วยข่าวกรองสหรัฐฯรายงานในภายหลังว่า พระมหากษัตริย์ไทยได้ให้พระบรมราชูปถัมภ์การรัฐประหารของ</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">จอมพลสฤษดิ์ ในการโค่นล้มรัฐบาลของจอมพล ป.เมื่อ 2500 เนื่องจากพระองค์ไม่พอพระราชหฤทัยรัฐบาลจอมพล ป.หลัง</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รัฐบาลถูกรัฐประหาร และพล.ต.อ.เผ่าได้ให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์และวิทยุรอยเตอร์จากกรุงการาจี ค่ำวันที่ 17 กันยายน </span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2500 หลังการเดินออกนอกประเทศ ว่า </span><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">“</span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รัฐประหารครั้งนี้ เป็นที่ทราบกันอยู่แล้ว เพียงแต่ว่า ไม่มีใครคิดสู้กับทหารและกษัตริย์ </span></i><i><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">”</span></i><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\nข้าพเจ้าคิดว่าผลกระทบของรัฐประหารครั้งนั้นทำให้เกิดอะไรมากมายได้แก่\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">1.การโค่นล้มรัฐบาลของ</span><a href=\"http://www.thaipoliticsgovernment.org/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A5_%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%81_%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"จอมพล แปลก พิบูลสงคราม (ยังไม่ได้สร้าง)\"><span style=\"color: windowtext\">จอมพล ป. พิบูลสงคราม</span></a><span style=\"color: #000000\">ที่มาจากการเลือกตั้งลงนี้ ถือเป็นการสิ้นสุด นายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายที่มาจาก</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">คณะราษฎร-ผู้นำการปฏิวัติ 2547 เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาสู่ระบอบประชาธิปไตย </span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">และถือว่าเป็นการสิ้นสุดเจตนารมณ์ของ</span><a href=\"http://www.thaipoliticsgovernment.org/wiki/การเปลี่ยนแปลงการปกครอง_24_มิถุนายน_2475\" title=\"การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475\"><span style=\"color: windowtext\">การปฏิวัติ 2475</span></a><span style=\"color: #000000\"> ลง</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">2.เป็นจุดเริ่มต้นของการฟื้นฟูสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มีอำนาจอย่างรอบด้านทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span> </span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">วัฒนธรรมอย่างไม่เคยมีมาก่อนหลัง</span><a href=\"http://www.thaipoliticsgovernment.org/wiki/การเปลี่ยนแปลงการปกครอง_24_มิถุนายน_2475\" title=\"การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475\"><span style=\"color: windowtext\">การปฏิวัติ 2475</span></a></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">3.ก้าวเข้าสู่ระบอบเผด็จการทหารเต็มรูปแบบ หรือเรียกในเวลาต่อมาว่า </span><b><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">“</span></b><b><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระบอบเผด็จการ สฤษดิ์ </span></b><b><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">”</span></b><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> หรือ</span><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">“</span></b><b><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ระบบพ่อขุนอุปถัมภ์เผด็จการ</span></b><b><span style=\"font-size: 12.5pt; font-family: Arial\">”</span></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n4.และอาจจะมีส่วนที่ส่งผลให้เกิดการปฏิวัติอีกครั้งในเมื่อไม่นานมานี้เพราะกลุ่มบุคคล\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\nเกิดการไม่พอใจกันเลยคิดว่าการปฏิวัตินั้นจะช่วยพวกเขาได้เลยปฏิวัติมันพร้อมกันไปเลย2กลุ่ม\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\nเลยทำให้โกลาหลกันไปใหญ่\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\nบรรณานุกรม\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">กุลลดา เกษบุญชู มี้ด </span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">, (</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">2550 ) </span></span><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">“</span></b><span style=\"font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอม </span></b><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></b></span><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">ภายใต้โครงสร้างอำนาจโลก</span></span></b><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">”</span></b><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> .กองทุนปรีดี พนมยงค์ มูลนิธิ 50 ปี </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">ธนาคารแห่งประเทศไทย . </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">จงกล ไกรฤกษ์</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">,</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">ร.ท </span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">,(</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">2546) <b>อยู่อย่างเสือ</b></span></span><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"> :</span></b><span style=\"font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> บันทึกชีวิตนักต่อสู้ทาง</span></b><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">การเมืองยุคบุกเบิก (2475-2500)</span></b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> . เชียงใหม่: </span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">The</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> </span></span><st1:placename w:st=\"on\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">Knowledge</span></st1:placename><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"> <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">Center.</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">ชุมพล โลหะชาละ</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">, </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">พล.ต.ท. </span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">“ </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">หนีไปกับจอมพล </span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">” ,</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> <b>เบื้องแรก</b></span><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></b></span><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">ประชาธิปไตย</span></span></b><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"> :</span></b><span style=\"font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> บันทึกความทรงจำของผู้อยู่ในเหตุการณ์สมัย พ.ศ. </span></b><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">2475-2500</span></b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> . กรุงเทพฯ</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"> :</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\"> สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">,</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">2516. <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล </span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">,(</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">2544) <b>ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง</b>.กรุงเทพฯ</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"> : </span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">6 ตุลา</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">รำลึก. <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">ณัฐพล ใจจริง(2008) ความสัมพันธ์ไทย-จีน กับความขัดแย้งทางการเมือง</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"> :</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">“</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">การทูตใต้ดิน</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">”(</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">2498-2500)ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">,</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> รัฐศาสตร์สาร</span></b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">,</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">29 </span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">,(</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">ฉบับพิเศษ)</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">,</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">หน้า 29-80. <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">ณัฐพล ใจจริง </span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">, “ </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">คว่ำปฏิวัติ-โค่นคณะราษฎร</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"> : </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">การก่อตัวของ </span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">‘</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">ระบอบ</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">’ ” ,</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> <b>ฟ้าเดียวกัน</b> ปีที่ 6 ฉบับที่ </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">1 (มกราคม-มีนาคม 2551)</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">, </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">104-146. <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">เฉลิม มลิลา</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">,(</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">2518) </span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">“</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">รัฐประหาร พ.ศ. 2500 ในประเทศไทย</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">” ,</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> <b>วิทยานิพนธ์</b></span><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต</span></b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> แผนกวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">เทียน ประทีปเสน(2507) <b>จอมพลป. ขุนศึกผู้ไร้แผ่นดิน</b> . กรุงเทพฯ</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"> :</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> โรง</span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">พิมพ์พัฒนาการพิมพ์.ไทยน้อย</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">” </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">และกมล จันทรสร</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\">,(</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">2503) <b>วอเตอร์ลูของ</b></span><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">จอมพลแปลก</span></b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> .พระนคร</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"> : </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">แพร่พิทยา และโอเดียนสโตร์. <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก) และสมัย</span></b><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\">สามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500</span></b><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"> . พระนคร</span></span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black; font-family: Arial\"> : </span><span style=\"font-size: 12.5pt; color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\">รวมมิตรไทย. <o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\nBlog โดย กัญญกาน สว่าง ม.6/1 เลขที่ 22 คะ\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\nหาข้อมูลมาจาก <a href=\"http://www.google.com\" title=\"www.google.com\">www.google.com</a> คะ\n</p>\n<p></p>\n', created = 1718482844, expire = 1718569244, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:df6fbd5c18ee08edd65f676796e50b2b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การปฏิวัติในปีพ.ศ.2500

การรัฐประหาร 16 กันยายน 2500 เป็นการรัฐประหารครั้งสำคัญ ที่ทำให้กลุ่มผู้นำรัฐบาลที่เคยมาจากคณะราษฎรสิ้นสุดลงอย่างสิ้นเชิงพร้อมกับเจตนารมย์ของการปฏิวัติ 2475 การรัฐประหารครั้งนี้ เป็นจุดเริ่มต้นของการฟื้นฟูสถานภาพของพระมหากษัตริย์ภายหลังการปฏิวัติทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรมให้กลับมาสูงเด่นจนสามารถกลายเป็น

อุดมการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในการเมืองไทยในปัจจุบัน

ในระยะก่อนการรัฐประหารจะเกิดขึ้น ความขัดแย้งทางการเมือง 3 เส้าและกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมดำเนินไปสู่การแบ่งออกเป็น 2 ขั้วทางการเมืองไทย คือ ขั้วที่สนับสนุนรัฐบาลอันมีกลุ่มจอมพล ป.และพล.ต.อ.เผ่า กับ ขั้วต่อต้านรัฐบาลที่มีจอมพลสฤษดิ์ และกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม ต่างชิงไหวชิงพริบกันอยู่ โดยฝ่ายรัฐบาลได้ดำเนินการในช่วงวันสุดท้ายก่อนการเกิดรัฐประหารดังนี้ จอมพล ป.ได้เข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ในวันที่ 16 กันยายน เวลา 11.00 น. และกลับออกมาเวลา 13.00 น. ด้วยสีหน้า เคร่งเครียดและบึ้งตึง ไม่ยอมหยุดรถชี้แจงให้สัมภาษณ์กับคณะนักหนังสือพิมพ์ที่พากันไปรอสัมภาษณ์อย่างที่เป็นมา เนื่องจาก พระองค์ไม่ทรงเห็นชอบในการปลดจอมพลสฤษดิ์ จากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกตามที่รัฐบาลเสนอต่อมาในวันเดียวกัน เวลา 14.30 น. จอมพล ป.ได้เรียกประชุมบุคคลสำคัญของคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนประเภท 1 พรรคเสรีมนังคศิลา ประชุมที่ทำการพรรค ณ บ้าน มนังคศิลาเพื่อดำเนินการบางประการกับจอมพลสฤษดิ์และ

พวก

หลังการประชุมพรรคเสรีมนังคศิลาของรัฐบาลแล้ว จอมพลป.ได้ขอเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์อีกครั้ง ณ วังสวนจิตลดา ในเย็นวันที่ 16 กันยายน 2500 จากบันทึกนายทองใบ ทองปาวด์ -นักข่าวร่วมสมัยได้บันทึกว่า สีหน้าของจอมพล ป.ภายหลังเข้าเฝ้านั้น บูด เหมือนปลาร้าค้างปี เขาถามจอมพล ป.ว่า เข้าเฝ้าในหลวงทำไม จอมพล ป.ตอบว่า เข้าเฝ้าตามปกติ เขาถามต่อว่า ในหลวงรับสั่งอย่างไรบ้าง จอมพล ป.ตอบว่า ไม่รับสั่งอะไรไม่มีข่าว หลังจากนั้นจอมพล ป.เร่งขับรถทันเดอร์เบิรต์

พุ่งปราดออกจากประตูสวนจิตรลดาไป

ในคืนนั้นเอง เมื่อรถถังได้ปรากฏตามมุมสำคัญๆในกรุงเทพฯ สำหรับท่าทีของกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมอย่างพระยาศรีวิสารวาจา-องคมนตรี เมื่อรู้ว่าเกิดการรัฐประหาร คือ เสียงหัวเราะไม่นานจากนั้น วิทยุได้ประกาศพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ที่ทรงแต่งตั้งให้จอมพล สฤษดิ์เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหารทั้งนี้ พระบรมราชโองการฉบับนี้ ยังคงเป็นปัญหาถกเถียงถึงอำนาจของพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ เนื่องจากเป็นการกระทำที่ปราศจากผู้รับสนองพระราชโองการอัน

ละเมิดต่อรัฐธรรมนูญ 2495 ซึ่งขณะนั้นรัฐธรรมนูญฉบับนี้มิได้ถูกยกเลิก

จากรายงานของหน่วยข่าวกรองสหรัฐฯรายงานในภายหลังว่า พระมหากษัตริย์ไทยได้ให้พระบรมราชูปถัมภ์การรัฐประหารของจอมพลสฤษดิ์ ในการโค่นล้มรัฐบาลของจอมพล ป.เมื่อ 2500 เนื่องจากพระองค์ไม่พอพระราชหฤทัยรัฐบาลจอมพล ป.หลังรัฐบาลถูกรัฐประหาร และพล.ต.อ.เผ่าได้ให้สัมภาษณ์กับหนังสือพิมพ์และวิทยุรอยเตอร์จากกรุงการาจี ค่ำวันที่ 17 กันยายน

2500 หลังการเดินออกนอกประเทศ ว่า รัฐประหารครั้งนี้ เป็นที่ทราบกันอยู่แล้ว เพียงแต่ว่า ไม่มีใครคิดสู้กับทหารและกษัตริย์

 

 

ข้าพเจ้าคิดว่าผลกระทบของรัฐประหารครั้งนั้นทำให้เกิดอะไรมากมายได้แก่

 

1.การโค่นล้มรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงครามที่มาจากการเลือกตั้งลงนี้ ถือเป็นการสิ้นสุด นายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายที่มาจากคณะราษฎร-ผู้นำการปฏิวัติ 2547 เพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาสู่ระบอบประชาธิปไตย

และถือว่าเป็นการสิ้นสุดเจตนารมณ์ของการปฏิวัติ 2475 ลง

2.เป็นจุดเริ่มต้นของการฟื้นฟูสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มีอำนาจอย่างรอบด้านทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ

วัฒนธรรมอย่างไม่เคยมีมาก่อนหลังการปฏิวัติ 2475

3.ก้าวเข้าสู่ระบอบเผด็จการทหารเต็มรูปแบบ หรือเรียกในเวลาต่อมาว่า ระบอบเผด็จการ สฤษดิ์ หรือ

ระบบพ่อขุนอุปถัมภ์เผด็จการ

4.และอาจจะมีส่วนที่ส่งผลให้เกิดการปฏิวัติอีกครั้งในเมื่อไม่นานมานี้เพราะกลุ่มบุคคล

เกิดการไม่พอใจกันเลยคิดว่าการปฏิวัตินั้นจะช่วยพวกเขาได้เลยปฏิวัติมันพร้อมกันไปเลย2กลุ่ม

เลยทำให้โกลาหลกันไปใหญ่

 

บรรณานุกรม

กุลลดา เกษบุญชู มี้ด , (2550 ) การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์-ถนอม ภายใต้โครงสร้างอำนาจโลก .กองทุนปรีดี พนมยงค์ มูลนิธิ 50 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย . จงกล ไกรฤกษ์,ร.ท ,(2546) อยู่อย่างเสือ : บันทึกชีวิตนักต่อสู้ทางการเมืองยุคบุกเบิก (2475-2500) . เชียงใหม่: The Knowledge Center. ชุมพล โลหะชาละ, พล.ต.ท. หนีไปกับจอมพล ” , เบื้องแรกประชาธิปไตย : บันทึกความทรงจำของผู้อยู่ในเหตุการณ์สมัย พ.ศ. 2475-2500 . กรุงเทพฯ : สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย,2516. สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ,(2544) ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง.กรุงเทพฯ : 6 ตุลารำลึก. ณัฐพล ใจจริง(2008) ความสัมพันธ์ไทย-จีน กับความขัดแย้งทางการเมือง : การทูตใต้ดิน”(2498-2500)ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม, รัฐศาสตร์สาร ,29 ,(ฉบับพิเศษ),หน้า 29-80. ณัฐพล ใจจริง , “ คว่ำปฏิวัติ-โค่นคณะราษฎร : การก่อตัวของ ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข’ ” , ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2551), 104-146. เฉลิม มลิลา,(2518) รัฐประหาร พ.ศ. 2500 ในประเทศไทย” , วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต แผนกวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . เทียน ประทีปเสน(2507) จอมพลป. ขุนศึกผู้ไร้แผ่นดิน . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พัฒนาการพิมพ์.ไทยน้อยและกมล จันทรสร,(2503) วอเตอร์ลูของจอมพลแปลก .พระนคร : แพร่พิทยา และโอเดียนสโตร์. รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร สมัยสามัญ(ครั้งแรก) และสมัยสามัญ ชุดที่ 2 พ.ศ.2500 . พระนคร : รวมมิตรไทย.

 

Blog โดย กัญญกาน สว่าง ม.6/1 เลขที่ 22 คะ

 

หาข้อมูลมาจาก www.google.com คะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 1110 คน กำลังออนไลน์