• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:98ef0f2dae5edb838096c64cebd278b2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\"><sup><strong><span style=\"color: #000000; font-family: MS Sans Serif\">พัฒนาการด้านสังคมและวัฒนธรรมในสมัยกรุงธนบุรี</span></strong></sup></span> </span></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\"><strong>โครงสร้างทางสังคมไทยสมัยธนบุรีประกอบด้วยชนชั้นต่างๆ ได้แก่<br />\n</strong>-พระ</span><span style=\"color: #000000\">มหา</span><span style=\"color: #000000\">กษัตริย์ </span></sup></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff; font-family: MS Sans Serif\"><sup><span style=\"color: #000000\">เป็นผู้ที่มีพระราชอำนาจสูงสุดในแผ่นดิน<br />\n-พระบรมวงศานุวงศ์ ได้แก่ ราชวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ บรรดาพระราชโอรสและพระราชธิดา<br />\n-ไพร่ ได้แก่ คนธรรมดาสามัญที่เป็นชายฉกรรจ์ ส่วนเด็ก ผู้หญิงหรือคนชราถือเป็นบริวารของไพร่<br />\n-ทาส หมายถึง บุคคลที่มิได้เป็นไทแก่ตนเองโดยสิ้นเชิง<br />\n-พระสงฆ์ เป็นผู้สืบทอดพระพุทธศาสนา และเป็นผู้อบรมสั่งสอนคนในสังคมให้เป็นคนดี</span></sup></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\"><b>2.1 <span style=\"font-family: MS Sans Serif\">สภาพสังคมสมัยธนบุรี</span></b><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"> เนื่องจากบ้านเมืองตกอยู่ภาวะสงคราม ทางราชการจึงต้องควบคุมกำลังคนอย่างเข็มงวดเพื่อเตรียมสำหรับต้านภัยพม่า มีการลงทะเบียนชายฉกรรจ์เป็นไพร่หลวง โดยการสักเลกที่แขนเพื่อป้องกันการหลบหนี</span></span></sup></span> </span>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">2.2 </span><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\">การฟื้นฟูพระพุทธศาสนา</span> </span></span></sup></span></b><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\">สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงมีความเสื่อมใส ศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง ทรงฟื้นฟูกิจการพระพุทธศาสนาเพื่อให้เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจแก่ราษฏร ดังนี้</span></sup></span></span><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">การจัดระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ โปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งพระสังฆราชและพระราชาคณะขึ้นปกครองคณะสงฆ์ และให้มีการชำระความบริสุทธิ์ของพระสงฆ์ทั้งหมด พระสงฆ์ที่มีการประพฤติไม่อยู่ในพระวินัยก็ให้สึกออกเสีย</span> </span></sup></span></li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\">การสร้างและปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ เช่น วัดบางยี่เรือใต้ (วัดอินทาราม) </span></sup></span><a href=\"http://www.geocities.com/TheTropics/Coast/7708/topics/wat_arlun.htm\"><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\">วัดแจ้ง(วัดอรุณราชวราราม)</span></sup></span></a><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\">และวัดบางหว้าใหญ่(วัดระฆังโฆสิตาราม) เป็นต้น</span></sup></span></span><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\"> </span></sup></span></li>\n<li><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"> การตรวจสอบและคัดลอกพระไตรปิฏก เพื่อให้พระธรรมวินัยมีความบริสุทธิ์ โดยใช้ต้นฉบับพระไตรปิฏกจากวัดพระมหาธาตุ เมืองนครศรีธรรมราช</span> </span></sup></span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff; font-family: MS Sans Serif\"><b><sup><span style=\"color: #000000\">2.3 งานสร้างสรรค์ศิลปะและวรรณกรรม</span></sup></b></span> </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">ความเจริญรุ่งเรืองด้านศิลปแขนงต่างๆ ในสมัยธนบุรีไม่ปรากฏเด่นชัดนัก เนื่องจากบ้านเมืองตกอยู่ในภาวะสงครามตลอดรัชกาล ความบีบคั้นทางเศรษฐกิจและบรรดาช่างฝีมือถูกพม่ากวาดต้อนไปจำนวนมาก</span> </span></sup></span></li>\n<li><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">งานสถาปัตยกรรม ส่วนใหญ่เป็นงานซ่อมแซมบูรณะปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ และงานก่อสร้างพระราชวังเดิม</span> </span></sup></span></li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\">งานวรรณกรรม ได้แก่ </span></sup></span><a href=\"http://203.154.104.10/service/mod/heritage/nation/ramakian/index0.htm\"><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\">รามเกียรติ์ </span></sup></span></a><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\">(พระราชนิพนธ์บางตอนในสมเด็จพระเจ้าตากสิน),ลิลิตเพชรมงกุฏ (หลวงสรวิชิต),และโคลงยอพระเกียรติ์พระเจ้ากรุงธนบุรี(นายสวนมหาดเล็ก) เป็นต้น </span></sup></span></span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff; font-family: MS Sans Serif\"><b><sup><span style=\"color: #000000\">3. ด้านการศึกษา</span></sup></b></span> </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><b>วัดเป็นสถานศึกษาของเด็กไทยในสมัยธนบุรี </b>พระสงฆ์เป็นผู้สอนให้ความรู้ทั้งด้านหนังสือและอบรมความประพฤติ และเด็กชายเท่านั้นที่มีโอกาสได้เล่าเรียน</span> </span></sup></span></li>\n<li><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><b>การเรียนวิชาชีพ</b> เป็นหน้าที่ของพ่อแม่ ซึ่งจะถ่ายทอดวิชาชีพตามบรรพบุรุษของตน เช่นวิชาช่างปั่น ช่างเหล็ก ช่างเงิน ช่างทอง เป็นต้น</span> </span></sup></span></li>\n<li><span style=\"color: #3366ff\"><sup><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #000000\"><b>การศึกษาสำหรับเด็กหญิง </b><br />\n มีการเล่าเรียนการเย็บปักถักร้อย การปรุงแต่งอาหารและวิชางานบ้านงานเรือนสำหรับกุลสตรี ซึ่งถ่ายทอดกันมาตามประเพณีโบราณ มีเฉพาะในหมู่ลูกหลานขุนนางและพระราชวงศ์ ส่วนวิชาหนังสือไม่นิยมให้ผู้หญิงเรียน<br />\n </span></span></sup></span></li>\n<p><strong>สร้างโดย: </strong>น.ส.กมลมาศ ม่วงมูลตรี\n</p></ul>\n', created = 1718493577, expire = 1718579977, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:98ef0f2dae5edb838096c64cebd278b2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พัฒนาการด้านสังคม

พัฒนาการด้านสังคมและวัฒนธรรมในสมัยกรุงธนบุรี

โครงสร้างทางสังคมไทยสมัยธนบุรีประกอบด้วยชนชั้นต่างๆ ได้แก่
-พระ
มหากษัตริย์
เป็นผู้ที่มีพระราชอำนาจสูงสุดในแผ่นดิน
-พระบรมวงศานุวงศ์ ได้แก่ ราชวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ บรรดาพระราชโอรสและพระราชธิดา
-ไพร่ ได้แก่ คนธรรมดาสามัญที่เป็นชายฉกรรจ์ ส่วนเด็ก ผู้หญิงหรือคนชราถือเป็นบริวารของไพร่
-ทาส หมายถึง บุคคลที่มิได้เป็นไทแก่ตนเองโดยสิ้นเชิง
-พระสงฆ์ เป็นผู้สืบทอดพระพุทธศาสนา และเป็นผู้อบรมสั่งสอนคนในสังคมให้เป็นคนดี

2.1 สภาพสังคมสมัยธนบุรี เนื่องจากบ้านเมืองตกอยู่ภาวะสงคราม ทางราชการจึงต้องควบคุมกำลังคนอย่างเข็มงวดเพื่อเตรียมสำหรับต้านภัยพม่า มีการลงทะเบียนชายฉกรรจ์เป็นไพร่หลวง โดยการสักเลกที่แขนเพื่อป้องกันการหลบหนี

2.2 การฟื้นฟูพระพุทธศาสนา
สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงมีความเสื่อมใส ศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง ทรงฟื้นฟูกิจการพระพุทธศาสนาเพื่อให้เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจแก่ราษฏร ดังนี้

  • การจัดระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ โปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งพระสังฆราชและพระราชาคณะขึ้นปกครองคณะสงฆ์ และให้มีการชำระความบริสุทธิ์ของพระสงฆ์ทั้งหมด พระสงฆ์ที่มีการประพฤติไม่อยู่ในพระวินัยก็ให้สึกออกเสีย
  • การสร้างและปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ เช่น วัดบางยี่เรือใต้ (วัดอินทาราม) วัดแจ้ง(วัดอรุณราชวราราม)และวัดบางหว้าใหญ่(วัดระฆังโฆสิตาราม) เป็นต้น
  •  การตรวจสอบและคัดลอกพระไตรปิฏก เพื่อให้พระธรรมวินัยมีความบริสุทธิ์ โดยใช้ต้นฉบับพระไตรปิฏกจากวัดพระมหาธาตุ เมืองนครศรีธรรมราช

2.3 งานสร้างสรรค์ศิลปะและวรรณกรรม

  • ความเจริญรุ่งเรืองด้านศิลปแขนงต่างๆ ในสมัยธนบุรีไม่ปรากฏเด่นชัดนัก เนื่องจากบ้านเมืองตกอยู่ในภาวะสงครามตลอดรัชกาล ความบีบคั้นทางเศรษฐกิจและบรรดาช่างฝีมือถูกพม่ากวาดต้อนไปจำนวนมาก
  • งานสถาปัตยกรรม ส่วนใหญ่เป็นงานซ่อมแซมบูรณะปฏิสังขรณ์วัดวาอารามต่างๆ และงานก่อสร้างพระราชวังเดิม
  • งานวรรณกรรม ได้แก่ รามเกียรติ์ (พระราชนิพนธ์บางตอนในสมเด็จพระเจ้าตากสิน),ลิลิตเพชรมงกุฏ (หลวงสรวิชิต),และโคลงยอพระเกียรติ์พระเจ้ากรุงธนบุรี(นายสวนมหาดเล็ก) เป็นต้น

3. ด้านการศึกษา

  • วัดเป็นสถานศึกษาของเด็กไทยในสมัยธนบุรี พระสงฆ์เป็นผู้สอนให้ความรู้ทั้งด้านหนังสือและอบรมความประพฤติ และเด็กชายเท่านั้นที่มีโอกาสได้เล่าเรียน
  • การเรียนวิชาชีพ เป็นหน้าที่ของพ่อแม่ ซึ่งจะถ่ายทอดวิชาชีพตามบรรพบุรุษของตน เช่นวิชาช่างปั่น ช่างเหล็ก ช่างเงิน ช่างทอง เป็นต้น
  • การศึกษาสำหรับเด็กหญิง
    มีการเล่าเรียนการเย็บปักถักร้อย การปรุงแต่งอาหารและวิชางานบ้านงานเรือนสำหรับกุลสตรี ซึ่งถ่ายทอดกันมาตามประเพณีโบราณ มีเฉพาะในหมู่ลูกหลานขุนนางและพระราชวงศ์ ส่วนวิชาหนังสือไม่นิยมให้ผู้หญิงเรียน
  • สร้างโดย: น.ส.กมลมาศ ม่วงมูลตรี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 995 คน กำลังออนไลน์