• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:13e28469380203f6fda6e0035103f784' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<script type=\"text/javascript\">\n<!--\ngoogle_ad_client = \"pub-4345580538062578\";\n/* 728x90, ถูกสร้างขึ้นแล้ว 9/4/10 */\ngoogle_ad_slot = \"5888319415\";\ngoogle_ad_width = 728;\ngoogle_ad_height = 90;\n//--><!--\ngoogle_ad_client = \"pub-4345580538062578\";\n/* 728x90, ถูกสร้างขึ้นแล้ว 9/4/10 */\ngoogle_ad_slot = \"5888319415\";\ngoogle_ad_width = 728;\ngoogle_ad_height = 90;\n//--></script><script src=\"http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js\" type=\"text/javascript\">\n</script></p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #339966\"><strong>กิจกรรมท้ายบทที่ 13</strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<strong>1.นักเรียนคนหนึ่งชั่งสาหร่ายหางกระรอกให้มีน้ำหนักเท่าๆกัน ใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใส่น้ำประมาณ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วเติมสารละลายบรอมไธมอลบลูลงไปประมาณ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร นำขวดหนึ่งไปตั้งไว้ในที่มืด อีกขวดหนึ่งไปตั้งในที่มีแสงเป็นเวลา 24 ชั่วโมงดังภาพ ผลการทดลองพบว่าขวดที่ตั้งในที่มืดจะเปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นสีเขียวออกเหลือง ส่วนขวดที่ตั้งอยู่ในที่มีแสงจะมีสีฟ้าเข้ม</strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"150\" width=\"300\" src=\"/files/u16510/t.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่มา:   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า97).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550 </span>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<br />\n          1.1 เพราะเหตุใดผลการทดลองจึงแตกต่างกัน<br />\n          1.2 จะอธิบายผลการทดลองอย่างไร<br />\n          1.3 จากการทดลองนี้ นักเรียนจะตั้งสมมติฐานอย่างไร<br />\n2. นำพืช 2 ต้น ซึ่งเป็นพืชชนิดเดียวกันและมาจากแหล่งเดียวกันมาทดลอง โดยต้น ก. ให้ได้รับแสงอย่างเต็มที่ ส่วนต้น ข. ให้ได้รับแสงรำไร หลังจากนั้นนำใบพืชจากทั้งสองต้นมาหาพื้นที่ผิวของใบ พบว่าผลการทดลองเป็นดังกราฟข้างล่าง\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"333\" width=\"600\" src=\"/files/u16510/g.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 397px; height: 223px\" />\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่มา:   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า97).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550 </span>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<br />\n          2.1 พืชต้นใดมีอัตราการเจริญเติบโตของใบสูงในระยะแรก<br />\n          2.2 พืชต้นใดมีการเจริญเติบโตของใบสูงกว่า<br />\n          2.3 จงอธิบายผลการทดลองนี้<br />\n3. ถ้าในกระบวนการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ไม่มีปฏิกิริยารีดักชันจะเดผลอย่างไร<br />\n4. สารเหล่านี้มีบทบาทอย่างไรในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง<br />\n          4.1 NADPH<br />\n          4.2 H2O<br />\n          4.3 RuBP<br />\n5. นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองโดยนำเซลล์ของสาหร่ายสีเขียวชนิดหนึ่งวางลงบนสไลด์ 3 แผ่น จากนั้นเติมแบคทีเรียที่ต้องการ O2   ซึ่งเคลื่อนที่ได้ลงไปแล้วนำสไลด์ทั้ง 3 แผ่น ไปใส่ในกล่องปิดสนิท(อากาศเข้าไม่ได้) แล้วให้แสงสีต่างๆกัน ได้ผลการทดลองเป็นดังภาพ\n</p>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<img height=\"333\" width=\"600\" src=\"/files/u16510/chlorplast1.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 478px; height: 301px\" />\n</div>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่มา:   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า98).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n          5.1 จงอธิบายและให้เหตุผลการกระจายตัวของแบคทีเรียในสไลด์ ก. ข. และ ค.<br />\n          5.2  จากการทดลองจะสรุปผลการทดลองอย่างไร<br />\n6. จงอธิบายว่าพืช C4   และพืชซีเอเอ็ม มีการปรับตัวอย่างไรในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงในสภาพแวดล้อมที่ร้อนและมีความชื้นน้อย<br />\n7. ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การถ่ายทอกอิเล็กตรอนเป็นวัฏจักรและไม่เป็นวัฏจักรแตกต่างกันอย่างไรและมีความสำคัญอย่างไรต่อพืช<br />\n8. โฟโตเรสไพเรชันคืออะไร แตกต่างจากกระบวนการหายใจปกติหรือไม่อย่างไร และมีความสำคัญต่อพืชอย่างไร\n</p>\n<p></p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">ที่มา: ข้อมูล  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า97 - 98).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550</span> </span>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><strong><span style=\"color: #ff0000\">เฉลยกิจกรรมท้ายบทที่ 14</span></strong>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n     <strong>1.1 <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> สารละลายบรอมไทมอลบลูจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวออกเหลืองเมื่อมีคาร์บอนไดออกไซด์ในสารละลายเพิ่มขึ้น และจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้าเข้มเมื่อมีคาร์บอนไดออกไซด์น้อยลง<br />\n     1.2 <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> สาหร่ายในขวดที่ตั้งไว้ในที่มีแสง มีการสังเคราะห์ด้วยแสง ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำจึงลดลง สาหร่ายในขวดที่ตั้งไว้ในที่มืดไม่มีการสังเคระห์ด้วยแสงมีแต่การหายใจจึงคายแก๊สคารืบอนไดออกไซดืให้แก่น้ำ ทำให้ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น<br />\n     1.3 <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> ถ้าแสงจำเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง พืชที่ได้รับแสงจะนำแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ ทำให้ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง แต่ถ้าไม่มีแสงพืชไม่มีการสังเคราะห์ด้วยแสง ปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะเพิ่มขึ้นจาการหายใจ </strong>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<strong>     2.1 <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> พืช ก<br />\n     2.2 <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> พืช ข<br />\n     2.3 <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> พืชชนิดนี้เจริยได้ทั้งในที่มีแดดและในที่ร่มรำไร แต่ในที่แสงรำไรจะเจริญได้ดีกว่าในที่มีแดด</strong></p>\n<p>3.<span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> จะไม่เกิดกระบวนการรีเจเนอเรชันในวัฏจักรคัลวิน \n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n     <strong>4.1 <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> NADPH รับอิเล็กตรอนจากกระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนในปฏิกิริยาแสงหรือพลังงานเคมีเพื่อนำไปใช้ในปฏิกิรกยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์<br />\n     4.2</strong> <span style=\"color: #ff0000\"><strong>ตอบ</strong></span> <strong>H<sub>2</sub>O เป็นตัวให้อิเล็กตรอนกับระบบแสง II ที่สูญเสียอิเล็กตรอนไป นอกจากนี้ยังให้ออกซิเจนอิสระอีกด้วย<br />\n     4.3 <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> RuBP ทำหน้าที่ตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในวัฏจักรคัลวิน</strong>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<strong>     5.1 <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> สไลด์ ก. ในที่มีแสง สาหร่ายสังเคราะห์ด้วยแสงและปล่อยออกซิเจนออกมา ดังนั้นในบริเวณที่มีคลอโรพลาสต์จะมีแบคทีเรียมาออกัน เพื่อรับออกซิเจนไปใช้ในกระบวนการหายใจ<br />\n          สไลด์ ข. ในที่มืด สาหร่ายไม่สามารถสังเคาระห์ดวยแสงได้ แต่บริเวณที่คลอโรพลาสต์ได้รับแสงขาวก้จะสังเคราะห์ด้วยแสงได้และปล่อยออกซิเจนออกมาบริเวณที่คลอโรพลาสตืได้รับแสงขาวจึงมีแบคทีเรีย แต่บริเวรแสงขาวส่องไม่ถูกสายของคลอโรพลาสตืก็จะไม่มีการสังเคราะห์ด้วยแสงบริเวณนี้จึงไม่มีออกซิเจน แบคทีเรียจึงไม่มาออกัน<br />\n          สไลด์ ค. ในที่มืด เมื่อให้แสงสีแดงยังบริเวรที่มีคลอโรพลาสต์บริเวณนี้ก็จะสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ เช่นเดียวกับให้แสงขาวในสไลด์ ข. แต่ในสไลด็ ค. บริเวณแสงขาวที่ส่องไม่ถูกสายของคลอโรพลาสต์ก็จะไม่มีการสังเคราะห์ด้วยแสง<br />\n     5.2 <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> จะเกิดการสังเคราะห์ด้วยแสงได้เมื่อคลอโรพลาสต์ได้รับแสงสีขาวหรือสีแดง </strong>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<strong>6. <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> ในสภาพแวดล้อมที่ร้อนและมีความชื้นน้อย ปากใบของพืช ซี เอ เอ็ม จะปิดเพื่อลดการสูญเสียน้ำ ส่วนในเวลากลางคืนปากใบจะเปิดแก๊สคารืบอนไดออกไซด์เข้าไปในใบนั้น จะมีการตรึงคารืบอนไดออกไซด์ครั้งแรก แล้วจะเปลี่ยนเป็นสารประกอบที่มีคาร์บอน 4 อะตอม ซึ่งจะลำเลียงมาไว้ที่แวคิวโอ เมื่อมีแสงสารประกอบที่ม่คาร์บอน 4 อะตอม จะลำเลียงไปสู่ตลอโรพลาสต์ แล้วปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ของวัฏจักรคัลวิน </strong>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<strong>7.<span style=\"color: #ff0000\"> ตอบ</span> การถ่ายทอดอิเล้กตรอนไม่เป็นวัฏจักรจะเริ่มจากระบบแสง II ผ่านตัวถ่ายทอดอิเล็กตรอนต่างๆ ไปยังระบบแสง I และอิเล็กตรอนจากระบบแสง I จะถูกถ่ายทอดไปจนถึง NADP ซึ่งจะเป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้ายได้เป็น NADPH ส่วนการถ่ายทอดอิเล้กตรอนแบบวัฏจักร อิเล็กตรอนที่หลุดออกจากระบบแสง I จะมีตัวรับอิเล็กตรอนมารับมีการส่งอิเล็กตรอนผ่านตัวนำอิเล็กตรอนต่างๆ แล้วจะกลับไปยังคลอโรฟิลล์ เอ ที่เป็นศูนย์กลางของปฏิกิริยาในระบบแสง I อีกครั้ง กระบวนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนเป็นวัฏจักรและไม่เป็นวัฏจักรมีความสำคัญต่อกระบวนการที่นำพลังงานแสงให้มาอยู่ในรูปของพลังงานเคมีในโมเลกุลของ NADPH  และ ATP </strong>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<strong>8. <span style=\"color: #ff0000\">ตอบ</span> ในน้ำที่ค่อนข้างลึก แสงจากดวงอาทิตย์ในช่วงคลื่นสีม่วง สีแดง และสีน้ำเงิน มักจะถูกพืชน้ำและสาหร่ายที่อยู่ด้านบนผิวน้ำดูดเอาไว้ ดังนั้นจึงเหลือแต่แสงสีส้ม เหลือง ที่เป็นแสงที่พืชสีเขียวดูดเอาไปใช้ได้น้อยมากจึงสามารถส่องมายังทะเลลึก แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลินจะดูดแสงสีเหล่านี้ไว้แล้วส่งต่อไห้คลอโรฟิลลื เอ ที่เป็นศูนยืกลางของปฏิกิริยาแสงซึ่งเพียงพอที่จะทำให้เกิดการถ่ายทอดอิเล็กตรอนได้ </strong>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">ที่มา: เฉลย  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า84-87).พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2547</span></span>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715637114, expire = 1715723514, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:13e28469380203f6fda6e0035103f784' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:21a2a9cb5cef8e31217eb5c2b4e6f79b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<script type=\"text/javascript\">\n<!--\ngoogle_ad_client = \"pub-4345580538062578\";\n/* 728x90, ถูกสร้างขึ้นแล้ว 9/4/10 */\ngoogle_ad_slot = \"5888319415\";\ngoogle_ad_width = 728;\ngoogle_ad_height = 90;\n//--><!--\ngoogle_ad_client = \"pub-4345580538062578\";\n/* 728x90, ถูกสร้างขึ้นแล้ว 9/4/10 */\ngoogle_ad_slot = \"5888319415\";\ngoogle_ad_width = 728;\ngoogle_ad_height = 90;\n//--></script><script src=\"http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js\" type=\"text/javascript\">\n</script></p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #339966\"><strong>กิจกรรมท้ายบทที่ 13</strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<strong>1.นักเรียนคนหนึ่งชั่งสาหร่ายหางกระรอกให้มีน้ำหนักเท่าๆกัน ใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใส่น้ำประมาณ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วเติมสารละลายบรอมไธมอลบลูลงไปประมาณ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร นำขวดหนึ่งไปตั้งไว้ในที่มืด อีกขวดหนึ่งไปตั้งในที่มีแสงเป็นเวลา 24 ชั่วโมงดังภาพ ผลการทดลองพบว่าขวดที่ตั้งในที่มืดจะเปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นสีเขียวออกเหลือง ส่วนขวดที่ตั้งอยู่ในที่มีแสงจะมีสีฟ้าเข้ม</strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"150\" width=\"300\" src=\"/files/u16510/t.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่มา:   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า97).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550 </span>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<br />\n          1.1 เพราะเหตุใดผลการทดลองจึงแตกต่างกัน<br />\n          1.2 จะอธิบายผลการทดลองอย่างไร<br />\n          1.3 จากการทดลองนี้ นักเรียนจะตั้งสมมติฐานอย่างไร<br />\n2. นำพืช 2 ต้น ซึ่งเป็นพืชชนิดเดียวกันและมาจากแหล่งเดียวกันมาทดลอง โดยต้น ก. ให้ได้รับแสงอย่างเต็มที่ ส่วนต้น ข. ให้ได้รับแสงรำไร หลังจากนั้นนำใบพืชจากทั้งสองต้นมาหาพื้นที่ผิวของใบ พบว่าผลการทดลองเป็นดังกราฟข้างล่าง\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"333\" width=\"600\" src=\"/files/u16510/g.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 397px; height: 223px\" />\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่มา:   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า97).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550 </span>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<br />\n          2.1 พืชต้นใดมีอัตราการเจริญเติบโตของใบสูงในระยะแรก<br />\n          2.2 พืชต้นใดมีการเจริญเติบโตของใบสูงกว่า<br />\n          2.3 จงอธิบายผลการทดลองนี้<br />\n3. ถ้าในกระบวนการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ไม่มีปฏิกิริยารีดักชันจะเดผลอย่างไร<br />\n4. สารเหล่านี้มีบทบาทอย่างไรในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง<br />\n          4.1 NADPH<br />\n          4.2 H2O<br />\n          4.3 RuBP<br />\n5. นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองโดยนำเซลล์ของสาหร่ายสีเขียวชนิดหนึ่งวางลงบนสไลด์ 3 แผ่น จากนั้นเติมแบคทีเรียที่ต้องการ O2   ซึ่งเคลื่อนที่ได้ลงไปแล้วนำสไลด์ทั้ง 3 แผ่น ไปใส่ในกล่องปิดสนิท(อากาศเข้าไม่ได้) แล้วให้แสงสีต่างๆกัน ได้ผลการทดลองเป็นดังภาพ\n</p>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<img height=\"333\" width=\"600\" src=\"/files/u16510/chlorplast1.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 478px; height: 301px\" />\n</div>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ที่มา:   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า98).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n          5.1 จงอธิบายและให้เหตุผลการกระจายตัวของแบคทีเรียในสไลด์ ก. ข. และ ค.<br />\n          5.2  จากการทดลองจะสรุปผลการทดลองอย่างไร<br />\n6. จงอธิบายว่าพืช C4   และพืชซีเอเอ็ม มีการปรับตัวอย่างไรในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงในสภาพแวดล้อมที่ร้อนและมีความชื้นน้อย<br />\n7. ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การถ่ายทอกอิเล็กตรอนเป็นวัฏจักรและไม่เป็นวัฏจักรแตกต่างกันอย่างไรและมีความสำคัญอย่างไรต่อพืช<br />\n8. โฟโตเรสไพเรชันคืออะไร แตกต่างจากกระบวนการหายใจปกติหรือไม่อย่างไร และมีความสำคัญต่อพืชอย่างไร\n</p>\n<p></p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">ที่มา: ข้อมูล  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า97 - 98).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550</span> </span>\n</p>\n<p class=\"EC_MsoNormal\">\n</p>', created = 1715637114, expire = 1715723514, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:21a2a9cb5cef8e31217eb5c2b4e6f79b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:db863a91d538986fc0464a1f03fe5da8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" alt=\"Wink\" title=\"Wink\" /><strong><span style=\"color: #ff0000\">ตรวจงานแล้วนะครับ...</span></strong><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue out\" title=\"Tongue out\" />\n</p>\n<p>\nควรจะแบ่งข้อคำถามทีละข้อ ต่อ หนึ่งหน้า และแบ่งหน้าเฉลยออกเป็น หน้าละ 1 ข้อ ดัวยนะคับ จาดีมั่กๆๆๆๆ เลย\n</p>\n', created = 1715637114, expire = 1715723514, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:db863a91d538986fc0464a1f03fe5da8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กิจกรรมท้ายบทที่ 13

รูปภาพของ msw6981

กิจกรรมท้ายบทที่ 13

1.นักเรียนคนหนึ่งชั่งสาหร่ายหางกระรอกให้มีน้ำหนักเท่าๆกัน ใส่ในขวดรูปชมพู่ขนาด 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใส่น้ำประมาณ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วเติมสารละลายบรอมไธมอลบลูลงไปประมาณ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร นำขวดหนึ่งไปตั้งไว้ในที่มืด อีกขวดหนึ่งไปตั้งในที่มีแสงเป็นเวลา 24 ชั่วโมงดังภาพ ผลการทดลองพบว่าขวดที่ตั้งในที่มืดจะเปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นสีเขียวออกเหลือง ส่วนขวดที่ตั้งอยู่ในที่มีแสงจะมีสีฟ้าเข้ม

ที่มา:   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า97).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550


          1.1 เพราะเหตุใดผลการทดลองจึงแตกต่างกัน
          1.2 จะอธิบายผลการทดลองอย่างไร
          1.3 จากการทดลองนี้ นักเรียนจะตั้งสมมติฐานอย่างไร
2. นำพืช 2 ต้น ซึ่งเป็นพืชชนิดเดียวกันและมาจากแหล่งเดียวกันมาทดลอง โดยต้น ก. ให้ได้รับแสงอย่างเต็มที่ ส่วนต้น ข. ให้ได้รับแสงรำไร หลังจากนั้นนำใบพืชจากทั้งสองต้นมาหาพื้นที่ผิวของใบ พบว่าผลการทดลองเป็นดังกราฟข้างล่าง

ที่มา:   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า97).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550


          2.1 พืชต้นใดมีอัตราการเจริญเติบโตของใบสูงในระยะแรก
          2.2 พืชต้นใดมีการเจริญเติบโตของใบสูงกว่า
          2.3 จงอธิบายผลการทดลองนี้
3. ถ้าในกระบวนการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ไม่มีปฏิกิริยารีดักชันจะเดผลอย่างไร
4. สารเหล่านี้มีบทบาทอย่างไรในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
          4.1 NADPH
          4.2 H2O
          4.3 RuBP
5. นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองโดยนำเซลล์ของสาหร่ายสีเขียวชนิดหนึ่งวางลงบนสไลด์ 3 แผ่น จากนั้นเติมแบคทีเรียที่ต้องการ O2   ซึ่งเคลื่อนที่ได้ลงไปแล้วนำสไลด์ทั้ง 3 แผ่น ไปใส่ในกล่องปิดสนิท(อากาศเข้าไม่ได้) แล้วให้แสงสีต่างๆกัน ได้ผลการทดลองเป็นดังภาพ

ที่มา:   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า98).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550


          5.1 จงอธิบายและให้เหตุผลการกระจายตัวของแบคทีเรียในสไลด์ ก. ข. และ ค.
          5.2  จากการทดลองจะสรุปผลการทดลองอย่างไร
6. จงอธิบายว่าพืช C4   และพืชซีเอเอ็ม มีการปรับตัวอย่างไรในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงในสภาพแวดล้อมที่ร้อนและมีความชื้นน้อย
7. ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การถ่ายทอกอิเล็กตรอนเป็นวัฏจักรและไม่เป็นวัฏจักรแตกต่างกันอย่างไรและมีความสำคัญอย่างไรต่อพืช
8. โฟโตเรสไพเรชันคืออะไร แตกต่างจากกระบวนการหายใจปกติหรือไม่อย่างไร และมีความสำคัญต่อพืชอย่างไร

ที่มา: ข้อมูล  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เล่ม 4 (หน้า97 - 98).พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2550

รูปภาพของ mswsompoch

Winkตรวจงานแล้วนะครับ...Tongue out

ควรจะแบ่งข้อคำถามทีละข้อ ต่อ หนึ่งหน้า และแบ่งหน้าเฉลยออกเป็น หน้าละ 1 ข้อ ดัวยนะคับ จาดีมั่กๆๆๆๆ เลย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 464 คน กำลังออนไลน์