• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ec0fc8cb71d04a66293f3aad2869bdd9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u9511/it.jpg\" height=\"323\" style=\"width: 226px; height: 201px\" />\n</p>\n<p>\nความเป็นมาของเครือข่าย\n</p>\n<p>\n        หากย้อนไปเมื่อประมาณ 50 ปีที่แล้ว คอมพิวเตอร์เครื่องแรกกำเนิดขึ้นที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ต่อมาคอมพิวเตอร์ก็มีบทบาทสร้างสรรค์สังคมมนุษย์เข้ามาช่วยเหลืองานต่าง ๆ ของมนุษย์มากมาย จินตนาการการสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีมานานแล้ว โดยเฉพาะในนิยายวิทยาศาสตร์ ผู้เขียนนิยายวิทยาศาสตร์หลายท่านได้สร้างจินตนาการให้เห็นระบบสื่อสารที่ทรงพลัง โดยมีคอมพิวเตอร์ช่วยเป็นสื่อในการรับส่งข้อมูลระหว่างกัน <br />\n        จุดเริ่มต้นของเครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มขึ้นในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1962 Licklider แห่งมหาวิทยาลัย MIT ได้บันทึกแนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ชื่อ Galactic Network โดยแสดงจินตนาการให้เห็นหลักการของเครือข่ายทางวิชาการ พร้อมทั้งประโยชน์ที่จะใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการพูดคุย สื่อสาร อภิปราย ส่งข่าวระหว่างกัน และเชื่อมโยงกันทั่วโลก ต่อมา Licklider ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าทีมงานวิจัยตามความต้องการของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกัน ในโครงการที่ชื่อ DARPA ร่วมกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอีกหลายคน\n</p>\n<p>\n PACKET SWITCHING EMERGED\n</p>\n<p>\nความคิดในช่วงแรกของการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์อาศัยหลักการพื้นฐานทางด้านการสวิตชิ่งของระบบโทรศัพท์ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ให้เชื่อมต่อกันในวงจรระหว่างจุดไปจุด จึงเรียกว่า &quot;การสวิตช์วงจร&quot; (Circuit Switching) จุดอ่อนของการสวิตช์วงจรที่เชื่อมระหว่างสองจุด ทำให้ใช้ข้อมูล ข่าวสารในเครือข่ายไม่เต็มประสิทธิภาพ และมีข้อยุ่งยากหากต้องการสื่อสารกันเป็นจำนวนมาก Leonard Kleinrock แห่งมหาวิทยาลัย MIT ได้เสนอแนวคิดในการสร้างเครือข่ายให้มีการรับส่ง ข้อมูลเป็นแพ็กเก็ต  (Packet)  โดยได้เสนอบทความในวารสารตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ปี ค.ศ. 1961 ต่อมาได้พิมพ์เป็นเล่มในปี ค.ศ. 1964 และเป็นหลักการที่ได้รับการยอมรับและนำมาใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จนถึงปัจจุบัน การสื่อสารบนเครือข่ายแบบแพ็กเก็ต (Packet) เป็นวิธีการที่ให้ผู้ส่งข่าวสารแบ่งแยกข่าวสารเป็นชิ้นเล็ก ๆ บรรจุเป็นกลุ่มข้อมูล โดยมีการกำหนดแอดเดรสปลายทางที่จะส่งข่าวสาร หลังจากนั้นระบบจะนำแพ็กเก็ต นั้นไปส่งยังหลายทาง ในปี ค.ศ. 1965 มีการทดลองการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขึ้นเป็นครั้งแรกระหว่างมหาวิทยาลัย MIT กับมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ผ่านทางสายโทรศัพท์และใช้หลักการแพ็กเก็ต ความคิดทางด้านการรับส่งข้อมูลเป็นชิ้นเล็ก ๆ แบบแพ็กเก็ตได้รับการยอมรับ จนในที่สุดมีการพัฒนาจากแนวความคิดนี้ไปหลายแนวทาง จนได้วิธีการรับส่งบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลากหลายรูปแบบ ซึ่งเป็นจุดกำเนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบต่าง ๆ เช่น 25, TCP/IP, Frame Relay etc. เมื่อมีการพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อเชื่อมโยงถึงกัน ก็เกิดแนวคิดในการสร้างมาตรฐานที่จะทำให้ระบบการเชื่อมโยงมีลักษณะเปิดมากขึ้น กล่าวคือ การนำผลิตภัณฑ์หลากหลายยี่ห้อมาเชื่อมต่อกันได้ จึงมีวิธีการแบ่งระดับการสื่อสารออกมาเป็นชั้น (Layer) แต่ละขั้นจะมีการวางมาตรฐานกลางเพื่อให้การเชื่อมเครือข่ายที่แตกต่างกันสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<br />\n  <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u9511/tnternet1.jpg\" height=\"300\" style=\"width: 226px; height: 191px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีอะไรบ้าง\n</p>\n<p>\n1. การใช้ Hardware ร่วมกัน<br />\n        2. การใช้ Software ร่วมกัน<br />\n        3. การต่อเชื่อมกับระบบอื่น<br />\n        4. การใช้ระบบ Multiuser\n</p>\n<p>\n1. การใช้ Hardware ร่วมกัน ดังที่ได้กล่าวไว้ในตอนต้นว่า ระบบ Network จะช่วยให้เราสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในเรื่อง Hardware ลงไปได้ ทั้งนี้เนื่องจากเราสามารถนำ Hardware บางประเภทมาใช้งานร่วมกันได้ ได้แก่<br />\n        Share Diskspace เป็นการใช้งานร่วมกันของเนื้อที่ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ซึ่งรวม Harddisk และ CD ROMS (Compac-Disk Read-Only Memory) ซึ่งเราจะใช้ Harddisk หรือ CD ROMS จาก PC ที่เราเรียกว่า &quot;File Server นี้จะเป็นเครื่องที่ใช้ในการเก็บข้อมูล (Data) ของ User และ Software ของระบบทั้งหมด รวมทั้งควบคุมการทำงานของระบบ Network ด้วย <br />\nสืบเนื่องจากการใช้ Harddisk หรือ CD ROMS จาก File Serveร่วมกันทุกคน จึงทำให้ไม่จำเป็นที่จะต้องมี Harddisk ที่เครื่อง PC แต่ละเคริอง รวมทั้งไม่ต้องมี Floppy Disk Drive ใดๆอีกต่อไป เราจะเรียกเครื่อง PC ประเภทนี้ว่า &quot;Diskless Workstation&quot; หรือ &quot;Dump Terminal<br />\n         Share Printer ในที่นี้เราจะขอกล่าวถึง Printer หรือเครื่องพิมพ์ก่อน ซึ่งเครื่องพิมพ์จะเป็นอุ)กรณ์ต่อพ่วง (Peripherals) ที่ใช้งานมากที่สุด โดยเฉพาะในปัจจุบันมี Printer ราคาสูงเกิดขึ้นมากมายโดยเฉพาะ Laser Printer และเครื่องพิมพ์สี (Color Printer) ซึ่งมีราคาแพง และจำเป็นต้องนำมาใช้งานร่วมกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด<br />\nนอกจากนั้นกรณีที่เรานำเครื่องพิมพ์มาใช้งานในระบบ Network มาก กว่า 1 เครื่อง เช่น Dot Matrix, Laser Printer, Color Printer, Ink Jet ฯลฯ เป็นต้น ในการส่งงานไปพิมพ์นั้น เราสามารถเลือกได้ว่าต้องการใช้งานเครื่องพิมพ์ชนิใดใช้งานได้ด้วย ซึ่งการทำงานง่ายและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น<br />\n         Share Communication Devices หมายถึง การนำอุปกรณ์สื่อสารของระบบคอมพิวเตอร์มาใช้งานร่วมกัน เช่น &quot;Modem&quot; ซึ่งใช้ในการเปลี่ยนถ่ายข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกันโดยอาศัยสายโทรศัพท์ นอกจาก Modem แล้วอุปกรณ์อีกอย่างหนึ่งที่สามารถนำมาใช้งานร่วมกันได้คือ &quot;FAX&quot; โดยเราสามารถพิมพ์ข้อมูลที่ &quot;Workstation&quot; ของเรา และส่งข้อมูลผ่านระบบ Network ไปที่เครื่อง FAX ได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องพิมพ์ลงกระดาษ แล้วเดินไปส่ง FAX ที่เครื่อง FAX อีกต่อไป <br />\n  <br />\n      2. การใช้ Software ร่วมกัน Software ที่ใช้งานบนระบบ Network แบ่งออกเป็น Sofeware Packages และ Data ดังนั้นเราสามารถนำ Software ทั้ง 2 แบบ มาใช้งานร่วมกันได้<br />\n                Share Software Packages ในปัจจุบันสิ่งที่เป็นปัญหาอยู่ก็คือ เรื่องของลิขสิทธิ์ทาง Software ถ้าเรายังคงมี PC แต่ละเครื่องใช้งานแยกกันอยู่ เราจำเป็นต้องซื้อ Software ที่ถูกต้องตามกฏหมายมาใช้งาน กล่าวคือ 1 ชุดต่อ 1 เครื่อง รวมทั้งยังต้องคอยระวังในเรื่องของการ Copy Software มาใช้งานเองของผู้ใช้แต่ละคนด้วย การนำระบบ &quot;Network&quot; มาใช้งานจะช่วยลดปัญหาของการทำผิดกฏหมายทางด้านลิขสิทธิ์ได้<br />\n            นอกจากนั้น Software ที่ใช้งานบนระบบ Network จะมีความคล่องตัวกว่า Software บน PC โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการซ่อมบำรุง ปรับปรุง Software ให้ถูกต้อง เช่น รุ่นที่ Upgrade มาใหม่ เราจะสามารถติดตั้งและ Upgrade Software ทั้ง 10 เครื่อง ซึ่งเสียเวลามาก<br />\n            นอกจากนั้นในกรณีที่เราใช้ Workstation ประเภท &quot;Diskless Workstation&quot; User จะไม่มีสิทธิ์ในการใช้งานแผ่น Disk เล่ย ทำให้เราสามารถขจัดปัญหาของ &quot;Virus&quot; ที่กำลังแพร่ระบาดอยู่ได้ รวมทั้งการตรวจสอบ Virus ก็ไม่จำเป็นต้องตรวจสอบที่ PC แต่ละเครื่อง แต่ตรวจสอบที่ Flie Server เพียงเครื่องเดียว ทำให้ประหยัดเวลา และเกิดการทำงานที่คล่องแคล่วตัวมากยิ่งขึ้น <br />\n    สำหรับเรื่องของ License หรือลิขสิทธิ์นั้น Software ที่จะนำมาใช้ในงานบนระบบ Network จะต้องเป็น Softwareรุ่น <br />\nของเน็ตเวอร์เท่านั้นซึ่งในปัจจุบันมี License Software สำหรับระบบ Network 2 แบบ คือ <br />\n        1.  สำหรับเรื่องของ License หรือลิขสิทธิ์นั้น Software ที่จะนำมาใช้ในงานบนระบบ Network จะต้องเป็น<br />\nSoftware รุ่น Network      <br />\n        2.  Per User License หมายถึง Software ที่จะต้องระบุจำนวน User ลงไปเลยว่าต้องการใช้เท่าใด แต่การทำงานจริง ๆ แล้วจะใช้กี่คนพร้อมกันก็ได้ <br />\n        Share Date ปัญหาที่เกิดขึ้นแน่นอน สำหรับการใช้งาน PC แยกกันคือ ในกรณีที่เราต้องการข้อมูลของ PC อีกเครื่องหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าข้อมูลนั้นมีขนาดใหญ่ หรือต้องการใช้งานข้อมูลร่วมกันบ่อย ๆ จะทำให้เสียเวลาในการ Copy ข้อมูลมาก ถ้าเรานำระบบ &quot;Network&quot; มาใช้งานข้อมูลของ User แต่ละคนจุถูกเก็บไว้ในที่เดียวกันคือ Harddisk ของ File Server ดังนั้น User แต่ละคนสามารถเรียกใช้ข้อมูลซึ่งกันและกันได้ทันที แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการกำหนดสิทธิในการเรียกใช้ข้อมูลของแต่ละ User ซึ่งเราสามารถกำหนดได้ว่า User คนใดสามารถใช้งานข้อมูลใดได้ถึงระดับใดบ้าง เนื้อหาในส่วนนี้จะได้กล่าวในลำดับต่อไป<br />\nจากประโยชน์ของการใช้ Software ร่วมกันนี้ ข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ที่ File Server ข้อมูลจึงถูกต้อง ทันสมัย และรวดเร็ว (เรียกว่า เป็นการควบคุมข้อมูลที่จุดศูนย์กลาง) โดยแต่ละ Workstation สามารถใช้ข้อมูลของ Workstation อื่น ได้ทันที (ถ้ามีสิทธิ์) โดยไม่ต้องรีรอ จึงทำให้การทำงานสะดวกขึ้น (Flexible) นอกจากนั้น ยังลดขั้นตอนในการปฏิบัติงาน และลดเวลาในการทำงาน คือแทนที่จะต้องเสียเวลาในการรอข้อมูลซึ่งกันและกัน เพื่อที่จะทำงานขั้นต่อไป ก็ทำให้ต้องเสียเวลาและลดความผิดพลาดที่เกิดจากข้อมูลไม่ถูกต้องทันสมัย เช่น เมื่อมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าทำให้ฝ่ายขาย ขานสินค้นตามราคาใหม่ได้ทันที โดยไม่ต้องรอการแจ้งเปลี่ยนแปลงราคาจากส่วนควบคุมการตั้งราคา เป็นต้น<br />\n        3. การต่อเชื่อมกับระบบอื่น<br />\nในระบบงานของ PC เมื่อต้องการนำ PC มาเชื่อมต่อกับระบบอื่น เช่น Mainframe หรือ Mini Computer จะต้องมีอุปกรณ์เชื่อมต่อพิเศษ เพื่อให้ PC นั้นสามารถทำงานร่วมกับระบบอื่นได้ เราเรียกขบวนการนี้ว่า &quot;Terminal Emulation&quot; ปัญหาก็คือ PC 1 เครื่องจะต้องมีอุปกรณ์พิเศษต่อเชื่อม 1 ชุด ซึ่งปกติจะมีราคาสูงมาก เมื่อทำงานที่มากขึ้น การต่อเชื่อมกับ PC เพียง 1 ชุด อาจไม่เพียงพอในการใช้งาน อาจจำเป็นต้องต่อมากยิ่งขึ้น ทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากตามไปด้วย<br />\nแต่ถ้าเรามีระบบ &quot;Network&quot; อยู่แล้ว เราสามารถนำ PC และอุปกรณ์ต่อเชื่อมสำหรับระบบอื่นเพียง 1 ชุดมาใช้งาน หลัก จาก นั้น Workstation เครื่องที่ไม่มี<br />\nอุปกรณ์ต่อเชื่อมนี้ก็สามารถเชื่อมต่อกับระบบอื่นได้ด้วย เสมือนมีอุปกรณ์เชื่อมต่อติดตั้งที่เครื่องของตนเอง ลักษณะเช่นนี้เราเรียกว่า &quot;Gateway&quot;<br />\n        4.การใช้ระบบ Multlusers<br />\nการใช้ระบบ Multlusers หมายถึง ระบบที่ User สามารถใช้โปรแกรมหรือข้อมูลเดียวกันได้ครั้งละหลาย ๆ คน ซึ่ง &quot;Network&quot; นั้นสามารถใช้งานระบบนี้ได้เป็นอย่างดี ทำให้ในปัจจุบัน ผู้ใช้งานในระบบ Multlusers หรือ Minicomputers ได้หันมาเล็งเห็นถึงความสำคัญของระบบ Network และเริ่มใช้งานระบบนี้มากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนของการทำงานในระบบ Multlusers\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<img border=\"0\" width=\"237\" src=\"/files/u9511/voip2.jpg\" height=\"313\" />\n</p>\n<p>\nประเภทของเครือข่าย\n</p>\n<p>\nเครือข่ายท้องถิ่น  (Local Area Network : LAN)\n</p>\n<p>\n                เครือข่ายเฉพาะบริเวณ  (Local  Area  Network  :  LAN)  หมายถึง  เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่เป็นของกลุ่มผู้ใช้กลุ่มเล็กๆ  กลุ่มหนึ่ง  ปกติจะเป็นเครือข่ายที่มีขอบเขตอยู่ภายในอาคารเดียวกัน  หรือกลุ่มอาคารที่อยู่ติดกัน  มีระยะไม่เกิน  2-3  กิโลเมตร  เหมาะสำหรับการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล  หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กของพนักงานในองค์กรเข้าด้วยกันโดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ  การใช้อุปกรณ์ส่วนกลางร่วมกัน  การใช้โปรแกรมและข้อมูลร่วมกัน  และการรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกัน  เครือข่าย  LAN  มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากระบบอื่นๆ  3  ประการ  คือ  ขนาด,  เทคโนโลยีที่ใช้ในการรับ-ส่งข้อมูล  และรูปแบบการจัดโครงสร้างของระบบ   <br />\n            ingle  building  LAN     เป็นการเชื่อมต่อแบบใดก็ได้  แต่สามารถสื่อสารถึงกันได้ใน  1  วงจรเท่านั้น  ดังแสดงในรูป   Multiple  building  LAN    เป็นการเชื่อมต่อหลายอาคาร  หลายชั้นโดยใช้การเชื่อมต่อหลายแบบ แต่สามารถเชื่อมต่อถึงกันได้โดย  Backbone    ดังแสดงในรูป\n</p>\n<p>\nเครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network : MAN)\n</p>\n<p>\n           เครือข่ายในเขตเมือง  (Metropolitan  Area  Network :  MAN)  มีลักษณะคล้ายกับระบบเครือข่าย  LAN  เพียงแต่มีขนาดใหญ่กว่าเท่านั้น  ระบบนี้อาจจะเชื่อมต่อการสื่อสารของสาขาหลายๆ  แห่งที่อยู่ภายในเขตเมืองเดียวกัน  หรืออาจครอบคลุมหลายเขตเมืองที่อยู่ใกล้กัน  โดยระบบนี้มีขีดความสามารถในการให้บริการทั้งการรับ-ส่งข้อมูลและโทรศัพท์ไปพร้อมกันได้  ในปัจจุบันยังครอบคลุมไปถึงระบบโทรทัศน์ทางสาย  (Cable  television)  ด้วย  ระบบนี้จะมีสายเคเบิลเพียงหนึ่งหรือสองเส้น  โดยไม่มีอุปกรณ์สลับช่องสื่อสาร  (Switching  element)  ทำหน้าที่คอยกักเก็บสัญญาณไว้ภายในหรือปล่อยสัญญาณออกไปสู่ระบบอื่น\n</p>\n<p>\nเครือข่ายบริเวณกว้าง ( Wide Area Network : WAN)\n</p>\n<p>\n            เครือข่ายวงกว้าง  (Wide  Area  Network  :  WAN)  ระบบเครือข่ายแบบนี้เป็นการขยายเขตการเชื่อมต่อครอบคลุมไปเป็นพื้นที่ระดับภูมิภาค  ระบบนี้ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์หลักเรียกว่า  โฮสต์คอมพิวเตอร์  (Host  Computer)  ทำหน้าที่คอยให้บริการแก่ผู้ใช้ทั้งหมดที่เป็นสมาชิกในกลุ่มตนเอง  โดยโฮสต์คอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายย่อย     ซึ่งมีหน้าที่ให้บริการรับ-ส่งข้อมูลระหว่างโฮสต์ต่างๆ  หลักการ                ระบบเครือข่ายย่อยในเครือข่าย  WAN  ประกอบด้วยอุปกรณ์สองอย่าง  คือ  สายสื่อสาร  (Transmission  line)  และอุปกรณ์สลับช่องสื่อสาร  (Switching  elements)\n</p>\n<p>\nโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบ LAN\n</p>\n<p>\nเครือข่ายแบบบัส (Bus Network)  เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาวต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ เข้ากับสายเคเบิ้ลในการส่งข้อมูลจะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วง เวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกัน เพราะจะทำ ให้ข้อมูลชนกัน วิธีการที่ใช้อาจแบ่งเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน การเซตอัป เครื่องเครือข่ายแบบบัสนี้ ทำได้ไม่ยากเพราะคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด ถูกเชื่อมต่อด้วยสาย เคเบิ้ลเพียงเส้นเดียวโดยส่วนใหญ่เครือข่ายแบบบัส  มักจะใช้ในเครือข่ายขนาดเล็ก ซึ่งอยู่ในองค์กรที่มี <br />\nคอมพิวเตอร์ใช้ไม่มากนัก\n</p>\n<p>\nเครือข่ายแบบดาว (Star Network)เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับอุปกรณ์ ที่เป็น จุดศูนย์กลางของเครือข่าย โดยการนำสถานีต่าง ๆ มาต่อร่วมกันกับหน่วย สลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการ ติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วนสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงเป็นศูนย์กลางของการติดต่อ วงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานี ต่าง ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน\n</p>\n<p>\nเครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Network)เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิลยาวเส้นเดียวในลักษณะวงแหวน  การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายวงแหวน จะใช้ทิศทางเดียวเท่านั้น เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งส่งข้อมูลมันก็จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไป ถ้าข้อมูลที่รับมาไม่ตรง ตามที่คอมพิวเตอร์เครื่องต้นทางระบุ ก็จะส่งผ่านไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซึ่งจะเป็นขั้นตอน อย่างนี้ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงคอมพิวเตอร์ปลายทางที่ถูกระบุตามที่อยู่จากเครื่องต้นทาง <br />\n \n</p>\n<p>\nเครือข่ายแบบต้นไม้ (Tree Network)  เป็นเครือข่ายที่มีผสมผสานโครงสร้างเครือข่าย แบบต่าง ๆ เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่  การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่น ๆ ได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม <br />\nรับส่งข้อมูลเดียวกัน\n</p>\n<p>\nอุปกรณ์เครือข่าย\n</p>\n<p>\n        เซอร์เวอร์ (Server)\n</p>\n<p>\n        เซอร์เวอร์ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครืองแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักในเครือข่าย ที่ทำหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้เป็นเซอร์เวอร์มักจะเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และ <br />\nมีฮาร์ดดิกส์ความจำสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย                            .\n</p>\n<p>\n        ไคลเอนต์ (Client) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซอร์เวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่ายนั่นเอง                                                      .\n</p>\n<p>\n        ฮับ  (HUB)\n</p>\n<p>\nฮับ  (HUB) หรือ เรียก รีพีทเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่ง ไปยังพอร์ตที่เหลือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะแชร์แบนด์วิธหรืออัตราข้อมูลของเครือข่าย เพราะฉะนั้นถ้ามีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อมากจะทำให้อัตราการส่งข้อมูลลดลง\n</p>\n<p>\n        สวิตซ์  (Switch)\n</p>\n<p>\nคืออุปกรณ์เครือข่ายที่ทำหน้าที่ในเรเยอร์ที่ 2 และทำหน้าที่ส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังพอร์ตเฉพาะที่เป็นปลายทางเท่านั้น และทำให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับพอร์ตที่เหลือส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนั้น อัตราการรับส่งข้อมูลหรือแบนด์วิธจึงไม่ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนิยมเชื่อมต่อแบบนี้มากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนการของข้อมูล\n</p>\n<p>\n        เราเตอร์ (Router)\n</p>\n<p>\nเป็นอุปรณ์ที่ทำหน้าที่ในเลเยอร์ที่ 3 เราท์เตอร์จะอ่านที่อยู่ (Address) ของสถานีปลายทางที่ส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพื่อที่จะกำหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตัวจัดเส้นทางในแพ็กเก็ต เรียกว่า เราติ้งเทเบิ์ล (Routing Table) หรือตารางจัดเส้นทางนอกจากนี้ยังส่งข้อมูลไปยังเครือาข่ายที่ให้โปรโตคอลต่างกันได้ เช่น  IP (Internet Protocol)  ,  IPX  (Internet Package Exchange) และ  AppleTalk  นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นได้ เช่น เครือข่ายอินเตอร์เน็ต\n</p>\n<p>\n        บริดจ์  Bridge\n</p>\n<p>\n<br />\n        บริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน  (LAN Segments)   เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ Data Link Layer    จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น        .\n</p>\n<p>\n<br />\nBridge\n</p>\n<p>\n        บริดจ์  มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้นสามารถติดต่อกับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้\n</p>\n<p>\n        เกตเวย์ (Gateway)\n</p>\n<p>\n        เกตเวย์  เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อเครือข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ในการเชื่อมต่อเครือข่าย ที่เป็นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี   (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็นต้น   \n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u9511/DS95634_2_.gif\" height=\"400\" style=\"width: 260px; height: 246px\" />\n</p>\n<p>\nสรุปงาน   จุดเริ่มต้นของเครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มขึ้นในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1962 Licklider แห่งมหาวิทยาลัย MIT ได้บันทึกแนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ชื่อ Galactic Network โดยแสดงจินตนาการให้เห็นหลักการของเครือข่ายทางวิชาการ พร้อมทั้งประโยชน์ที่จะใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการพูดคุย สื่อสาร อภิปราย ส่งข่าวระหว่างกัน และเชื่อมโยงกันทั่วโลก ต่อมา Licklider ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าทีมงานวิจัยตามความต้องการของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกัน ในโครงการที่ชื่อ DARPA ร่วมกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอีกหลายคน\n</p>\n<p>\nอ้างอิงจาก  <a href=\"http://www.ds.ru.ac.th/Comp/W_Chai41101_41102/Network.htm\">http://www.ds.ru.ac.th/Comp/W_Chai41101_41102/Network.htm</a>\n</p>\n', created = 1726824522, expire = 1726910922, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ec0fc8cb71d04a66293f3aad2869bdd9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2fb2b5f372414f182123f8c445ce258c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u9511/DS95634_2_.gif\" height=\"400\" style=\"width: 260px; height: 246px\" />\n</p>\n<p>\nสรุปงาน   จุดเริ่มต้นของเครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มขึ้นในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1962 Licklider แห่งมหาวิทยาลัย MIT ได้บันทึกแนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ชื่อ Galactic Network โดยแสดงจินตนาการให้เห็นหลักการของเครือข่ายทางวิชาการ พร้อมทั้งประโยชน์ที่จะใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการพูดคุย สื่อสาร อภิปราย ส่งข่าวระหว่างกัน และเชื่อมโยงกันทั่วโลก ต่อมา Licklider ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าทีมงานวิจัยตามความต้องการของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกัน ในโครงการที่ชื่อ DARPA ร่วมกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอีกหลายคน\n</p>\n<p>\nอ้างอิงจาก  <a href=\"http://www.ds.ru.ac.th/Comp/W_Chai41101_41102/Network.htm\">http://www.ds.ru.ac.th/Comp/W_Chai41101_41102/Network.htm</a>\n</p>\n', created = 1726824522, expire = 1726910922, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2fb2b5f372414f182123f8c445ce258c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรื่องระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

รูปภาพของ dsp6307

สรุปงาน   จุดเริ่มต้นของเครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มขึ้นในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1962 Licklider แห่งมหาวิทยาลัย MIT ได้บันทึกแนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ชื่อ Galactic Network โดยแสดงจินตนาการให้เห็นหลักการของเครือข่ายทางวิชาการ พร้อมทั้งประโยชน์ที่จะใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการพูดคุย สื่อสาร อภิปราย ส่งข่าวระหว่างกัน และเชื่อมโยงกันทั่วโลก ต่อมา Licklider ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าทีมงานวิจัยตามความต้องการของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกัน ในโครงการที่ชื่อ DARPA ร่วมกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอีกหลายคน

อ้างอิงจาก  http://www.ds.ru.ac.th/Comp/W_Chai41101_41102/Network.htm

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 582 คน กำลังออนไลน์