• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6522b9e09f832b3317b734867c5165d4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nบริการบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต <br />\n               ทรัพยากรทางการศึกษาคือสิ่งใดๆก็ตามที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนไม่ว่า จะเป็น คน เงิน วัสดุและการบริหารจัดการ ล้วนแล้วแต่มีความเกี่ยวข้องและเป็นสิ่งสนับสนุน ให้เกิดการเรียนรู้และเกิดประโยชน์ทางในทางการศึกษา และตัวอย่างดังต่อไปนี้คือ ทรัพยากรทางการศึกษาที่มีบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ E-Learning\n</p>\n<p>\n                                    \n</p>\n<p>\nคำอธิบายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและ E-learning <br />\n  I. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือที่เรา หรือที่เรารู้จักในชื่อ ภาษาอังกฤษ ว่า CAI เป็นสื่อ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน อีกรูปแบบหนึ่ง ที่เป็นผู้ช่วย ของครู ได้เป็นอย่างดี  <br />\n                CAI หรือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ห มายถึง วิธีการเรียน การสอน ที่ใช้บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่ง ออกแบบไว้ เพื่อนำเสนอบทเรียนแทนผู้สอน และผู้เรียน สามารถ เรียนได้ด้วยตนเอง ตามลำดับขั้นตอน การเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ โดยมีการปฏิสัมพันธ์ ( Interactive) ระหว่างผู้เรียน กับ คอมพิวเตอร์ และผู้เรียนจะได้รับ้อนกลับทันที  เนื้อหาสาระความรู้ ( Information) ที่ผู้เรียน ศึกษาจาก บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้น จะมี ลักษณะที่สามารถกระตุ้น ความสนใจผู้เรียน ให้ติดตาม อย่างต่อเนื่อง ด้วยการใช้ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง กราฟิก เสียง ฯลฯ เมื่อผู้เรียน ศึกษาเนื้อเรื่อง ที่ต้องการเรียนรู้แล้ว จะมีแบบฝึกหัด ให้ผู้เรียน ได้ฝึกทบทวน และตรวจสอบ ตนเอง ดูว่า มีความเข้าใจ มากน้อยเพียงใด เมื่อคอมพิวเตอร์ ให้ข้อมูลย้อนกลับ ผู้เรียนจะรู้ทันทีว่า กิจกรรม ที่ทำไปนั้น ถูกต้องหรือไม่ จากนั้น คอมพิวเตอร์ จะนำเสนอเนื้อหาที่ ผู้เรียน จะต้องเรียนรู้ ในลำดับต่อไป คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ช่วยผู้เรียนให้เกิด การเรียนรู้ ได้หลายกรณี เช่น กรณีผู้เรียน ไม่เข้าใจ สิ่งที่เรียนรู้ จากครูผู้สอน ในชั้นเรียน ก็สามารถ เรียนรู้ เพิ่มเติม ได้จาก คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีโอกาสได้ทบทวน ความรู้ และทดสอบ ความเข้าใจ จากการทำกิจกรรม หรือแบบฝึกหัดด้วยตนเอง ตลอดจนสามารถ ประเมินผลการเรียนรู้ ของตนเอง ในเรื่องนั้นๆ ได้ หรือ ในกรณีที่ผู้เรียน มีความสนใจ ที่จะเรียนรู้ เพิ่มเติมเป็นพิเศษ นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียน แล้ว ผู้เรียน ก็สามารถ เรียนรู้ เพิ่มเติมได้ จากคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นับเป็นการขยาย ขอบข่ายการเรียนรู้ ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง สำหรับผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ให้ได้รับโอกาส ในการพัฒนาความรู้ และทักษะของตนได้เป็นอย่างดี ส่วนผู้เรียนที่ต้องการฝึกฝนตนเอง ให้เกิดความชำนาญ ในทักษะต่างๆ ก็สามารถใช้คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องนำทาง ไปสู่ความสำเร็จได้เช่นกัน\n</p>\n<p>\nII. E-Learning\n</p>\n<p>\n                          หมายถึง การเรียนรู้ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้การนำเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ ในรูปของสื่อ มัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ ฯลฯ e-learning เป็นการ สร้างสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะมีงานวิจัยหลายชิ้นที่สนับสนุนว่าการเรียนรู้แบบ e-learning นั้นช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น  ซึ่งถูกถ่ายทอดผ่านทาง มัลติมีเดียนั้นสามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนจากสื่อข้อความ เพียงอย่างเดียว นอกจากนี้การที่เนื้อหาการ เรียนอยู่ในรูปของข้อความอิเล็กทรอนิกส์ (e-text) ซึ่ง ได้แก่ข้อความซึ่งได้รับการจัดเก็บ ประมวล นำเสนอ และเผยแพร่ทาง คอมพิวเตอร์จึงทำให้มีข้อได้เปรียบสื่ออื่น ๆ หลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการ ด้วยความ สะดวกและรวดเร็วความคงทนของข้อมูล รวมทั้งความสามารถในการทำข้อมูลให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา <br />\n       E-Learning คือ ระบบการเรียนการสอนยุคใหม่ ที่ใช้ประโยชน์จากระบบอิเลคทรอนิกส์ ในปัจจุบันมักหมายถึงระบบการเรียนการสอนที่ใช้ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้าช่วย   ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำเข้าสู่ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอผ่านออนไลน์ เป็นต้น <br />\n                ในปัจจุบัน คนส่วนใหญ่มักจะใช้คำว่า e-Learning กับการเรียน การสอน หรือการอบรม ที่ใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Based Technology) ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมถึงเทคโนโลยีระบบการจัดการหลักสูตร (Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนด้านต่างๆ โดยผู้เรียนที่เรียนด้วยระบบ e-Learning นี้สามารถศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน์ หรือ จากแผ่นซีดี-รอม ก็ได้ และที่สำคัญอีกส่วนคือ เนื้อหาต่างๆ ของ e-Learning สามารถนำเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)\n</p>\n<p>\n<br />\nII. ข้อมูลและสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ\n</p>\n<p>\n                ข้อมูล (Data) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้คำจำกัดความไว้ว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงสำหรับใช้เป็นหลักในการอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ ข้อมูลจึงมีความหมายในลักษณะที่เป็นข้อมูลดิบ (Raw data) เรียกได้ว่าเป็นสิ่งที่ได้จากการสังเกตปรากฏการณ์ การกระทำหรือลักษณะต่าง ๆ ของวัตถุ สิ่งของ คน สัตว์ หรือพืช แล้วบันทึกไว้เป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพหรือเสียง (อ้างใน วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา : 2542 : 1)\n</p>\n<p>\n                สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่นำมาสรุปประมวลผล ดำเนินการทางสถิติ เปรียบเทียบหรือดำเนินการโดยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับได้เข้าใจความเป็นไปหรือสถานการณ์ของสิ่งที่มีสารสนเทศนั้นเป็นตัวแทน (ครรชิต มาลัยวงศ์ : 1998 : 20) วาสนา สุขกระสานติ ใน (2541 : 6-1) ได้ให้ความหมายของคำว่า สารสารเทศ (Information) ว่าหมายถึง &quot;ข่าวสารที่ได้จากการนำข้อมูลดิบ (Raw data) มาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นอยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที<br />\n                เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึง ครรชิต มาลัยวงศ์ (1998:20) กล่าวว่า เทคโนโลยีกลุ่มหนึ่งที่มีประโยชน์ในการจัดทำสารสนเทศและส่งสารสนเทศนั้นให้ถึงมือผู้รับ วศิน ธูปประยูร (อ้างในสานิตย์ กายาผาด : 2542 : 2) กล่าวว่า &quot;เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ในการประมวลผลสารสนเทศได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องประมวลผลคำ และเครื่องที่สามารถประมวลผลได้โดยอัตโนมัติอื่น ๆ เครื่องสมองกลเหล่านี้เป็นนวัตกรรมของมนุษย์ที่สร้างสรรขึ้นมา เพื่อรวบรวมผลิตสื่อสาร บันทึก เรียบเรียงใหม่แสดงผลประโยชน์จากสารสนเทศ&quot; มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (อ้างในสานิตย์ กายาผาด : 2542 : 3) กล่าวถึง เทคโนโลยีสารสนเทศว่าหมายถึง &quot;เทคโนโลยีทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ เริ่มจากเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บ ประมวลผล แสดงผลและเผยแพร่สารสนเทศในรูปของข้อมูล ข้อความหมายและเรื่องโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีโทรคมนาคม&quot; วาสนา สุขกระสานติ (2541:6-1) ได้กล่าวถึงเทคโนโลยีสารสนเทศว่า หมายถึง &quot;กระบวนการต่าง ๆ และระบบงานที่ช่วยให้ได้สารสนเทศที่ต้องการโดยจะรวมถึง 1) เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งส่วนมากแล้วจะหมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์โทรคมนาคมต่าง ๆ รวมทั้งซอฟแวร์ทั้งแบบสำเร็จรูป และแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือสมัยใหม่และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) 2) กระบวนการในการนำเอาเครื่องมือต่าง ๆ มาใช้งาน เพื่อรวบรวมจัดเก็บ ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป พิจารณาจากคำจำกัดความดังกล่าวข้างต้น เมื่อมองสภาพวิวัฒนาการของเทคโนโลยีในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม มีบทบาทเป็นอย่างมากสำหรับโลกแห่งข้อมูลสารสนเทศในปัจจุบัน ครรชิต มาลัยวงศ์ (1998:20) กล่าวถึงยุคก่อนคอมพิวเตอร์ว่า &quot;ไอ ที หมายถึง เทคโนโลยีการพิมพ์ กล้องถ่ายรูป เครื่องพิมพ์ดีด โทรเลขและโทรศัพท์ พอมาถึงยุคนี้ นักวิชาการหลายคนพอใจที่จะให้คำนิยามไอที ให้เหลือเพียงเป็นการผสมผสานกัน ระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม และบางคนไปไกลถึงกับขอเปลี่ยนชื่อเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ว่าเป็น เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (Information and Communication Technology) เรียกย่อ ๆ ว่า ICT&quot; นอกจากนี้แล้ว ครรชิต มาลัยวงศ์ ยังวิเคราะห์ต่อไปว่าหากจะแยกย่อยเทคโนโลยีสารสนเทศออกเป็นส่วน ๆ แล้ว จะเห็นว่า คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือสำหรับจัดเก็บบันทึกและประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ หรือจัดทำเป็นรายงานต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ แต่เมื่อจัดทำแล้วไม่สามารถส่งไปยังผู้ต้องการใช้อย่างรวดเร็ว รายงานเหล่านี้ก็ไม่เกิดประโยชน์ ดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมเข้ามาช่วยให้สามารถส่งสารสนเทศ หรือรายงานที่จัดทำขึ้นนั้นไปยังผู้รับได้โดยตรงและทันที\n</p>\n<p>\nจงแสดงความคิดเห็นสั้นๆ เกี่ยวกับผลกระทบของระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ท<br />\n                จากที่ได้สังเกตจากกลุ่มคนรอบตัว และได้อ่านข้อมูลข่าวสารจารหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ และแหล่งข้อมูลอื่นๆนั้นทำให้มั่นใจได้ว่าอินเทอร์เน็ตมีผลกระทบต่อสุขภาพกาย สุขภาพใจ และสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนไทยอย่างมากและเห็นได้ชัดเจนว่ากลุ่มเด็กดังกล่าวใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อความบันเทิงมากที่สุด เช่น การรับข่าวสาร พูดคุยติดต่อเพื่อน ดูหนัง ฟังเพลงเสนอความเห็นในกระทู้ต่างๆ เป็นต้น ทำให้เด็กๆไม่ค่อยมีความรู้เรื่องภายนอก ไม่ค่อยคุยและมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างและจะซึมเศร้าอยู่แต่ในโลกความฝันของตัวเอง  ซึ่งแน่นอนว่าเหตุการณ์ดังกล่าว มีผลกระทบต่อสภาพสังคมอย่างแน่นอน เมื่อเด็กๆ ใช้อินเตอร์เน็ตในทางที่ไม่เหมาะสมดังที่ยกตัวอย่างมาว่า การรับข่าวสาร หากเป็นข่าวสารที่บิดเบือนความจริงหรือข้อมูลการโฆษณาชวนเชื่อ การพูดคุยติดต่อเพื่อนใหม่ๆ อาจก่อให้เกิดการถูกหลอกลวง หรือก่อให้เกิดอาชญากรรมได้ ดังที่ได้เห็นจากข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ และการที่เด็กเข้าไปดูในเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม เช่นดูเรื่องที่ตอบสนองอารมณ์ทางเพศ ดูคลิปวีดิโอหรือภาพโป๊เปลือย ค้นข้อมูลที่ไม่เหมาะสม มีการด่าว่ากันในกระทู้ หรือใน Hi5 การแชทกับเพื่อนซึ่งเป็นความลับที่ไม่ต้องการให้ผู้ปกครองหรือคนอื่นรับรู้ การเล่นเกมส์ออนไลน์ซึ่งเป็นเกมส์ที่แสดงความรุนแรงทำให้เด็กลอกเลียนแบบพฤติกรรมดังกล่าวแล้วนำไปสู่การก่ออาชญากรรมได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวมได้ชัดเจนมากที่สุด ในการแก้ปัญหาเบื้องต้นนั้น อยู่ที่ผู้ใหญ่ควรให้เวลาและอยู่ใกล้ชิดกับเด็กเพื่อคอยดูแล และให้คำแนะนำแก่เด็ก เพื่อปลูกฝังค่านิยมและจริยธรรมให้แก่เด็ก เพื่อชี้ให้เห็นโทษและประโยชน์ของการใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจช่วยไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสังคมของเราได้\n</p>\n<p>\n  อ้างอิงจาก <a href=\"http://edtech.kku.ac.th/~id5250500010/Homework_1.html#item1\">http://edtech.kku.ac.th/~id5250500010/Homework_1.html#item1</a>\n</p>\n', created = 1726826214, expire = 1726912614, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6522b9e09f832b3317b734867c5165d4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บริการบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

รูปภาพของ dsp5996

บริการบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
               ทรัพยากรทางการศึกษาคือสิ่งใดๆก็ตามที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนไม่ว่า จะเป็น คน เงิน วัสดุและการบริหารจัดการ ล้วนแล้วแต่มีความเกี่ยวข้องและเป็นสิ่งสนับสนุน ให้เกิดการเรียนรู้และเกิดประโยชน์ทางในทางการศึกษา และตัวอย่างดังต่อไปนี้คือ ทรัพยากรทางการศึกษาที่มีบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ E-Learning

                                    

คำอธิบายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและ E-learning
  I. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือที่เรา หรือที่เรารู้จักในชื่อ ภาษาอังกฤษ ว่า CAI เป็นสื่อ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน อีกรูปแบบหนึ่ง ที่เป็นผู้ช่วย ของครู ได้เป็นอย่างดี 
                CAI หรือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ห มายถึง วิธีการเรียน การสอน ที่ใช้บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่ง ออกแบบไว้ เพื่อนำเสนอบทเรียนแทนผู้สอน และผู้เรียน สามารถ เรียนได้ด้วยตนเอง ตามลำดับขั้นตอน การเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ โดยมีการปฏิสัมพันธ์ ( Interactive) ระหว่างผู้เรียน กับ คอมพิวเตอร์ และผู้เรียนจะได้รับ้อนกลับทันที  เนื้อหาสาระความรู้ ( Information) ที่ผู้เรียน ศึกษาจาก บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้น จะมี ลักษณะที่สามารถกระตุ้น ความสนใจผู้เรียน ให้ติดตาม อย่างต่อเนื่อง ด้วยการใช้ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง กราฟิก เสียง ฯลฯ เมื่อผู้เรียน ศึกษาเนื้อเรื่อง ที่ต้องการเรียนรู้แล้ว จะมีแบบฝึกหัด ให้ผู้เรียน ได้ฝึกทบทวน และตรวจสอบ ตนเอง ดูว่า มีความเข้าใจ มากน้อยเพียงใด เมื่อคอมพิวเตอร์ ให้ข้อมูลย้อนกลับ ผู้เรียนจะรู้ทันทีว่า กิจกรรม ที่ทำไปนั้น ถูกต้องหรือไม่ จากนั้น คอมพิวเตอร์ จะนำเสนอเนื้อหาที่ ผู้เรียน จะต้องเรียนรู้ ในลำดับต่อไป คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ช่วยผู้เรียนให้เกิด การเรียนรู้ ได้หลายกรณี เช่น กรณีผู้เรียน ไม่เข้าใจ สิ่งที่เรียนรู้ จากครูผู้สอน ในชั้นเรียน ก็สามารถ เรียนรู้ เพิ่มเติม ได้จาก คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีโอกาสได้ทบทวน ความรู้ และทดสอบ ความเข้าใจ จากการทำกิจกรรม หรือแบบฝึกหัดด้วยตนเอง ตลอดจนสามารถ ประเมินผลการเรียนรู้ ของตนเอง ในเรื่องนั้นๆ ได้ หรือ ในกรณีที่ผู้เรียน มีความสนใจ ที่จะเรียนรู้ เพิ่มเติมเป็นพิเศษ นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียน แล้ว ผู้เรียน ก็สามารถ เรียนรู้ เพิ่มเติมได้ จากคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นับเป็นการขยาย ขอบข่ายการเรียนรู้ ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง สำหรับผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ให้ได้รับโอกาส ในการพัฒนาความรู้ และทักษะของตนได้เป็นอย่างดี ส่วนผู้เรียนที่ต้องการฝึกฝนตนเอง ให้เกิดความชำนาญ ในทักษะต่างๆ ก็สามารถใช้คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องนำทาง ไปสู่ความสำเร็จได้เช่นกัน

II. E-Learning

                          หมายถึง การเรียนรู้ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้การนำเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ ในรูปของสื่อ มัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติ ฯลฯ e-learning เป็นการ สร้างสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะมีงานวิจัยหลายชิ้นที่สนับสนุนว่าการเรียนรู้แบบ e-learning นั้นช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น  ซึ่งถูกถ่ายทอดผ่านทาง มัลติมีเดียนั้นสามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนจากสื่อข้อความ เพียงอย่างเดียว นอกจากนี้การที่เนื้อหาการ เรียนอยู่ในรูปของข้อความอิเล็กทรอนิกส์ (e-text) ซึ่ง ได้แก่ข้อความซึ่งได้รับการจัดเก็บ ประมวล นำเสนอ และเผยแพร่ทาง คอมพิวเตอร์จึงทำให้มีข้อได้เปรียบสื่ออื่น ๆ หลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน การเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการ ด้วยความ สะดวกและรวดเร็วความคงทนของข้อมูล รวมทั้งความสามารถในการทำข้อมูลให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
       E-Learning คือ ระบบการเรียนการสอนยุคใหม่ ที่ใช้ประโยชน์จากระบบอิเลคทรอนิกส์ ในปัจจุบันมักหมายถึงระบบการเรียนการสอนที่ใช้ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้าช่วย   ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำเข้าสู่ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอผ่านออนไลน์ เป็นต้น
                ในปัจจุบัน คนส่วนใหญ่มักจะใช้คำว่า e-Learning กับการเรียน การสอน หรือการอบรม ที่ใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Based Technology) ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมถึงเทคโนโลยีระบบการจัดการหลักสูตร (Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนด้านต่างๆ โดยผู้เรียนที่เรียนด้วยระบบ e-Learning นี้สามารถศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน์ หรือ จากแผ่นซีดี-รอม ก็ได้ และที่สำคัญอีกส่วนคือ เนื้อหาต่างๆ ของ e-Learning สามารถนำเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)


II. ข้อมูลและสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ

                ข้อมูล (Data) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้คำจำกัดความไว้ว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงสำหรับใช้เป็นหลักในการอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ ข้อมูลจึงมีความหมายในลักษณะที่เป็นข้อมูลดิบ (Raw data) เรียกได้ว่าเป็นสิ่งที่ได้จากการสังเกตปรากฏการณ์ การกระทำหรือลักษณะต่าง ๆ ของวัตถุ สิ่งของ คน สัตว์ หรือพืช แล้วบันทึกไว้เป็นตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพหรือเสียง (อ้างใน วิเศษศักดิ์ โคตรอาษา : 2542 : 1)

                สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่นำมาสรุปประมวลผล ดำเนินการทางสถิติ เปรียบเทียบหรือดำเนินการโดยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับได้เข้าใจความเป็นไปหรือสถานการณ์ของสิ่งที่มีสารสนเทศนั้นเป็นตัวแทน (ครรชิต มาลัยวงศ์ : 1998 : 20) วาสนา สุขกระสานติ ใน (2541 : 6-1) ได้ให้ความหมายของคำว่า สารสารเทศ (Information) ว่าหมายถึง "ข่าวสารที่ได้จากการนำข้อมูลดิบ (Raw data) มาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นอยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที
                เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึง ครรชิต มาลัยวงศ์ (1998:20) กล่าวว่า เทคโนโลยีกลุ่มหนึ่งที่มีประโยชน์ในการจัดทำสารสนเทศและส่งสารสนเทศนั้นให้ถึงมือผู้รับ วศิน ธูปประยูร (อ้างในสานิตย์ กายาผาด : 2542 : 2) กล่าวว่า "เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ในการประมวลผลสารสนเทศได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องประมวลผลคำ และเครื่องที่สามารถประมวลผลได้โดยอัตโนมัติอื่น ๆ เครื่องสมองกลเหล่านี้เป็นนวัตกรรมของมนุษย์ที่สร้างสรรขึ้นมา เพื่อรวบรวมผลิตสื่อสาร บันทึก เรียบเรียงใหม่แสดงผลประโยชน์จากสารสนเทศ" มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (อ้างในสานิตย์ กายาผาด : 2542 : 3) กล่าวถึง เทคโนโลยีสารสนเทศว่าหมายถึง "เทคโนโลยีทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ เริ่มจากเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บ ประมวลผล แสดงผลและเผยแพร่สารสนเทศในรูปของข้อมูล ข้อความหมายและเรื่องโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีโทรคมนาคม" วาสนา สุขกระสานติ (2541:6-1) ได้กล่าวถึงเทคโนโลยีสารสนเทศว่า หมายถึง "กระบวนการต่าง ๆ และระบบงานที่ช่วยให้ได้สารสนเทศที่ต้องการโดยจะรวมถึง 1) เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งส่วนมากแล้วจะหมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์โทรคมนาคมต่าง ๆ รวมทั้งซอฟแวร์ทั้งแบบสำเร็จรูป และแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือสมัยใหม่และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) 2) กระบวนการในการนำเอาเครื่องมือต่าง ๆ มาใช้งาน เพื่อรวบรวมจัดเก็บ ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป พิจารณาจากคำจำกัดความดังกล่าวข้างต้น เมื่อมองสภาพวิวัฒนาการของเทคโนโลยีในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม มีบทบาทเป็นอย่างมากสำหรับโลกแห่งข้อมูลสารสนเทศในปัจจุบัน ครรชิต มาลัยวงศ์ (1998:20) กล่าวถึงยุคก่อนคอมพิวเตอร์ว่า "ไอ ที หมายถึง เทคโนโลยีการพิมพ์ กล้องถ่ายรูป เครื่องพิมพ์ดีด โทรเลขและโทรศัพท์ พอมาถึงยุคนี้ นักวิชาการหลายคนพอใจที่จะให้คำนิยามไอที ให้เหลือเพียงเป็นการผสมผสานกัน ระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม และบางคนไปไกลถึงกับขอเปลี่ยนชื่อเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ว่าเป็น เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (Information and Communication Technology) เรียกย่อ ๆ ว่า ICT" นอกจากนี้แล้ว ครรชิต มาลัยวงศ์ ยังวิเคราะห์ต่อไปว่าหากจะแยกย่อยเทคโนโลยีสารสนเทศออกเป็นส่วน ๆ แล้ว จะเห็นว่า คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือสำหรับจัดเก็บบันทึกและประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ หรือจัดทำเป็นรายงานต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ แต่เมื่อจัดทำแล้วไม่สามารถส่งไปยังผู้ต้องการใช้อย่างรวดเร็ว รายงานเหล่านี้ก็ไม่เกิดประโยชน์ ดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมเข้ามาช่วยให้สามารถส่งสารสนเทศ หรือรายงานที่จัดทำขึ้นนั้นไปยังผู้รับได้โดยตรงและทันที

จงแสดงความคิดเห็นสั้นๆ เกี่ยวกับผลกระทบของระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ท
                จากที่ได้สังเกตจากกลุ่มคนรอบตัว และได้อ่านข้อมูลข่าวสารจารหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ และแหล่งข้อมูลอื่นๆนั้นทำให้มั่นใจได้ว่าอินเทอร์เน็ตมีผลกระทบต่อสุขภาพกาย สุขภาพใจ และสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนไทยอย่างมากและเห็นได้ชัดเจนว่ากลุ่มเด็กดังกล่าวใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อความบันเทิงมากที่สุด เช่น การรับข่าวสาร พูดคุยติดต่อเพื่อน ดูหนัง ฟังเพลงเสนอความเห็นในกระทู้ต่างๆ เป็นต้น ทำให้เด็กๆไม่ค่อยมีความรู้เรื่องภายนอก ไม่ค่อยคุยและมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างและจะซึมเศร้าอยู่แต่ในโลกความฝันของตัวเอง  ซึ่งแน่นอนว่าเหตุการณ์ดังกล่าว มีผลกระทบต่อสภาพสังคมอย่างแน่นอน เมื่อเด็กๆ ใช้อินเตอร์เน็ตในทางที่ไม่เหมาะสมดังที่ยกตัวอย่างมาว่า การรับข่าวสาร หากเป็นข่าวสารที่บิดเบือนความจริงหรือข้อมูลการโฆษณาชวนเชื่อ การพูดคุยติดต่อเพื่อนใหม่ๆ อาจก่อให้เกิดการถูกหลอกลวง หรือก่อให้เกิดอาชญากรรมได้ ดังที่ได้เห็นจากข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ และการที่เด็กเข้าไปดูในเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม เช่นดูเรื่องที่ตอบสนองอารมณ์ทางเพศ ดูคลิปวีดิโอหรือภาพโป๊เปลือย ค้นข้อมูลที่ไม่เหมาะสม มีการด่าว่ากันในกระทู้ หรือใน Hi5 การแชทกับเพื่อนซึ่งเป็นความลับที่ไม่ต้องการให้ผู้ปกครองหรือคนอื่นรับรู้ การเล่นเกมส์ออนไลน์ซึ่งเป็นเกมส์ที่แสดงความรุนแรงทำให้เด็กลอกเลียนแบบพฤติกรรมดังกล่าวแล้วนำไปสู่การก่ออาชญากรรมได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวมได้ชัดเจนมากที่สุด ในการแก้ปัญหาเบื้องต้นนั้น อยู่ที่ผู้ใหญ่ควรให้เวลาและอยู่ใกล้ชิดกับเด็กเพื่อคอยดูแล และให้คำแนะนำแก่เด็ก เพื่อปลูกฝังค่านิยมและจริยธรรมให้แก่เด็ก เพื่อชี้ให้เห็นโทษและประโยชน์ของการใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจช่วยไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสังคมของเราได้

  อ้างอิงจาก http://edtech.kku.ac.th/~id5250500010/Homework_1.html#item1

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 532 คน กำลังออนไลน์