• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:be8feec830a93259f9e1a717f97c947b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: xx-small; font-family: MS Sans Serif\"> <a href=\"http://jove.prohosting.com/~golfth/back_history_anajuk_laksana.html\"><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif,CordiaUPC\"><strong><small>ลักษณะการเมืองการปกครอง</small></strong></span></a></span><span style=\"font-size: xx-small; font-family: MS Sans Serif\"> </span></p>\n<p align=\"left\">\n<small><small><small><small><span style=\"font-family: MS Sans Serif,CordiaUPC\">    <strong>พระมหากษัตริย์</strong>จะมีอำนาจสิทธิ์ขาดภายในราชอาณาจักรทั้งหมด ทรงเป็นทั้งเจ้าแผ่นดินและเจ้าชีวิต สามารถชี้เป็นชี้ตายให้กับใครอย่างไรก็ได้ เรียกว่าเป็นการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ไทยได้รับเอาแนวคิดที่ให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็น เทวราชา ตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์มาจากเขมรตั้งแต่ช่วงปลายของอาณาจักรสุโขทัยจนมาถึงในสมัยอยุธยา โดยถือว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระนารายณ์ที่อวตารลงมาเกิดยังโลกมนุษย์ เป็นสมมติเทพ จึงต้องมีการถวายพระเกียรติอย่างสูงสุด และมีสถานะความเป็นอยู่จะเหนือกว่าคนทั้งปวง เช่น<br />\n</span></small></small></small></small>\n</p>\n<ul>\n<li>\n<p align=\"left\">\n <small><small><small><small><span style=\"font-family: MS Sans Serif,CordiaUPC\">เมื่อจะพูดกับพระมหากษัตริย์ต้องใช้คำราชาศัพท์เสมอ รวมถึงขณะที่เข้าเฝ้านั้นต้องหมอบคลานเข้าไปเพื่อแสดงความอ่อนน้อม ห้ามชำเลืองมองไปยังพระพักตร์ของพระมหากษัตริย์อย่างเด็ดขาด และเมื่อเสด็จออกนอกพระราชวัง ประชาชนจะต้องหมอบกราบและก้มหน้าเท่านั้น</span></small></small></small></small>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"left\">\n <small><small><small><small><span style=\"font-family: MS Sans Serif,CordiaUPC\">ในหนังสือ Historie du Royaume de Siam กล่าวไว้ว่า นอกจากจะต้องทำความเคารพต่อพระมหากษัตริย์รวมถึงพระบรมวงศานุวงศ์แล้ว ยังมีการปฏิบัติเช่นนี้กับสัตว์ที่ใช้ในการรับใช้ของพระองค์ด้วย เช่น ช้าง ซึ่งเป็นพาหนะที่ใช้สำหรับเมื่อเสด็จออกนอกพระราชวังหรือไปราชการสงครามต่างๆ</span></small></small></small></small>\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif,CordiaUPC\"><small><small><small><small>บรรดาปราสาทราชวังที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้เพื่อประทับ จะต้องมีการประดับประดา</small></small></small></small><br />\n <small><small><small><small>อย่างงดงามวิจิตรพิสดารให้สมพระเกียรติของพระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นเทพนอกจาก</small></small></small></small><br />\n <small><small><small><small>ที่พระมหากษัตริย์จะทรงเป็นสมมติเทพแล้ว ยังมีความเป็น ธรรมราชาตามความเชื่อ</small></small></small></small><br />\n <small><small><small><small>ของพระพุทธศาสนาพระมหากษัตริย์จะต้องทรงประพฤติปฏิบัติพระองค์ตามหลัก</small></small></small></small><br />\n <small><small><small><small>ทศพิธราชธรรม และจักรวรรดิวัตร เพื่อให้บ้านเมืองและอาณาประชาราษฎร์สามารถ</small></small></small></small><br />\n <small><small><small><small>ดำรงอยู่อย่างร่มเย็น<br />\n </small></small></small></small></span>\n </p>\n<p> <span style=\"font-size: xx-small; font-family: MS Sans Serif\">เกิดขึ้นในสมัยพระเพทราชา โดยให้คงการปกครองแบบรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง<br />\n </span><small><small><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">ที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงตั้งไว้ แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ การให้สมุหพระกลาโหมไปรับผิดชอบหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งทหารและพลเรือน ให้สมุหนายกรับผิดชอบหัวเมืองทางเหนือทั้งทหารและพลเรือน รวมถึงดูแลจตุสดมภ์ในส่วนกลาง และพระโกษาธิบดีซึ่งเป็นเสนาบดีกรมคลัง นอกจากดูแลเกี่ยวกับเรื่องรายได้ของแผ่นดินและการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศแล้ว ให้ไปคุมหัวเมืองชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกทั้งทหารและพลเรือนอีกด้วย เพื่อเป็นการง่ายต่อการเรียกกำลังพล เพราะในยามสงคราม ชายฉกรรจ์ทุกคนจะต้องออกรบอยู่แล้วและป้องกันการก่อกบฎล้มราชวงศ์กษัตริย์ที่เกิดขึ้นมากในระยะหลังโดยสมุหพระกลาโหม เพราะมีอำนาจคุมกำลังทหารไว้จำนวนมาก สามารถกระทำการใดๆ ได้โดยง่าย<br />\n     ต่อมาในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง โดยให้เสนาบดีกรมคลังไปคุมหัวเมืองทางใต้แทนสมุหพระกลาโหม คงเหลือให้สมุหพระกลาโหมมีหน้าที่ปรึกษาราชการแผ่นดินเท่านั้น สันนิษฐานว่าสมุหพระกลาโหมอาจกระทำความผิดบางอย่างจึงถูกลดอำนาจหน้าที่ลง</span></small></small></p></li>\n</ul>\n<p>\n<small><small><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">         สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเป็นระบบเศรษฐกิจแบบ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เสรีนิยม\" title=\"เสรีนิยม\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เสรีนิยม</span></u></a> ดังข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกหลักที่ 1 &quot;…ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใคร       จัก   ใคร่ค้าเงินค้า<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ทอง\" title=\"ทอง\" class=\"mw-redirect\"><u><span style=\"color: #0000ff\">ทอง</span></u></a>ค้า ค้าถ้วยชามสังคโลก&quot; และ &quot;...เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลาในนามีข้าว...&quot; ประชาชนประกอบอาชีพ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เกษตรกรรม\" title=\"เกษตรกรรม\"><u><span style=\"color: #0000ff\">เกษตรกรรม</span></u></a>ด้วยระบบ<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"การเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ (หน้านี้ไม่มี)\" class=\"new\"><u><span style=\"color: #0000ff\">การเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ</span></u></a> เช่นสังคมไทยส่วนใหญ่ในชนบทปัจจุบัน</span></small></small>\n</p>\n<ul>\n<li>\n<div align=\"right\">\n <small><small><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">                                             </span></small></small>\n </div>\n<p> แหล่งอ้างอิง <a href=\"http://www.panyathai.or.th/\">http://www.panyathai.or.th</a></p></li>\n<li>\n<div align=\"right\">\n <small><small><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">อานนท์ เอมสมบูรณ์ ม.6/2 เลขที่ 4                          </span></small></small>\n </div>\n</li>\n</ul>\n<p></p>\n', created = 1714163913, expire = 1714250313, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:be8feec830a93259f9e1a717f97c947b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยตอนปลาย

 ลักษณะการเมืองการปกครอง

    พระมหากษัตริย์จะมีอำนาจสิทธิ์ขาดภายในราชอาณาจักรทั้งหมด ทรงเป็นทั้งเจ้าแผ่นดินและเจ้าชีวิต สามารถชี้เป็นชี้ตายให้กับใครอย่างไรก็ได้ เรียกว่าเป็นการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ไทยได้รับเอาแนวคิดที่ให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็น เทวราชา ตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ์มาจากเขมรตั้งแต่ช่วงปลายของอาณาจักรสุโขทัยจนมาถึงในสมัยอยุธยา โดยถือว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระนารายณ์ที่อวตารลงมาเกิดยังโลกมนุษย์ เป็นสมมติเทพ จึงต้องมีการถวายพระเกียรติอย่างสูงสุด และมีสถานะความเป็นอยู่จะเหนือกว่าคนทั้งปวง เช่น

  • เมื่อจะพูดกับพระมหากษัตริย์ต้องใช้คำราชาศัพท์เสมอ รวมถึงขณะที่เข้าเฝ้านั้นต้องหมอบคลานเข้าไปเพื่อแสดงความอ่อนน้อม ห้ามชำเลืองมองไปยังพระพักตร์ของพระมหากษัตริย์อย่างเด็ดขาด และเมื่อเสด็จออกนอกพระราชวัง ประชาชนจะต้องหมอบกราบและก้มหน้าเท่านั้น

  • ในหนังสือ Historie du Royaume de Siam กล่าวไว้ว่า นอกจากจะต้องทำความเคารพต่อพระมหากษัตริย์รวมถึงพระบรมวงศานุวงศ์แล้ว ยังมีการปฏิบัติเช่นนี้กับสัตว์ที่ใช้ในการรับใช้ของพระองค์ด้วย เช่น ช้าง ซึ่งเป็นพาหนะที่ใช้สำหรับเมื่อเสด็จออกนอกพระราชวังหรือไปราชการสงครามต่างๆ

  • บรรดาปราสาทราชวังที่พระมหากษัตริย์ทรงใช้เพื่อประทับ จะต้องมีการประดับประดา
    อย่างงดงามวิจิตรพิสดารให้สมพระเกียรติของพระมหากษัตริย์ที่ทรงเป็นเทพนอกจาก
    ที่พระมหากษัตริย์จะทรงเป็นสมมติเทพแล้ว ยังมีความเป็น ธรรมราชาตามความเชื่อ
    ของพระพุทธศาสนาพระมหากษัตริย์จะต้องทรงประพฤติปฏิบัติพระองค์ตามหลัก
    ทศพิธราชธรรม และจักรวรรดิวัตร เพื่อให้บ้านเมืองและอาณาประชาราษฎร์สามารถ
    ดำรงอยู่อย่างร่มเย็น

    เกิดขึ้นในสมัยพระเพทราชา โดยให้คงการปกครองแบบรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง
    ที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงตั้งไว้ แต่ได้มีการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ การให้สมุหพระกลาโหมไปรับผิดชอบหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งทหารและพลเรือน ให้สมุหนายกรับผิดชอบหัวเมืองทางเหนือทั้งทหารและพลเรือน รวมถึงดูแลจตุสดมภ์ในส่วนกลาง และพระโกษาธิบดีซึ่งเป็นเสนาบดีกรมคลัง นอกจากดูแลเกี่ยวกับเรื่องรายได้ของแผ่นดินและการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศแล้ว ให้ไปคุมหัวเมืองชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกทั้งทหารและพลเรือนอีกด้วย เพื่อเป็นการง่ายต่อการเรียกกำลังพล เพราะในยามสงคราม ชายฉกรรจ์ทุกคนจะต้องออกรบอยู่แล้วและป้องกันการก่อกบฎล้มราชวงศ์กษัตริย์ที่เกิดขึ้นมากในระยะหลังโดยสมุหพระกลาโหม เพราะมีอำนาจคุมกำลังทหารไว้จำนวนมาก สามารถกระทำการใดๆ ได้โดยง่าย
        ต่อมาในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง โดยให้เสนาบดีกรมคลังไปคุมหัวเมืองทางใต้แทนสมุหพระกลาโหม คงเหลือให้สมุหพระกลาโหมมีหน้าที่ปรึกษาราชการแผ่นดินเท่านั้น สันนิษฐานว่าสมุหพระกลาโหมอาจกระทำความผิดบางอย่างจึงถูกลดอำนาจหน้าที่ลง

         สภาพเศรษฐกิจสมัยสุโขทัยเป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ดังข้อความปรากฏในหลักศิลาจารึกหลักที่ 1 "…ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใคร       จัก   ใคร่ค้าเงินค้าทองค้า ค้าถ้วยชามสังคโลก" และ "...เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลาในนามีข้าว..." ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยระบบการเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ เช่นสังคมไทยส่วนใหญ่ในชนบทปัจจุบัน

  •                                             

    แหล่งอ้างอิง http://www.panyathai.or.th

  • อานนท์ เอมสมบูรณ์ ม.6/2 เลขที่ 4                         

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 730 คน กำลังออนไลน์

                       


Warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('', 'node/35290', '', '18.189.180.244', 0, '90b4a652f3e02adc1a0eb3762e8ca938', 11, 1714168207) in /home/tgv/htdocs/includes/database.mysql.inc on line 135