• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1852947eb1a5bafec487f2fdb2e03f3c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #0000ff\"> </span><span style=\"color: #000000\">ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายยังคงมีลักษณะการปกครองตามแบบสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแต่เนื่องจากว่าในสมัยของพระเทพราชาทหารมีอำนาจมากจึงหวั่นเกรงว่าจะเกิดกบฏแย่งชิงราชสมบัติจึงมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปบางส่วนดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><u>ลักษณะการปกครอง</u></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ฝ่ายสมุหกลาโหม  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"> </span><span style=\"color: #003399\"> -</span><span style=\"color: #000000\">ให้เปลี่ยนมาควบคุมผู้บังคับบัญชาทหารและพลเรือนในแถบหัวเมืองฝ่ายใต้แทนการควบคุมทหารทั้งประเทศ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ฝ่ายสมุหนายก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">-ให้เปลี่ยนมาควบคุมผู้บังคับบัญชาทั้งทางทหารและพลเรือนในแถบหัวเมืองฝ่ายเหนือ แทนการควบคุมเกี่ยวกับทางราชการทั้งหมด</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ในเมื่อยามเกิดศึกสงคราม<span style=\"color: #000000\">ในหัวเมืองฝ่ายใด ผู้บังคับบัญชาการหัวเมืองฝ่ายนั้นต้องเป็นแม่ทัพใหญ่ ดำเนินการต่อสู้ โดยเป็นผู้บังคับบัญชากองทัพเตรียมทหารและเสบียงอาหารเพื่อพร้อมจะต่อสู้เพื่อความเป็นปึกแผ่นที่มั่นคงของแผ่นดินต่อไป</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span><span style=\"color: #0000ff\">ลักษณะการปกครองสมัยพระรามาธิบดีที่ ๒ ถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span><span style=\"color: #0000ff\">การปกครองของเมืองหลวง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ยังคงใช้ระบบการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แต่มีการเปลี่ยนแปลงบ้างก็เฉพาะหัวเมืองต่างๆ เช่น ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ได้ทรงสร้างหัวเมืองชั้นในขึ้นอีกหลายเมือง ได้แก่ นนทบุรี นครชัยศรี ฉะเชิงเทรา สาครบุรี และสระบุรี ทำให้อาณาเขตราชธานีขยายกว้างออกไปอีก ส่วนหัวเมืองประเทศราชนั้นไม่แน่นอน ถ้าสมัยใดพระมหากษัตริย์มีอำนาจก็จะมีเมืองขึ้นหลายเมือง ส่วน<br />\nการปกครองท้องถิ่นก็ยังคงใช้แบบเดียวกับในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">คุณสมบัติและลักษณะความเหมาะสมของทหารไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: #000000\">1. เมื่ออายุได้ 18 ปี ต้องขึ้นทะเบียนเป็นไพร่สม และเมื่ออายุครบ 20 ปี จึงจะรับราชการเป็นไพร่หลวง และอยู่ในราชการจนอายุครบ 60 ปี จึงจะถูกปลดจากราชการ <br />\n2. ชายฉกรรจ์ทุกคนต้องมีสังกัดอยู่ในกรมใดกรมหนึ่ง ลูกหลานผู้สืบสกุลต้องอยู่ในสังกัดเดียวกัน ถ้าจะย้ายสังกัดต้องขออนุญาตก่อน</span><span style=\"color: #000000\"> </span></p>\n<p>\n3. ในเวลาที่บ้านเมืองสงบเรียบร้อย ไพร่หลวงจะต้องเข้าประจำการปีละ 6 เดือน เรียกว่า <span style=\"color: #0000ff\">&quot;เข้าเวร&quot;</span> และจะต้องหาเสบียงของตนเองมาด้วย การเข้าเวรนี้จะเข้าเวร 1 เดือน แล้วออกเวรไปทำมาหากิน 1 เดือนแล้วจึงกลับมาเข้าเวรใหม่ สลับกันจนครบกำหนด\n</p>\n<p>\n4. หัวเมืองชั้นนอก ที่อยู่ห่างไกลในยามปกติ ไม่ต้องการคนเข้ารับราชการมากเหมือนในราชธานี จึงใช้วิธีเกณฑ์ส่วนแทนการเข้าเวร โดยการนำของที่ทางราชการต้องการ เช่น ดินประสิว แร่ดีบุก  มาให้กับทางราชการแทนการเข้าเวร เป็นต้น\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\">บุคคลที่มีชื่อเสียงในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">1. นายขนมต้มหรือบิดามวยไทย</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">2. พระยาพิชัยดาบหัก</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><span style=\"font-size: x-small\">เหตุการณ์สำคัญที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาตอนปลายต้องหมดอำนาจลง <br />\n</span></span>พระเจ้ามังระขึ้นครองราชย์แล้ว ได้เสด็จยกทัพไปตีหัวเมืองต่าง ๆ ได้แก่ ตะนาวศรี มะริด และเชียงใหม่ แล้วจึงยกทัพเข้ามาตีไทย </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\">ใน พ.ศ. 2307 พม่ายกทัพเข้ามาสองทาง คือ </span><span style=\"color: #000000\"></span><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. ทางเมืองเชียงใหม่</span>   เนเมียวสีหบดีเป็นแม่ทัพ  \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2. ทางด่านเจดีย์สามองค์</span>   มังมหานรธาเป็นแม่ทัพ ตีเมืองกาญจนบุรี เมืองสุพรรณบุรี เข้ากรุงศรีอยุธยา การรับทัพของไทยนั้นคาดการผิดไม่คิดว่าพม่าจะเข้าถึงกรุง เพียงแต่จะปล้นสะดมริบทรัพย์เชลย การต่อสู้ของไทยอ่อนแอมาก   พม่าจึงเดินทัพเข้ามาได้   พวกที่ต่อสู้อย่างเข้มแข็ง  คือ <span style=\"color: #000000\"> ชาวบ้านบางระจัน</span> ต่อสู้ตีพม่าแตกไปได้บ้าง เนื่องจากไม่ได้รับการช่วยเหลือจากในกรุงเลย ค่ายบางระจันจึงต้องแตก    \n</p>\n<p>\n    พ.ศ. 2309 พม่าสามารถเข้าล้อมกรุงศรีอยุธยา ตั้งค่ายอยู่ที่บ้านโพธิ์สามต้น เข้าล้อมกรุงอยู่ตลอดฤดูฝนจนถึงฤดูแล้ง กองทัพไทยที่ส่งไปสู้รบแพ้กลับมา  การป้องกันพระนครศรีอยุธยาอ่อนแอลง พม่าล้อมอยู่นานทำให้พลเมืองอดหยาก พระเจ้าเอกทัศขอเลิกรบ พม่าไม่ยอมเพราะมีความประสงค์จะตีให้แตกและริบเอาทรัพย์สมบัติกวาดต้อนผู้คนไป พม่าล้อมกรุงศรีอยุธยาอยู่ 1 ปี กับ 2 เดือน กรุงศรีอยุธยาก็เสียแก่พม่าเป็นครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310\n</p>\n<p>\nศิลปวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงและเด่นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ด้านสถาปัตยกรรม</span> - เจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองสร้างในสมัยพระเจ้าปราสาททอง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ด้านประติมากรรม</span> -  นิยมสร้างพระพุทธรูปโดยเอาศิลาทรายแดงมาแกสลัก\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ด้านจิตรกรรม</span> -  ได้รับอิทธิพลมาจากจีน\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ด้านวรรณกรรม</span> -  รุ่งเรืองมากที่สุดในสมัยของพระนารายณ์มหาราช\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ด้านประเพณี</span> - มีการรับประเพณีจากขอม เช่น <span style=\"font-family: MS Sans Serif\">พิธีบรมราชาภิเษก  พระราชพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา เป็นต้น</span>\n</p>\n<table border=\"0\" width=\"80%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"50%\" align=\"center\" vAlign=\"top\">\n<p style=\"margin-top: 0px; margin-bottom: 0px; word-spacing: 0px\">\n <span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: MS Sans Serif\"><strong></strong></span>\n </p>\n</td>\n<td width=\"50%\">\n<p style=\"margin-top: 0px; margin-bottom: 0px; word-spacing: 0px\">\n <span style=\"font-size: small; font-family: MS Sans Serif\"><strong></strong></span>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p></p>\n', created = 1718479737, expire = 1718566137, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1852947eb1a5bafec487f2fdb2e03f3c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:830802d9cd7fe36241ab2529547ed401' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" title=\"Innocent\" alt=\"Innocent\" border=\"0\" /> ชื่อบุคคลสำคัญกรุณาช่วยอธิบายหน่อยว่าสำคัญอย่างไร และไม่ทราบว่าใครเป็นผู้ทำงานชิ้นนี้ และนำข้องมูลมาจากไหนเพราะขาดแหล่งอ้างอิง และให้คะแนนไม่ถูก</p>\n', created = 1718479737, expire = 1718566137, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:830802d9cd7fe36241ab2529547ed401' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

 ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายยังคงมีลักษณะการปกครองตามแบบสมัยพระบาทสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแต่เนื่องจากว่าในสมัยของพระเทพราชาทหารมีอำนาจมากจึงหวั่นเกรงว่าจะเกิดกบฏแย่งชิงราชสมบัติจึงมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปบางส่วนดังนี้

ลักษณะการปกครอง

ฝ่ายสมุหกลาโหม 

  -ให้เปลี่ยนมาควบคุมผู้บังคับบัญชาทหารและพลเรือนในแถบหัวเมืองฝ่ายใต้แทนการควบคุมทหารทั้งประเทศ

ฝ่ายสมุหนายก

-ให้เปลี่ยนมาควบคุมผู้บังคับบัญชาทั้งทางทหารและพลเรือนในแถบหัวเมืองฝ่ายเหนือ แทนการควบคุมเกี่ยวกับทางราชการทั้งหมด

ในเมื่อยามเกิดศึกสงครามในหัวเมืองฝ่ายใด ผู้บังคับบัญชาการหัวเมืองฝ่ายนั้นต้องเป็นแม่ทัพใหญ่ ดำเนินการต่อสู้ โดยเป็นผู้บังคับบัญชากองทัพเตรียมทหารและเสบียงอาหารเพื่อพร้อมจะต่อสู้เพื่อความเป็นปึกแผ่นที่มั่นคงของแผ่นดินต่อไป

 ลักษณะการปกครองสมัยพระรามาธิบดีที่ ๒ ถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา

 การปกครองของเมืองหลวง

ยังคงใช้ระบบการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แต่มีการเปลี่ยนแปลงบ้างก็เฉพาะหัวเมืองต่างๆ เช่น ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ได้ทรงสร้างหัวเมืองชั้นในขึ้นอีกหลายเมือง ได้แก่ นนทบุรี นครชัยศรี ฉะเชิงเทรา สาครบุรี และสระบุรี ทำให้อาณาเขตราชธานีขยายกว้างออกไปอีก ส่วนหัวเมืองประเทศราชนั้นไม่แน่นอน ถ้าสมัยใดพระมหากษัตริย์มีอำนาจก็จะมีเมืองขึ้นหลายเมือง ส่วน
การปกครองท้องถิ่นก็ยังคงใช้แบบเดียวกับในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

คุณสมบัติและลักษณะความเหมาะสมของทหารไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

 1. เมื่ออายุได้ 18 ปี ต้องขึ้นทะเบียนเป็นไพร่สม และเมื่ออายุครบ 20 ปี จึงจะรับราชการเป็นไพร่หลวง และอยู่ในราชการจนอายุครบ 60 ปี จึงจะถูกปลดจากราชการ
2. ชายฉกรรจ์ทุกคนต้องมีสังกัดอยู่ในกรมใดกรมหนึ่ง ลูกหลานผู้สืบสกุลต้องอยู่ในสังกัดเดียวกัน ถ้าจะย้ายสังกัดต้องขออนุญาตก่อน

3. ในเวลาที่บ้านเมืองสงบเรียบร้อย ไพร่หลวงจะต้องเข้าประจำการปีละ 6 เดือน เรียกว่า "เข้าเวร" และจะต้องหาเสบียงของตนเองมาด้วย การเข้าเวรนี้จะเข้าเวร 1 เดือน แล้วออกเวรไปทำมาหากิน 1 เดือนแล้วจึงกลับมาเข้าเวรใหม่ สลับกันจนครบกำหนด

4. หัวเมืองชั้นนอก ที่อยู่ห่างไกลในยามปกติ ไม่ต้องการคนเข้ารับราชการมากเหมือนในราชธานี จึงใช้วิธีเกณฑ์ส่วนแทนการเข้าเวร โดยการนำของที่ทางราชการต้องการ เช่น ดินประสิว แร่ดีบุก  มาให้กับทางราชการแทนการเข้าเวร เป็นต้น

บุคคลที่มีชื่อเสียงในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

1. นายขนมต้มหรือบิดามวยไทย

2. พระยาพิชัยดาบหัก

เหตุการณ์สำคัญที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาตอนปลายต้องหมดอำนาจลง
พระเจ้ามังระขึ้นครองราชย์แล้ว ได้เสด็จยกทัพไปตีหัวเมืองต่าง ๆ ได้แก่ ตะนาวศรี มะริด และเชียงใหม่ แล้วจึงยกทัพเข้ามาตีไทย

ใน พ.ศ. 2307 พม่ายกทัพเข้ามาสองทาง คือ

1. ทางเมืองเชียงใหม่   เนเมียวสีหบดีเป็นแม่ทัพ  

2. ทางด่านเจดีย์สามองค์   มังมหานรธาเป็นแม่ทัพ ตีเมืองกาญจนบุรี เมืองสุพรรณบุรี เข้ากรุงศรีอยุธยา การรับทัพของไทยนั้นคาดการผิดไม่คิดว่าพม่าจะเข้าถึงกรุง เพียงแต่จะปล้นสะดมริบทรัพย์เชลย การต่อสู้ของไทยอ่อนแอมาก   พม่าจึงเดินทัพเข้ามาได้   พวกที่ต่อสู้อย่างเข้มแข็ง  คือ  ชาวบ้านบางระจัน ต่อสู้ตีพม่าแตกไปได้บ้าง เนื่องจากไม่ได้รับการช่วยเหลือจากในกรุงเลย ค่ายบางระจันจึงต้องแตก    

    พ.ศ. 2309 พม่าสามารถเข้าล้อมกรุงศรีอยุธยา ตั้งค่ายอยู่ที่บ้านโพธิ์สามต้น เข้าล้อมกรุงอยู่ตลอดฤดูฝนจนถึงฤดูแล้ง กองทัพไทยที่ส่งไปสู้รบแพ้กลับมา  การป้องกันพระนครศรีอยุธยาอ่อนแอลง พม่าล้อมอยู่นานทำให้พลเมืองอดหยาก พระเจ้าเอกทัศขอเลิกรบ พม่าไม่ยอมเพราะมีความประสงค์จะตีให้แตกและริบเอาทรัพย์สมบัติกวาดต้อนผู้คนไป พม่าล้อมกรุงศรีอยุธยาอยู่ 1 ปี กับ 2 เดือน กรุงศรีอยุธยาก็เสียแก่พม่าเป็นครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310

ศิลปวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงและเด่นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

ด้านสถาปัตยกรรม - เจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองสร้างในสมัยพระเจ้าปราสาททอง

ด้านประติมากรรม -  นิยมสร้างพระพุทธรูปโดยเอาศิลาทรายแดงมาแกสลัก

ด้านจิตรกรรม -  ได้รับอิทธิพลมาจากจีน

ด้านวรรณกรรม -  รุ่งเรืองมากที่สุดในสมัยของพระนารายณ์มหาราช

ด้านประเพณี - มีการรับประเพณีจากขอม เช่น พิธีบรมราชาภิเษก  พระราชพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยา เป็นต้น

รูปภาพของ silavacharee

Innocent ชื่อบุคคลสำคัญกรุณาช่วยอธิบายหน่อยว่าสำคัญอย่างไร และไม่ทราบว่าใครเป็นผู้ทำงานชิ้นนี้ และนำข้องมูลมาจากไหนเพราะขาดแหล่งอ้างอิง และให้คะแนนไม่ถูก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 641 คน กำลังออนไลน์