• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('blog', 'node/111619', '', '3.147.80.94', 0, 'c19c043e41efea8b30f643a93e944529', 116, 1715987953) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f25716641420918fb791cbaa94bba669' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n          พืชสูญเสียน้ำไปโดยการคายน้ำ  (Transpiration) สู่บรรยากาศในรูปของไอน้ำ ผ่านทางปากใบเป็นส่วนใหญ่และผ่านทางผิวใบได้บ้างเพียงเล็กน้อย\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u17065/pic1vol1.jpg\" height=\"338\" /><br />\nกัตเตชันของใบข้าว\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong>1. ปากใบและการคายน้ำของพืช</strong><br />\nในบางครั้งอากาศมีความชื้นสัมพัทธ์สูง น้ำจะระเหยเป็นไอสู่บรรยากาศได้น้อยลง ทำให้พืชมีการคายน้ำลดลง แต่แรงดันน้ำในต้นพืชยังสูงอยู่จึงสามารถพบหยดน้ำที่บริเวณกลุ่มรูเปิดที่ผิวใบซึ่งเรียกว่า ไฮดาโทด  (Hydathode) มักพบอยู่ใกล้ปลายใบ หรือขอบใบตรงตำแหน่งของปลายท่อลำเลียง การคายน้ำในลักษณะนี้เรียกว่า กัตเตชัน (Guttation) ทำให้พืชสามารถดูดน้ำทางรากเข้าไปใช้ได้ สามารถพบได้ทั้งในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่<br />\n        พืชนอกจากจะสูญเสียน้ำโดยการระเหยเป็นไอออกมาทางปากใบแล้วพืชยังสามารถสูญเสียน้ำเป็นไอออกมาทางส่วนอื่นๆของลำต้นได้อีก เช่น เลนทิเซล (Lenticel) ซึ่งเป็นรอยแตกที่ผิวของลำต้น และมีพืชบางชนิดเท่านั้นที่พบเลนทิเซล ส่วนใหญ่พืชสูญเสียน้ำทางปากใบ ประมาณร้อยละ90\n</p>\n<hr id=\"null\" />\nที่มา: กัตเตชันใบข้าว.<a href=\"http://www.ipst.ac.th/biology/Article-pic/pic1vol1.jpg\"><u><span style=\"font-size: small; color: #0000ff; font-family: Times New Roman\">http://www.ipst.ac.th/biology/Article-pic/pic1vol1.jpg</span></u></a> \n', created = 1715987972, expire = 1716074372, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f25716641420918fb791cbaa94bba669' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การคายน้ำของพืช

รูปภาพของ msw06971

          พืชสูญเสียน้ำไปโดยการคายน้ำ  (Transpiration) สู่บรรยากาศในรูปของไอน้ำ ผ่านทางปากใบเป็นส่วนใหญ่และผ่านทางผิวใบได้บ้างเพียงเล็กน้อย


กัตเตชันของใบข้าว


1. ปากใบและการคายน้ำของพืช
ในบางครั้งอากาศมีความชื้นสัมพัทธ์สูง น้ำจะระเหยเป็นไอสู่บรรยากาศได้น้อยลง ทำให้พืชมีการคายน้ำลดลง แต่แรงดันน้ำในต้นพืชยังสูงอยู่จึงสามารถพบหยดน้ำที่บริเวณกลุ่มรูเปิดที่ผิวใบซึ่งเรียกว่า ไฮดาโทด  (Hydathode) มักพบอยู่ใกล้ปลายใบ หรือขอบใบตรงตำแหน่งของปลายท่อลำเลียง การคายน้ำในลักษณะนี้เรียกว่า กัตเตชัน (Guttation) ทำให้พืชสามารถดูดน้ำทางรากเข้าไปใช้ได้ สามารถพบได้ทั้งในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่
        พืชนอกจากจะสูญเสียน้ำโดยการระเหยเป็นไอออกมาทางปากใบแล้วพืชยังสามารถสูญเสียน้ำเป็นไอออกมาทางส่วนอื่นๆของลำต้นได้อีก เช่น เลนทิเซล (Lenticel) ซึ่งเป็นรอยแตกที่ผิวของลำต้น และมีพืชบางชนิดเท่านั้นที่พบเลนทิเซล ส่วนใหญ่พืชสูญเสียน้ำทางปากใบ ประมาณร้อยละ90


ที่มา: กัตเตชันใบข้าว.http://www.ipst.ac.th/biology/Article-pic/pic1vol1.jpg
รูปภาพของ mswsompoch

Winkตรวจงานแล้วนะครับ...Tongue out

ที่มาของภาพ ควรอยู่ใต้ภาพเลย นะครับ สะดวกต่อการตรวจสอบ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 316 คน กำลังออนไลน์