• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3b7b20111bd6ac41ff20dd9e1fc76d0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n       โลกในยุคปัจจุบันนี้ เป็นยุคที่เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หรือไอทีมีบทบาทสำคัญและเป็นความจำเป็นที่ต้องมีต้องใช้ในการดำเนินงานของธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงเป็นที่มาของคำหลาย ๆ คำที่เกิดขึ้นในยุคนี้ที่ขึ้นต้นด้วย e- …. เช่น e-Commerce, e-Business, e-Education, e-Library, e-Journal, e-Learning ตลอดจน e-Government เป็นต้น\n</p>\n<p>\n  \n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"454\" src=\"/files/u10119/534.jpg\" height=\"340\" style=\"width: 338px; height: 259px\" /> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n   คำว่า e ย่อมาจาก electronic ซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลักคือ ให้มีการจัดเก็บสารสนเทศหรือเอกสารต่าง ๆ จากเดิมที่อยู่ในรูปของกระดาษมาให้อยู่ในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งก็คือแฟ้มคอมพิวเตอร์นั่นเอง โดยในการดำเนินการนี้ต้องอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (computer technology) เป็นหลัก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีส่วนที่ 1 ของเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดเก็บสารสนเทศในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถที่จะปรับปรุงแก้ไขได้ง่ายทำให้สารสนเทศเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ มีต้นทุนการผลิตต่ำ แต่มีความน่าสนใจมากกว่า และที่สำคัญ สามารถจะเผยแพร่หรือนำสารสนเทศจากผู้ผลิตไปยังผู้ใช้ได้ในเวลาอันรวดเร็วโดยผ่านเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมซึ่งอาศัยคอมพิวเตอร์เป็นตัวส่งและตัวรับ เรียกกันว่าเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม (telecommunication technology) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีส่วนที่ 2 ของ เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้นคำว่า Information Technology ในความหมายที่แท้จริงนั้นได้หมายรวมถึงสองส่วนของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศแล้วคือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเทคโนโลยีในการผลิตสารสนเทศ และเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมซึ่งสามารถจะสื่อสารสารสนเทศที่อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ที่หลากหลาย เช่น ข้อความ (text) ภาพนิ่ง (picture or graphic) ภาพเคลื่อนไหว (animation) เสียง (voice) และวีดีทัศน์ (video) เป็นต้น ไปยังผู้ใช้ได้ในเวลาอันรวดเร็ว\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n     ในปัจจุบันเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือข่าย World Wide Web เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทรงอิทธิพลมากสำหรับการดำเนินธุรกรรม จึงเป็นที่มาของคำว่า e-Commerce แต่โดยทั่วไปเมื่อพูดถึงเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไอที  คนส่วนใหญ่มักจะนึกถึงแต่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้ให้ความสำคัญของเทคโนโลยีการสื่อสารสารสนเทศ จึงเกิดคำที่ใช้กันมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการศึกษา คือคำว่า Information and Communication Technology (ICT) เพื่อให้นักการศึกษาหรือผู้บริหารการศึกษาเข้าใจว่าหัวใจของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือสนับสนุนการเรียนการสอนและการเรียนรู้นั้นการที่มีเพียงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อย่างเดียวจะไม่เกิดประโยชน์เท่าที่ควร ดังนั้นจึงต้องให้ความสำคัญกับการสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย นั่นคือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ต้องมีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต\n</p>\n<p>\n     ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำให้ลดข้อจำกัดของเวลาและสถานที่ในการประกอบธุรกรรม นั่นคือการดำเนินธุรกรรมในรูปแบบเดิมที่ผู้รับบริการหรือผู้ซื้อจะต้องไปยังสถานที่ของผู้ให้บริการหรือผู้ขายซึ่งมีสถานประกอบการและมีเวลาปฏิบัติงานที่แน่นอน ผู้ประกอบการหรือผู้ให้บริการต้องมาทำงานในเวลาและสถานที่ที่กำหนด ข้อจำกัดเหล่านั้นได้ลดลงไป ผู้ซื้อหรือผู้รับบริการจะซื้อหรือรับบริการที่ใดก็ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปยังที่อยู่ของผู้ขายหรือผู้ให้บริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่อยู่บนเครื่อง Server เครื่องใดเครื่องหนึ่งบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ที่อยู่นั้นเราเรียกว่า URL: Universal Resource Locator ที่ขึ้นต้นด้วย http://……) จึงเกิดคำศัพท์อีกคำหนึ่งว่า “Virtual” ซึ่งอาจจะแปลว่าจริงหรือเสมือนก็ได้  ซึ่งหลายคนก็แปลว่า “เสมือนจริง” เช่น Virtual Office, Virtual Library, Virtual Education, Virtual University เป็นต้น\n</p>\n<p>\n    \n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u10119/Zombie.gif\" height=\"311\" style=\"width: 370px; height: 225px\" />\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n เครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือเครือข่าย World Wide Web ต่างกันอย่างไร? เครือข่ายอินเทอร์เน็ตคือเครือข่ายของเครือข่าย เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นจำนวนมากของโลกเข้าด้วยกัน โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่บนเครือข่ายจะมี 2 ประเภทคือ เครื่องที่ให้บริการที่เราเรียกว่า Server และเครื่องที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายเพื่อใช้บริการซึ่งเราเรียกว่า Client (ซึ่งก็คือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับเครือข่ายที่เราใช้งานอยู่นั่นเอง) การบริการบนเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้โดยตรงและใช้กันมาก ได้แก่ การสื่อสารผ่านเครือข่าย การเรียกใช้/การสืบค้นสารสนเทศบนเครือข่าย การเผยแพร่สารสนเทศผ่านเครือข่าย และการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย\n</p>\n<p>\n     การสื่อสารผ่านเครือข่ายอาจจะเป็นได้ทั้งแบบ asynchronous หรือแบบ synchronous ในการสื่อสารแบบ asynchronous ผู้ส่งและผู้รับไม่ต้องดำเนินการในเวลาเดียวกัน เช่น การสื่อสารผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือ e-mail การสื่อสารผ่าน WebBoard เป็นต้น ส่วนการสื่อสารแบบ synchronous นั้น ผู้ส่งและผู้รับต้องอยู่ในเวลาเดียวกันซึ่งเราเรียกว่า conferencing ได้แก่ การสื่อสารด้วยการพิมพ์ข้อความผ่านคอมพิวเตอร์ (Chat Room) การสื่อสารด้วยเสียง (voice conferencing) หรือ การสื่อสารแบบ video conferencing ซึ่งจะได้ยินเสียงและเห็นภาพด้วย เป็นต้น\n</p>\n<p>\n     สารสนเทศที่อยู่บนเครือข่ายนั้นจะอยู่ในรูปแบบเอกสารไฮเปอร์เท็กซ์ที่เรียกว่าเว็บเพจ ซึ่งเขียนด้วยภาษา HyperText Mark Up Language (HTML) หรือจะเรียกว่าเป็นเอกสาร HTML ก็ได้ และจัดเก็บอยู่ใน Web Server ที่อยู่บนเครือข่าย เอกสาร HTML มีคุณลักษณะเด่นคือสามารถที่จะมีการเชื่อมโยงหรือ link จากเอกสารหนึ่งไปยังอีกเอกสารหนึ่งที่อยู่บน Web Server ใดก็ได้ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั่วโลก จึงเกิดเป็นเครือข่ายของเอกสารเว็บเพจขึ้นที่เราเรียกว่าเครือข่าย World Wide Web ดังนั้นเครือข่าย World Wide Web จึงเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จากการใช้งานง่ายของ Web ทำให้มีการพัฒนาการบริการทุกอย่างของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น การสื่อสาร การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล และบริการอื่น ๆ ให้สามารถดำเนินการได้สะดวกบน Web ที่เราเรียกว่า Web-based application ซึ่งเป็นช่องทางที่สำคัญของการดำเนินธุรกรรม e-… ทั้งหลายที่มีอยู่แล้วและที่จะเกิดขึ้นต่อไป\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n     คำศัพท์ในยุคไอทีที่มักได้ยินกันบ่อย ๆ และใช้กันมากในวงการศึกษาที่ควรพิจารณาและทำความเข้าใจ ได้แก่ e-Learning, e-Education, e-Library, e-Journal, e-Book, Virtual Education, Virtual University, courseware, และ Online Teaching and Learning\n</p>\n<p>\n     e-Book, e-Journal คือการเปลี่ยนหนังสือ/ตำรา (book) และวารสารวิชาการ (journal) ให้อยู่ในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และมักจะเรียกดูได้ผ่าน Web รูปแบบที่นิยมคือ จัดให้อยู่ในรูปแบบของเอกสาร HTML หรือเอกสาร PDF (Portable Data Format) เอกสาร PDF ก็คือเอกสารที่เตรียมด้วย Microsoft Word แต่แปลงให้เป็นไฟล์ PDF เพื่อที่ผู้ใช้สามารถอ่านและพิมพ์ได้เท่านั้น\n</p>\n<p>\n     e-Library หรือ Virtual Library มีความหมายเดียวกัน คือความพยายามที่จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือที่ทำให้การเข้าถึงสารสนเทศที่อยู่ในห้องสมุดจะทำที่ใดก็ได้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่การสืบค้นสารสนเทศที่ต้องการ การอ่านสารสนเทศที่ต้องการ ตลอดจนการยืม-คืนสารสนเทศที่ต้องการ ในปัจจุบันมหาวิทยาลัย/ห้องสมุดเป็นจำนวนมากมีความพยายามในการแปลงองค์ความรู้ที่สร้างขึ้นให้อยู่ในรูปของ e-Book เช่น วิทยานิพนธ์/ปริญญานิพนธ์ของนิสิต/นักศึกษา งานวิจัยและผลงานทางวิชาการของอาจารย์และบุคลากร รวมทั้งเอกสารทุกชนิดที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย\n</p>\n<p>\n     e-Education หรือ Virtual Education หรือ Online Teaching and Learning คือรูปแบบการจัดการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่งที่อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือหลักในการดำเนินงาน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนที่ใดก็ได้ (any where) เมื่อใดก็ได้ (any time) ซึ่งเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการเรียนการสอนทางไกล โดยที่ Online Teaching and Learning จะเน้นระบบและกลไกในการดำเนินงานแบบออนไลน์\n</p>\n<p>\n     Courseware คือเอกสารประกอบการเรียนการสอนที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สำหรับการเรียนการสอนออนไลน์ ซึ่งในปัจจุบันนิยมทำในรูปของเอกสารเว็บ Courseware ที่ดีจะต้องได้รับการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีการแบ่งเนื้อหาออกเป็นบทเรียน แต่ละบทเรียนจะมีการกำหนดแนวคิดและวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน มีการนำเสนอเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน แหล่งวิทยาการที่เกี่ยวข้อง (resources) โดยเน้นที่องค์ความรู้จากห้องสมุดเสมือนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งสามารถจะเข้าถึงได้ทันที มีการทดสอบเพื่อประเมินว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในระดับใด มีการออกแบบให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาวิชา ผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน โดยใช้การสื่อสารผ่านเครือข่าย นอกจากนั้นแล้วการออกแบบ Courseware ที่ดีนั้นต้องใช้ความสามารถของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในสิ่งที่การนำเสนอในรูปแบบที่เอกสารสิ่งพิมพ์ทำไม่ได้หรือทำได้ยาก\n</p>\n<p>\n     e-Learning คือการเรียนรู้โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นหลัก อาจจะเป็นการเรียนรู้อย่างไม่เป็นโครงสร้าง (unstructured) เช่นการสืบค้นสารสนเทศหรืออ่านสารสนเทศที่อยู่บนเว็บเพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่ง ตลอดจนถึงการเรียนรู้ที่เป็นโครงสร้าง (structured) หรือเป็นระบบ เช่น การเรียนทางไกลแบบออนไลน์ตามรายวิชา หรือหลักสูตร ที่เปิดสอนหรือเปิดอบรมของสถานศึกษาต่างๆ\n</p>\n<p>\n     Virtual University คือมหาวิทยาลัยที่มีการเปิดการเรียนการสอนทางไกล โดยกิจกรรมหลักที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการจัดการเรียนการสอนจะใช้ระบบออนไลน์เป็นหลัก ซึ่งก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของ e-Commerce ทางการศึกษา การจัดการศึกษาแบบ Virtual University นี้อาจจะดำเนินการโดยใช้บุคลากรของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่อยู่คนละแห่งมาร่วมมือกันได้เป็นเครือข่าย\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n การเรียนการสอนออนไลน์ : อีกรูปแบบหนึ่งของศึกษาทางไกล\n</p>\n<p>\n     หากจะกล่าวถึงพัฒนาการของการเรียนการสอนทางไกลในประเทศไทย คนส่วนใหญ่จะรู้จักและคุ้นเคยกับการเรียนทางไกลกับมสธ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช) ซึ่งรูปแบบการเรียนนั้นผู้เรียนเป็นผู้กำหนดตารางและระเบียบวินัยในการเรียนด้วยตนเอง โดยศึกษาจากเอกสารชุดวิชา (printed materials) ที่มหาวิทยาลัยจัดทำขึ้นเป็นสื่อหลัก (ซึ่งจัดเป็นการเรียนการสอนแบบ asynchronous) โดยในแต่ละรายวิชาจะมีตารางเวลารายการสื่อวิทยุ หรือสื่อโทรทัศน์ ประกอบชุดวิชา (การเรียนการสอนแบบ synchronous ทางเดียว) นอกจากนั้นยังมีการสอนเสริม ณ ศูนย์บริการการศึกษาทั่วประเทศ (เป็นการเรียนการสอนแบบปกติ synchronous สองทาง) ทั้งนี้การประเมินผลวิชา (summative evaluation) จะดำเนินการเพียงครั้งเดียวคือ สอบปลายภาค หากนักศึกษาสอบไม่ผ่านสามารถที่จะสอบซ่อมได้ 1 ครั้ง ข้อสอบส่วนใหญ่จะเป็นข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบ (multiple choices)\n</p>\n<p>\n   \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n  <img border=\"0\" width=\"296\" src=\"/files/u10119/whyemail.gif\" height=\"332\" style=\"width: 309px; height: 352px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nจุดแข็งของระบบการเรียนการสอนทางไกลแบบ มสธ คือ สามารถจะขยายโอกาสทางการศึกษาให้กับนักศึกษาได้เป็นจำนวนมากทั่วประเทศ ในราคาถูก การพัฒนาเอกสารชุดวิชามีระบบและกลไกในการดำเนินการที่มีคุณภาพ และได้ผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการที่หลากหลายมาร่วมในการพัฒนาเอกสารชุดวิชา แต่เอกสารชุดวิชาของ มสธ ก็มีข้อจำกัดตรงที่ว่าไม่ได้ผ่านการทดลองสอนจริงและปรับปรุงโดยยึดข้อมูลย้อนกลับจากการสอน อีกทั้งต้องใช้เวลานานในการปรับปรุงเนื้อหาวิชา นอกจากนั้นแล้วระบบการเรียนทางไกลแบบ มสธ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนมีน้อย ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนแทบไม่มีเลย การเรียนการสอนส่วนใหญ่นักศึกษาจะเรียนรู้ด้วยตนเอง และเนื่องจากรายวิชาส่วนใหญ่มีนักศึกษาจำนวนมาก ในการวัดผลจึงจำเป็นต้องใช้ข้อสอบปรนัยแบบเลือกตอบเป็นส่วนใหญ่\n</p>\n<p>\n     ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระยะที่ 8 (2540-2544) ทบวงมหาวิทยาลัยมีนโยบายขยายวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยของรัฐไปยังส่วนภูมิภาคเพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาและรองรับการเพิ่มขึ้นของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษามัธยมปลาย โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้วอันได้แก่ สถานที่ของวิทยาเขตและบุคลากรทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยที่มีอยู่แล้ว และใช้การเรียนการสอนทางไกลระบบ video conferencing ผ่านเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษาซึ่งเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยของรัฐเข้าด้วยกันชื่อ Uninet วิทยาเขตใหม่ที่ตั้งขึ้นนี้เรียกว่าวิทยาเขตสารสนเทศ ระบบการเรียนการสอนทางไกลระบบ video conferencing ดังกล่าวจะเรียกว่าระบบการเรียนการสอนทางไกล 2 ทาง นั่นคือ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กันได้ ถึงแม้จะอยู่ห่างไกลกัน จัดเป็นการเรียนการสอนแบบ synchronous คือต้องมีการจัดตารางห้องเรียนและห้องสอน ตารางเวลาการเรียนการสอน การเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ซึ่งมีนิสิตเรียนเป็นจำนวนมาก และนิสิตที่เรียนมีทั้งอยู่ที่ส่วนกลางประสานมิตร และที่องครักษ์ จังหวัดนครนายก ก็ใช้การเรียนการสอนทางไกล 2 ทางดังกล่าว นอกจากนั้นแล้วทบวงมหาวิทยาลัยยังได้สนับสนุนงบประมาณให้มหาวิทยาลัยร่วมมือกันพัฒนา courseware สำหรับวิชาศึกษาทั่วไปและวิชาพื้นฐานด้วย เพื่อผลักดันให้เกิดเนื้อหาบทเรียนออนไลน์ภาษาไทยมากขึ้น\n</p>\n<p>\n     การเรียนการสอนออนไลน์เป็นการเรียนการสอนที่อาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน (Computer Mediated Communication : CMC) การเรียนการสอนออนไลน์อาจจะใช้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนแบบปกติ ซึ่งยังมีการกำหนดตารางเวลาเรียนและห้องเรียนแบบปกติ แต่ใช้เครื่องมือออนไลน์มาเสริม เช่น การนำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการสอนเผยแพร่บนเว็บ เช่น เค้าโครงการเรียนการสอน (course syllabus) เอกสารประกอบการเรียนการสอน แหล่งวิทยาการที่ต้องการให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม งาน/การบ้าน สไลด์ประกอบการบรรยาย ประกาศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน นอกจากนั้นแล้วยังสามารถใช้เครื่องมือออนไลน์สำหรับการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน หรือผู้เรียนกับผู้สอนผ่านทาง e-mail หรือ WebBoard และการส่งงานและตรวจงานผ่านเครือข่ายซึ่งจะทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากงานของเพื่อนด้วย การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยให้มีเวลาในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้สอนกับผู้เรียนมากขึ้น ทำให้ผู้สอนสามารถใช้เวลาในชั้นเรียนสำหรับทำกิจกรรมการเรียนการสอนอื่น เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น การอภิปราย (discussion) การแก้ปัญหา (problem solving) การซักถาม (inquiry) และการปฏิบัติ (practice) มากขึ้น โดยเนื้อหาสาระที่จะศึกษาได้นำเสนอบนเว็บล่วงหน้าให้นักศึกษาแล้ว (Campos, 2001)\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n     การเรียนการสอนทางไกลแบบออนไลน์ จะเป็นการเรียนการสอนแบบ asynchronous เป็นส่วนใหญ่ นั่นคือผู้เรียนจะเรียนเนื้อหาบทเรียน (courseware) ด้วยตนเอง ไม่มีการจัดชั้นเรียน ดังนั้นวิธีการจัดการสำหรับผู้สอนที่จะทำให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนและเกิดการเรียนรู้จึงเป็นงานวิจัยและพัฒนาที่ท้าทาย Parker &amp; Gemino (2001) ได้นำเสนอ Learning Process Model เปรียบเทียบการเรียนการสอนแบบปกติกับการเรียนการสอนออนไลน์ ดังแสดงในภาพประกอบ 1<br />\n <br />\nภาพประกอบ 1 แผนภาพโมเดลการเรียนรู้\n</p>\n<p>\n     กระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) ของนักเรียนเป็นผลมาจาก เนื้อหาบทเรียน (Material to be Learned) วิธีการเรียน (Learning Approach) รูปแบบการนำเสนอ (Format) และคุณลักษณะของผู้เรียน (Learner Characteristics) ดังนั้นในการพัฒนารายวิชาสำหรับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ต้องพิจารณาองค์ประกอบหลัก 4 ประการนี้ ซึ่งจะขอเปรียบเทียบโดยย่อดังนี้\n</p>\n<p>\nเนื้อหาบทเรียน (Material to be Learned)  <br />\n     อาจจะเป็นเอกสารประกอบการสอนหรือตำราที่เป็นเอกสารสิ่งพิมพ์ก็ได้ที่กำหนดให้ผู้เรียนศึกษา หรือจะเป็นเนื้อหาที่เป็นสื่อออนไลน์ (courseware) ที่ผู้สอนทำขึ้นหรือคัดสรรมา ซึ่งส่วนนี้จะเหมือนกันทั้งการสอนแบบปกติและการสอนแบบออนไลน์ แต่ในการเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่สมบูรณ์นั้น เนื้อหาบทเรียนควรจะเรียกดูและพิมพ์ได้จากเว็บ\n</p>\n<p>\nรูปแบบการนำเสนอ (Format)  <br />\n     Who หมายถึงใครเป็นผู้นำเสนอเนื้อหา Where หมายถึงเนื้อหาได้รับการนำเสนอที่ใด When หมายถึงผู้เรียนศึกษาเนื้อหาเมื่อใด How หมายถึงเนื้อหาได้รับการนำเสนออย่างไร ซึ่งสรุปได้ในตาราง 1\n</p>\n<p>\nตาราง 1 เปรียบเทียบรูปแบบการนำเสนอเนื้อหาของการเรียนการสอนแบบปกติและการเรียนการสอนแบบออนไลน์\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\nการสอน<br />\n Who: ใครนำเสนอเนื้อหา?<br />\n Where: นำเสนอเนื้อหาที่ใด?<br />\n When: ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาเมื่อใด?<br />\n How: เนื้อหาถูกนำเสนออย่างไร<br />\n <br />\nปกติ<br />\n อาจารย์ผู้สอน<br />\n ในชั้นเรียน<br />\n ในชั้นพร้อมอาจารย์<br />\n เสียงบรรยาย ตัวหนังสือ<br />\n <br />\nออนไลน์<br />\n อาจารย์ผู้สอน<br />\n บนเว็บ<br />\n เมื่อใดก็ได้<br />\n ตัวหนังสือ ภาพ เสียง<br />\n \n</p>\n<p>\nวิธีการเรียน (Learning Approach)  <br />\n     ในที่นี้จะขอใช้ว่าวิธีการเรียนการสอน (Teaching/Learning Approach)  ซึ่งในการสอนแบบปกติ อาจารย์ผู้สอนส่วนใหญ่จะใช้วิธีการบรรยายเนื้อหาเป็นหลัก เป็นการเรียนการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง ทำให้ผู้เรียนขาดทักษะในการอ่านและเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนการสอนออนไลน์ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกทักษะการเรียนด้วยตนเองโดยมีครูผู้สอนเป็นผู้คอยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ เช่น การตั้งโจทย์ให้ผู้เรียนคิดหรือแก้ปัญหา เป็นผู้ตอบคำถามผู้เรียนเมื่อมีข้อสงสัย Campos (2001) ได้สรุปว่าการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่ให้ผลดีคือแบบผสมผสาน (mixed mode) ระหว่างการเรียนแบบพบกันในชั้นเรียนและการเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งวิธีการนี้ได้ดำเนินการจริงโดยสถาบันบัณฑิตวิทยาศาตร์และเทคโนโลยีไทย รียนเสมือน + เรียนจริง (virtual + real) และถ้าหากสามารถจะสอนกลุ่มนักเรียนในชั้นแบบปกติควบคู่ไปกับการสอนกลุ่มนักเรียนแบบออนไลน์จะเป็นวิธีการที่ดีที่สุด เพื่อเป็นการประกันคุณภาพการศึกษาของการเรียนการสอนในระบบออนไลน์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u10119/network_computer.gif\" height=\"341\" style=\"width: 400px; height: 260px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nคุณลักษณะของผู้เรียน (Learner Characteristics)  <br />\n     ก็เป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการเรียนรู้ ผู้เรียนในระบบการเรียนการสอนออนไลน์ต้องมีคุณลักษณะพิเศษที่มากกว่าผู้เรียนในระบบปกติ ได้แก่ ผู้เรียนต้องมีความสามารถหรือทักษะในการใช้เครื่องมือออนไลน์ในการศึกษา ผู้เรียนต้องมีอุปกรณ์ที่จำเป็นในการเรียน ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หากผู้เรียนยังขาดทักษะที่จำเป็นผู้สอนต้องจัดให้มีการสอนเสริมขึ้น\n</p>\n<p>\n     โดยสรุปการเรียนการสอนแบบออนไลน์  เป็นการเรียนการสอนซึ่งอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน (Computer Mediated Communication) โดยที่นักเรียนที่ลงทะเบียนเรียนแบบออนไลน์จะเรียนไปพร้อมกับนักเรียนที่เรียนในแบบปกติ (แต่อาจจะช้ากว่า 1-2 สัปดาห์ก็ได้) จะต่างกันที่ว่าผู้เรียนจะเรียนด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่ โดยศึกษาจากคู่มือนักเรียน ซึ่งระบุถึงแผนการเรียนทุกคาบว่านักเรียนจะต้องศึกษาเรื่องอะไร ต้องปฏิบัติอย่างไร  ทำกิจกรรม และแบบฝึกหัดอะไรบ้าง คู่มือนักเรียนและเนื้อหาบทเรียน ตลอดจนเอกสารประกอบการบรรยาย (จากการเรียนการสอนแบบปกติ) ผู้เรียนสามารถที่จะ Download ได้จากเครือข่ายมาไว้ในคอมพิวเตอร์ของตนเองเพื่อศึกษาต่อไป\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n     เพื่อให้ผู้สอนและผู้เรียนได้มีโอกาสรู้จักกัน จะได้มีการจัดการแบบพบกัน (face to face) เพื่อแนะนำวิชา และในแต่ละรายวิชาอาจจะจัดให้มีการสอนเสริมหรืออภิปรายในชั้นเรียนได้ตามความเหมาะสม\n</p>\n<p>\n     นักเรียนที่ลงทะเบียนเรียนแบบออนไลน์จะต้องมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์  เพื่อการสื่อสารและการสืบค้นสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้เรียนสามารถจะเรียนรู้ด้วยตนเองได้จากเอกสารประกอบการเรียนที่จะได้รับ หรือจากการอบรมที่จัดให้เป็นการเฉพาะ (short course training)\n</p>\n<p>\n     มีการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน หรือ ผู้เรียนกับผู้เรียน อย่างสม่ำเสมอ (เช่น สัปดาห์ละ 1 ครั้ง) เหมือนการเรียนการสอนปกติ แต่เป็นการติดต่อผ่านทางเครือข่าย เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ e-mail และ WebBoard ในลักษณะ asynchronous หรือ conferencing แบบ synchronous โดยใช้ Chat Room, ICQ, หรือ NetMeeting เป็นต้น ซึ่งการสื่อสารแบบ synchronous นี้จะมีการวางแผนและกำหนดตารางล่วงหน้าที่ชัดเจน\n</p>\n<p>\n     การบ้านหรืองานที่มอบหมายและเป็นส่วนหนึ่งของการวัดผลจะถูกส่งจากผู้เรียนมายังผู้สอนผ่านทางเครือข่าย เพื่อการประเมิน  และในทำนองเดียวกันผลการประเมินก็จะถูกส่งกลับไปยังผู้เรียนผ่านทางเครือข่าย\n</p>\n<p>\n     การสอบทุกครั้งจะเป็นการสอบแบบปกติ คือมีการกำหนดวัน เวลา และ สถานที่ที่ชัดเจน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n        อภิมหาเครือข่ายอินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายของเครือข่ายที่มีการเชื่อมโยงกันไปทั่วโลก ในแต่ละเครือข่ายก็จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการ ซึ่งอาจเรียกว่าเป็น เซิร์ฟเวอร์ (Server) หรือ โฮสต์ (Host) เชื่อมต่ออยู่เป็นจำนวนมาก ระบบคอมพิวเตอร์เหล่านี้จะให้บริการต่างๆ แล้วแต่ลักษณะและจุดประสงค์ที่เจ้าของเครือข่ายนั้นหรือเจ้าของระบบคอมพิวเตอร์นั้นตั้งขึ้น ในอดีตมักมีเฉพาะบริการเรื่องข้อมูลข่าวสารและโปรแกรมที่ใช้ในแวดวงการศึกษาวิจัยเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันก็ได้ขยายเข้าสู่เรื่องของการค้าและธุรกิจแทบจะทุกด้าน บริการต่างๆ บนอินเตอร์เน็ตอาจแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ <br />\nบริการด้านการสื่อสาร <br />\nบริการด้านข้อมูลต่างๆ <br />\n        \n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<br />\n เป็นบริการที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถติดต่อรับส่งข้อมูลแลกเปลี่ยนกันได้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะมีความรวดเร็วกว่าการติดต่อด้วยวิธีการแบบธรรมดาและมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างถูกกว่ามาก <br />\nไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)<br />\n            ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ E-mail เป็นบริการในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่สำคัญที่มีผู้นิยมใช้บริการกันมากที่สุด สามารถส่งตัวอักษร ข้อความ แฟ้มข้อมูล ภาพ เสียง ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยังผู้รับ อาจจะเป็นคนเดียว หรือกลุ่มคนโดยทั้งที่ผู้ส่งและผู้รับเป็นผู้ใช้ที่อยู่ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เดียวกัน ช่วยให้สามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้ทั่วโลก มีความสะดวก รวดเร็วและสามารถสื่อสารถึงกันได้ตลอดเวลา โดยไม่ต้องคำนึงถึงว่าผู้รับจะอยู่ที่ไหน จะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์อยู่หรือไม่ เพราะไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์จะเก็บข้อความเหล่านั้นไว้ <br />\n             เมื่อผู้รับเข้าสู่ระบบเครือข่าย ก็จะเห็นข้อความนั้นรออยู่แล้ว ความสะดวกเหล่านี้ทำให้นักวิชาการสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารถึงกันและกัน นักศึกษาสามารถปรึกษา หรือฝึกฝนทักษะกับอาจารย์ หรือ เพื่อนนักศึกษาด้วยกันเอง โดยไม่ต้องคำนึงถึงเวลา และระยะทาง โดยผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ไม่ว่าจะอยู่ตรงส่วนใดของมุมโลก  <br />\n            ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อประเภทหนึ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้ และช่วยขจัดปัญหาในเรื่องของเวลาและระยะทาง ผู้เรียนจะรู้สึกอิสระและกล้าแสดงออกมากกว่าปกติ ตลอดจนสามารถเข้าถึงผู้เรียนเป็นรายบุคคลได้เป็นอย่างดีในยุคสารสนเทศดังเช่นปัจจุบัน ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพจะมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาสังคมให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เป็นรูปแบบการสื่อสารที่ทันสมัยรูปแบบหนึ่งที่มีความสำคัญ คือ <br />\nทำให้การให้การติดต่อสื่อสารทั่วโลกเป็นไปอย่างรวดเร็วทันที ระยะทางไม่เป็นอุปสรรค สำหรับไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ ในทุกแห่งทั่วโลกที่มีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อถึงกันได้ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ก็สามารถเข้าไปสถานที่เหล่านั้นได้ทุกที่ ทำให้ผู้คนทั่วโลกติดต่อถึงกันได้ทันที ผู้รับสามารถจะรับข่าวสารจากไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ได้แทบจะทันทีที่ผู้ส่งจดหมายส่งข้อมูลผ่านทางคอมพิวเตอร์เสร็จสิ้น <br />\nไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับที่ต้องการได้ทุกเวลา แม้ผู้รับจะไม่ได้อยู่ที่ หน้าจอ คอมพิวเตอร์ก็ตาม จดหมายจะถูกเก็บไว้ในตู้จดหมายของคอมพิวเตอร์และเป็นส่วนตัว จนกว่าเจ้าของจดหมายที่มีรหัสผ่านจะเปิดตู้จดหมายของตนเอง <br />\nไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถส่งจดหมายถึงผู้รับหลายๆ คนได้ในเวลาเดียวกัน โดยไม่ต้องเสียเวลาส่งให้ ทีละคน กรณีนี้จะใช้กับจดหมายที่เป็นข้อความเดียวกัน เช่น หนังสือเวียนแจ้งข่าวให้สมาชิกในกลุ่มทราบ หรือเป็นการนัดหมายระหว่างสมาชิกในกลุ่ม เป็นต้น <br />\nการส่งจดหมายทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทางไปส่ง จดหมายถึงตู้ไปรษณีย์ หรือที่ทำการไปรษณีย์ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่ง เนื่องจากไม่ต้องคำนึงถึงปริมาณน้ำหนัก และระยะทาง ของจดหมายเหมือนกับไปรษณีย์ธรรมดา <br />\nไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์นั้น ผู้รับจดหมายสามารถเรียกอ่านจดหมายได้ทุกเวลาตามสะดวก โปรแกรมของ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์จะแสดงให้ทราบว่าในตู้จดหมายของผู้รับมีจดหมายกี่ฉบับ มีจดหมายที่อ่านแล้ว และยังไม่ได้เรียกอ่านกี่ฉบับ เมื่ออ่านจดหมายฉบับใดแล้ว หากต้องการลบทิ้ง ก็สามารถเก็บข้อความไว้ในรูปของแฟ้มข้อมูลได้ หรือจะพิมพ์ออกมาลงกระดาษก็ได้เช่นกัน หรืออาจแก้ไข้ข้อความบางอย่างในจดหมายนั้น จากจอภาพแล้วส่งต่อไปยังผู้อื่นได้ด้วย <br />\nไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล (Transferring Files) แนบไปกับจดหมายถึงผู้รับได้ ทำให้การแลกเปลี่ยนข่าวสารเป็นไปได้ โดยสะดวก รวดเร็ว ทันเวลา และทันเหตุการณ์ <br />\n            จากความสำคัญของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถอำนวยประโยชน์ให้กับผู้ใช้อย่างคุ้มค่านี้ ทำให้ในปัจจุบันไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ แทบจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของสำนักงานทุกแห่งทั่วโลก และในที่สุดเมื่อทุกบ้านมีคอมพิวเตอร์ใช้ สมาชิกในชุมชนโลกก็จะสามารถติดต่อกันผ่านทางคอมพิวเตอร์ การทำงานตามสำนักงาน หรือสถานที่ต่างๆ จะถูกเปลี่ยนไปสู่การทำงานที่บ้านมากขึ้นโดยการรับส่งงานทางคอมพิวเตอร์ <br />\nสนทนาแบบออนไลน์ (Chat)<br />\n            ผู้ใช้บริการสามารถคุยโต้ตอบกับผู้ใช้คนอื่นๆ ในอินเตอร์เน็ตได้ในเวลาเดียวกัน (โดยการพิมพ์เข้าไปทางคีย์บอร์ด) เสมือนกับการคุยกันแต่ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ของทั้งสองที่ ซึ่งก็สนุกและรวดเร็วดี บริการสนทนาแบบออนไลน์นี้เรียกว่า Talk เนื่องจากใช้โปรแกรมที่ชื่อว่า Talk ติดต่อกัน หรือจะคุยกันเป็นกลุ่มหลายๆ คนในลักษณะของการ Chat (ชื่อเต็มๆ ว่า Internet Relay Chat หรือ IRC ก็ได้) ซึ่งในปัจจุบันก็ได้พัฒนาไปถึงขั้นที่สามารถใช้ภาพสามมิติ ภาพเคลื่อนไหวหรือการ์ตูนต่างๆ แทนตัวคนที่สนทนากันได้แล้ว และยังสามารถคุยกันด้วยเสียงในแบบเดียวกับ โทรศัพท์ ตลอดจนแลกเปลี่ยนข้อมูลบนจอภาพหรือในเครื่องของผู้สนทนาแต่ละฝ่ายได้อีกด้วยโดย การทำงาน แบบนี้ก็จะอาศัยโปรโตคอลช่วยในการติดต่ออีกโปรโตคอลหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า IRC (Internet Relay Chat) ซึ่งก็เป็นโปรโตคอลอีกชนิดหนึ่งบนเครือข่ายอินเทอเน็ตที่สามารถทำให้ User หลายคนเข้ามาคุยพร้อมกันได้ผ่านตัวหนังสือแบบ Real time โดยจะมีหลักการคือ <br />\nมีเครื่อง Server ซึ่งจะเรียกว่าเป็น IRC server ก็ได้ซึ่ง server นี้ก็จะหมายถึงฮาร์ดแวร์+ซอฟแวร์โดยที่ฮาร์ดแวร์คือ คอมพิวเตอร์ที่จำเป็นจะต้องมีทรัพยากรระบบค่อนข้างสูงและจะต้องมีมากกว่า 1 เครื่องเพื่อรองรับ User หลายคน <br />\nเครื่องของเราจะทำหน้าที่เป็นเครื่อง Client ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ตได้แบบธรรมดา โดยที่ไม่ต้องการทรัพยากรมากนัก และก็ต้องมีโปรแกรมสำหรับเชื่อมต่อเข้า Irc server ได้ <br />\n          การสนทนาผ่านเครือข่ายออนไลน์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันมีหลายโปรแกรมเช่น โปรแกรม Pirch, ICQ, Windows Messenger (MSN), Yahoo Messenger\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&quot;กระดานข่าว&quot; หรือบูเลตินบอร์ด<br />\n            บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มีการให้บริการในลักษณะของกระดานข่าวหรือบูเลตินบอร์ด (คล้ายๆ กับระบบ Bulletin Board System หรือ BBS) โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยๆ จำนวนหลายพันกลุ่ม เรียกว่าเป็น กลุ่มข่าว หรือ Newsgroup ทุกๆ วันจะมีผู้ส่งข่าวสารกันผ่านระบบดังกล่าว โดยแบ่งแยกออกตามกลุ่มที่สนใจ เช่น กลุ่มผู้สนใจ ศิลปะ กลุ่มผู้สนใจ เพลงร็อค กลุ่มวัฒนธรรมยุโรป ฯลฯ <br />\n            นอกจากนี้ก็มีกลุ่มที่สนใจในเรื่องของประเทศต่างๆ เช่น กลุ่ม Thai Group เป็นต้น การอ่านข่าวจากกลุ่มข่าวต่างๆ ใน Usenet (User Network) หรือ Newsgroup นั้นนับเป็นช่องทางหนึ่งในการติดต่อแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับผู้ใช้อินเตอร์เน็ตคนอื่นๆ ในระดับโลก ซึ่งมักจะใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักในการสื่อสารกัน ซึ่งใน Usenet นี้ เราสามารถเลือกอ่านข้อความในหัวข้อที่เราสนใจ และฝากข้อความคำถามคำตอบของเราไว้บนกระดานข่าวนั้นได้<br />\n            ถ้าเราไม่สนใจในกลุ่มข่าวสารที่เคยเป็นสมาชิกอยู่อีกต่อไป เราาก็อาจยกเลิกการเป็นสมาชิก (Unsubscribe) ของกลุ่มข่าวนั้นและไปเป็นสมาชิกของกลุ่มอื่นๆ แทนก็ได้ การเป็นสมาชิกและการบอกเลิกสมาชิกของกลุ่มข่าวต่างๆ นั้นรวมทั้งการใช้บริการ Usenet จะไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น <br />\n            กระดานข่าวที่น่าสนใจของไทยและมีสมาชิกร่วมในการสนทนามากที่สุดในปัจจุบันคือ กระดานข่าวพันทิพ  ซึ่งประกอบไปด้วยผู้ใช้ที่มีความสนใจหลากหลายเช่น กระดานข่าวเทคนิคคอมพิวเตอร์ทั้งทางด้านระบบปฏิบัติการ ซอฟท์แวร์ ฮาร์ดแวร์ ฯลฯ สภากาแฟของคนชอบการเมือง ชอบด้านเครื่องยนต์กลไก และอื่นๆ อีกมากลองเข้าไปร่วมวงสนทนากันได้ <br />\nบริการเข้าระบบระยะไกล Telnet<br />\n            ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นซึ่งตั้งอยู่ไกลออกไป ก็สามารถใช้บริการ Telnet เพื่อเข้าใช้งานเครื่องดังกล่าวได้เหมือนกับเราไปนั่งที่หน้าเครื่องนั้นเอง โดยจำลองคอมพิวเตอร์ของเราให้เป็นเสมือนจอภาพบนเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นได้ <br />\n            โปรแกรม Telnet นับได้ว่าเป็นคำสั่งพื้นฐานที่มีประโยชน์มากสำหรับ การใช้งานอินเตอร์เน็ตในแบบตัวอักษร (Text mode) หน้าที่ของโปรแกรม Telnet นั้นจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถทำการ Login เข้าไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ที่ต่อเชื่อมอยู่ในเครือข่ายได้ และใช้บริการสำเนาไฟล์ รับส่งอีเมล์ได้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\nสรุปงาน \n</p>\n<p>\n       โลกในยุคปัจจุบันนี้ เป็นยุคที่เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หรือไอทีมีบทบาทสำคัญและเป็นความจำเป็นที่ต้องมีต้องใช้ในการดำเนินงานของธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงเป็นที่มาของคำหลาย ๆ คำที่เกิดขึ้นในยุคนี้ที่ขึ้นต้นด้วย e- …. เช่น e-Commerce, e-Business, e-Education, e-Library, e-Journal, e-Learning ตลอดจน e-Government เป็นต้น\n</p>\n<p>\n     คำว่า e ย่อมาจาก electronic ซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลักคือ ให้มีการจัดเก็บสารสนเทศหรือเอกสารต่าง ๆ จากเดิมที่อยู่ในรูปของกระดาษมาให้อยู่ในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งก็คือแฟ้มคอมพิวเตอร์นั่นเอง โดยในการดำเนินการนี้ต้องอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (computer technology) เป็นหลัก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีส่วนที่ 1 ของเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดเก็บสารสนเทศในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถที่จะปรับปรุงแก้ไขได้ง่ายทำให้สารสนเทศเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ มีต้นทุนการผลิตต่ำ แต่มีความน่าสนใจมากกว่า และที่สำคัญ สามารถจะเผยแพร่หรือนำสารสนเทศจากผู้ผลิตไปยังผู้ใช้ได้ในเวลาอันรวดเร็วโดยผ่านเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมซึ่งอาศัยคอมพิวเตอร์เป็นตัวส่งและตัวรับ เรียกกันว่าเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม (telecommunication technology) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีส่วนที่ 2 ของ เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้นคำว่า Information Technology ในความหมายที่แท้จริงนั้นได้หมายรวมถึงสองส่วนของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศแล้วคือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเทคโนโลยีในการผลิตสารสนเทศ และเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมซึ่งสามารถจะสื่อสารสารสนเทศที่อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ที่หลากหลาย เช่น ข้อความ (text) ภาพนิ่ง (picture or graphic) ภาพเคลื่อนไหว (animation) เสียง (voice) และวีดีทัศน์ (video) เป็นต้น ไปยังผู้ใช้ได้ในเวลาอันรวดเร็ว\n</p>\n<p>\nเป็นบริการที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถติดต่อรับส่งข้อมูลแลกเปลี่ยนกันได้ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะมีความรวดเร็วกว่าการติดต่อด้วยวิธีการแบบธรรมดาและมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างถูกกว่ามาก <br />\nไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)\n</p>\n<p>\nอ้างอิงจาก <a href=\"http://sot.swu.ac.th/r_framework.htm\">http://sot.swu.ac.th/r_framework.htm</a>\n</p>\n', created = 1726833228, expire = 1726919628, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3b7b20111bd6ac41ff20dd9e1fc76d0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4ce5250743b9494951eceaa32637d4a3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n     ในปัจจุบันเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือข่าย World Wide Web เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทรงอิทธิพลมากสำหรับการดำเนินธุรกรรม จึงเป็นที่มาของคำว่า e-Commerce แต่โดยทั่วไปเมื่อพูดถึงเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไอที  คนส่วนใหญ่มักจะนึกถึงแต่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้ให้ความสำคัญของเทคโนโลยีการสื่อสารสารสนเทศ จึงเกิดคำที่ใช้กันมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการศึกษา คือคำว่า Information and Communication Technology (ICT) เพื่อให้นักการศึกษาหรือผู้บริหารการศึกษาเข้าใจว่าหัวใจของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือสนับสนุนการเรียนการสอนและการเรียนรู้นั้นการที่มีเพียงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อย่างเดียวจะไม่เกิดประโยชน์เท่าที่ควร ดังนั้นจึงต้องให้ความสำคัญกับการสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย นั่นคือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ต้องมีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต\n</p>\n<p>\n     ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำให้ลดข้อจำกัดของเวลาและสถานที่ในการประกอบธุรกรรม นั่นคือการดำเนินธุรกรรมในรูปแบบเดิมที่ผู้รับบริการหรือผู้ซื้อจะต้องไปยังสถานที่ของผู้ให้บริการหรือผู้ขายซึ่งมีสถานประกอบการและมีเวลาปฏิบัติงานที่แน่นอน ผู้ประกอบการหรือผู้ให้บริการต้องมาทำงานในเวลาและสถานที่ที่กำหนด ข้อจำกัดเหล่านั้นได้ลดลงไป ผู้ซื้อหรือผู้รับบริการจะซื้อหรือรับบริการที่ใดก็ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปยังที่อยู่ของผู้ขายหรือผู้ให้บริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่อยู่บนเครื่อง Server เครื่องใดเครื่องหนึ่งบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ที่อยู่นั้นเราเรียกว่า URL: Universal Resource Locator ที่ขึ้นต้นด้วย http://……) จึงเกิดคำศัพท์อีกคำหนึ่งว่า “Virtual” ซึ่งอาจจะแปลว่าจริงหรือเสมือนก็ได้  ซึ่งหลายคนก็แปลว่า “เสมือนจริง” เช่น Virtual Office, Virtual Library, Virtual Education, Virtual University เป็นต้น\n</p>\n<p>\n    \n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u10119/Zombie.gif\" height=\"311\" style=\"width: 370px; height: 225px\" />\n</p>\n', created = 1726833228, expire = 1726919628, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4ce5250743b9494951eceaa32637d4a3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรื่องรูปแบบการให้บริการต่าง ๆ บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

รูปภาพของ dsp6409

     ในปัจจุบันเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเครือข่าย World Wide Web เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทรงอิทธิพลมากสำหรับการดำเนินธุรกรรม จึงเป็นที่มาของคำว่า e-Commerce แต่โดยทั่วไปเมื่อพูดถึงเทคโนโลยีสารสนเทศหรือไอที  คนส่วนใหญ่มักจะนึกถึงแต่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้ให้ความสำคัญของเทคโนโลยีการสื่อสารสารสนเทศ จึงเกิดคำที่ใช้กันมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการศึกษา คือคำว่า Information and Communication Technology (ICT) เพื่อให้นักการศึกษาหรือผู้บริหารการศึกษาเข้าใจว่าหัวใจของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือสนับสนุนการเรียนการสอนและการเรียนรู้นั้นการที่มีเพียงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อย่างเดียวจะไม่เกิดประโยชน์เท่าที่ควร ดังนั้นจึงต้องให้ความสำคัญกับการสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย นั่นคือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ต้องมีการเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

     ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำให้ลดข้อจำกัดของเวลาและสถานที่ในการประกอบธุรกรรม นั่นคือการดำเนินธุรกรรมในรูปแบบเดิมที่ผู้รับบริการหรือผู้ซื้อจะต้องไปยังสถานที่ของผู้ให้บริการหรือผู้ขายซึ่งมีสถานประกอบการและมีเวลาปฏิบัติงานที่แน่นอน ผู้ประกอบการหรือผู้ให้บริการต้องมาทำงานในเวลาและสถานที่ที่กำหนด ข้อจำกัดเหล่านั้นได้ลดลงไป ผู้ซื้อหรือผู้รับบริการจะซื้อหรือรับบริการที่ใดก็ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปยังที่อยู่ของผู้ขายหรือผู้ให้บริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่อยู่บนเครื่อง Server เครื่องใดเครื่องหนึ่งบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (ที่อยู่นั้นเราเรียกว่า URL: Universal Resource Locator ที่ขึ้นต้นด้วย http://……) จึงเกิดคำศัพท์อีกคำหนึ่งว่า “Virtual” ซึ่งอาจจะแปลว่าจริงหรือเสมือนก็ได้  ซึ่งหลายคนก็แปลว่า “เสมือนจริง” เช่น Virtual Office, Virtual Library, Virtual Education, Virtual University เป็นต้น

    

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 427 คน กำลังออนไลน์