• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b215ac13e4a31622c19654fe8d9d75ed' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small; color: #ff0000\">สมัยอยุธยาตอนปลาย ( พ.ศ.1991 - พ.ศ. 2310 )</span><span style=\"font-size: small\"><br />\nการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย คือ ตั้งแต่ พ.ศ.1991 ในสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ถึงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.2310 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.1991 - พ.ศ.2031 พระองค์ได้ปฏิรูปการปกครองเสียใหม่ดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #ff0000\">1) การปกครองส่วนกลาง </span><span style=\"font-size: small\"><br />\nราชธานี ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง โดยได้แต่งตั้งขุนนางไปปกครองเมืองลูกหลวง และให้ขึ้นต่ออัครมหาเสนาบดี เรียกว่า &quot;เมืองพระยามหานคร&quot; ซึ่งเป็นการรวมอำนาจเข้าส่วนกลางมากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีเมืองพระยามหานครอีก 4 เมือง ที่มิได้มีฐานะเป็นเมืองลูกหลวง คือ นครศรีธรรมราช นครราชสีมา ตะนาวศรี และทวาย พระองค์ได้แต่งตั้งขุนนางไปปกครองเช่นกัน แต่มีฐานะกึ่งอิสระ เพื่อตอบแทนความดีความชอบในการปฏิบัติราชการของขุนนางเหล่านั้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">การจัดระเบียบการปกครองที่ได้พัฒนาขึ้น ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถอีกประการหนึ่ง คือ การแยกข้าราชการทหาร และข้าราชการพลเรือนออกจากกัน เพื่อการแบ่งงานรับผิดชอบอย่างชัดเจน คือ ฝ่ายทหาร มีพระสมุหกลาโหม หรืออัครมหาเสนาบดีฝ่ายขวาเป็นหัวหน้ามีหน้าที่บังคับบัญชาและรับผิดชอบในกิจการทหาร และการป้องกันประเทศ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">ฝ่ายพลเรือนมีพระสมุหนายกหรืออัครมหาเสนาบดีฝ่ายซ้ายเป็นหัวหน้ามีหน้าที่บังคับบัญชา และรับผิดชอบกิจการพลเรือน คือ เวียง วัง คลัง นา</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">ส่วนไพร่ได้รับสิทธิเลือกสังกัดฝ่ายทหารหรือฝ่ายพลเมืองได้ แต่ในยามสงคราม ไพร่ทั้งสองฝ่ายต้องออกรบด้วยกัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ได้มีการตรากฎหมายว่าด้วยศักดินาขึ้น และใช้มาจนถึงยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ศักดินา คือ วิธีให้เกียรติยศบุคคลตั้งแต่ขุนนาง ข้าราชการ ลงไปจนถึงไพร่และทาส โดยกำหนดจำนวนที่นามากน้อยตามศักดิ์หรือเกียรติยศของบุคคล เช่น ขุนนางชั้นเอก คือ ชั้นเจ้าพระยามีศักดินา 10,000 ไร่ คนธรรมดาสามัญมีศักดินา 25 ไร่ ทาสมีศักดินา 5 ไร่ เป็นต้น การกำหนดระบบศักดินาขึ้นมาก็เพื่อประโยชน์ในการกำหนดสิทธิ และหน้าที่ของประชาชน นอกจากนี้ ระบบศักดินายังเกี่ยวพันกับการชำระโทษ และปรับไหมในกรณีกระทำผิดอีกด้วยคนที่ถือศักดินาสูงเมื่อทำผิดจะถูกลงโทษหนักกว่า ผู้มีศักดินาต่ำ การปรับในศาลหลวง ค่าปรับนั้นก็เอาศักดินาเป็นบรรทัดฐาน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">2) การปกครองหัวเมือง<br />\nพระบรมไตรโลกนาถพยายามจัดการปกครองหัวเมืองเสียใหม่ เพื่อให้ส่วนกลางสามารถคุมหัวเมืองทั้งหลายได้ แต่ก็ปรากฏว่าไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร เพราะการคมนาคมไม่สะดวก คงทำได้สำเร็จเฉพาะหัวเมืองใกล้เคียงหรือหัวเมืองรอบ ๆ เมืองหลวงเท่านั้น หัวเมืองในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ นอกจากเมืองพระยามหานครที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขุนนางไปปกครองแล้ว ยังมีหัวเมืองประเทศราช ที่มีเจ้าเมืองของตนเอง แต่ยอมขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยา โดยส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายทุกปี หัวเมืองประเทศราชเหล่านี้ มีทั้งใกล้และไกล เช่น เชียงใหม่<br />\nเชียงแสน เชียงรุ้ง ยะโฮร์ มะละกา เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">ต่อมา ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้ปฏิรูปการปกครองหัวเมืองใหม่ โดยยกเลิกเมืองพระยามหานคร และจัดแบ่งเมืองนอกเขตราชธานีออกเป็น 3 ชั้น คือ<br />\n(1) หัวเมืองชั้นเอก มี 2 เมือง คือ พิษณุโลกและนครศรีธรรมราช<br />\n(2) หัวเมืองชั้นใน มีหลายเมือง เช่น สวรรคโลก สุโขทัย กำแพงเพชร เพชรบุรี เป็นต้น<br />\n(3) หัวเมืองชั้นตรี เช่น พิชัย นครสวรรค์ ไชยา พัทลุง เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">หัวเมืองแต่ละชั้นยังมีเมืองย่อยอยู่โดยรอบ เรียกเมืองเหล่านี้ว่า เมืองจัตวา การจัดการปกครองหัวเมืองแบบนี้มีมาโดยตลอด และได้ยกเลิกไปในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">ด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ในสมัยอยุธยา นอกจากค้าขายกับชาติต่าง ๆ ในเอเชียแล้ว ก็ได้ค้าขายกับชาวตะวันตกด้วย ชาวตะวันตกชาติแรก คือ โปรตุเกส ได้ส่งทูตชื่อ ดูอาร์ต เฟอร์นันเดซ เข้ามาใน พ.ศ.2061 สมัยพระรามาธิบดีที่ 2 โดยได้มีการเซ็นสัญญาอนุญาตให้ชาวโปรตุเกสทำมาค้าขายในดินแดนไทยได้ ต่อจากนั้นก็มีชนชาติอื่น เช่น สเปน อังกฤษ ฮอลันดา ฝรั่งเศส ทยอยกันเข้ามามีสัมพันธ์ทางการค้ากับไทย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\">โดยปกติ พระมหากษัตริย์ของไทยมักให้การต้อนรับชนต่างชาติเป็นอย่างดี บางครั้งก็มีกองกำลังต่างชาติประจำการเป็นอาสาประจำอาณาจักร โดยเฉพาะในสมัยพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.2199 - 2231) มีชาวต่างประเทศเข้ามารับราชการในตำแหน่งสำคัญ ๆ หลายคน และมีการแลกเปลี่ยนทูตกับฝรั่งเศสหลายครั้ง หลังจากสมัยพระนารายณ์มหาราชมาแล้ว อิทธิพลของชาวตะวันตกในราชสำนักจึงลดลง เพราะพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยาตอนปลายไม่นิยมชาวตะวันตก เพราะระแวงว่าจะเข้ามาหาทางครอบครองเอาชาติไทยเป็นเมืองขึ้น</span>\n</p>\n', created = 1718499845, expire = 1718586245, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b215ac13e4a31622c19654fe8d9d75ed' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:85ac6b977053284bd9605c7dc670f60c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" title=\"Innocent\" alt=\"Innocent\" border=\"0\" /> อ่านแล้วไม่ทราบว่าใครเป็นผู้เขียน และนำมาจากที่ใด เพราะขาดแหล่งอ้างอิง</p>\n', created = 1718499845, expire = 1718586245, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:85ac6b977053284bd9605c7dc670f60c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมัยอยุธยาตอนปลาย

สมัยอยุธยาตอนปลาย ( พ.ศ.1991 - พ.ศ. 2310 )
การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย คือ ตั้งแต่ พ.ศ.1991 ในสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ถึงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.2310 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.1991 - พ.ศ.2031 พระองค์ได้ปฏิรูปการปกครองเสียใหม่ดังนี้

1) การปกครองส่วนกลาง
ราชธานี ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง โดยได้แต่งตั้งขุนนางไปปกครองเมืองลูกหลวง และให้ขึ้นต่ออัครมหาเสนาบดี เรียกว่า "เมืองพระยามหานคร" ซึ่งเป็นการรวมอำนาจเข้าส่วนกลางมากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีเมืองพระยามหานครอีก 4 เมือง ที่มิได้มีฐานะเป็นเมืองลูกหลวง คือ นครศรีธรรมราช นครราชสีมา ตะนาวศรี และทวาย พระองค์ได้แต่งตั้งขุนนางไปปกครองเช่นกัน แต่มีฐานะกึ่งอิสระ เพื่อตอบแทนความดีความชอบในการปฏิบัติราชการของขุนนางเหล่านั้น

การจัดระเบียบการปกครองที่ได้พัฒนาขึ้น ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถอีกประการหนึ่ง คือ การแยกข้าราชการทหาร และข้าราชการพลเรือนออกจากกัน เพื่อการแบ่งงานรับผิดชอบอย่างชัดเจน คือ ฝ่ายทหาร มีพระสมุหกลาโหม หรืออัครมหาเสนาบดีฝ่ายขวาเป็นหัวหน้ามีหน้าที่บังคับบัญชาและรับผิดชอบในกิจการทหาร และการป้องกันประเทศ

ฝ่ายพลเรือนมีพระสมุหนายกหรืออัครมหาเสนาบดีฝ่ายซ้ายเป็นหัวหน้ามีหน้าที่บังคับบัญชา และรับผิดชอบกิจการพลเรือน คือ เวียง วัง คลัง นา

ส่วนไพร่ได้รับสิทธิเลือกสังกัดฝ่ายทหารหรือฝ่ายพลเมืองได้ แต่ในยามสงคราม ไพร่ทั้งสองฝ่ายต้องออกรบด้วยกัน

ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ได้มีการตรากฎหมายว่าด้วยศักดินาขึ้น และใช้มาจนถึงยุคกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ศักดินา คือ วิธีให้เกียรติยศบุคคลตั้งแต่ขุนนาง ข้าราชการ ลงไปจนถึงไพร่และทาส โดยกำหนดจำนวนที่นามากน้อยตามศักดิ์หรือเกียรติยศของบุคคล เช่น ขุนนางชั้นเอก คือ ชั้นเจ้าพระยามีศักดินา 10,000 ไร่ คนธรรมดาสามัญมีศักดินา 25 ไร่ ทาสมีศักดินา 5 ไร่ เป็นต้น การกำหนดระบบศักดินาขึ้นมาก็เพื่อประโยชน์ในการกำหนดสิทธิ และหน้าที่ของประชาชน นอกจากนี้ ระบบศักดินายังเกี่ยวพันกับการชำระโทษ และปรับไหมในกรณีกระทำผิดอีกด้วยคนที่ถือศักดินาสูงเมื่อทำผิดจะถูกลงโทษหนักกว่า ผู้มีศักดินาต่ำ การปรับในศาลหลวง ค่าปรับนั้นก็เอาศักดินาเป็นบรรทัดฐาน

2) การปกครองหัวเมือง
พระบรมไตรโลกนาถพยายามจัดการปกครองหัวเมืองเสียใหม่ เพื่อให้ส่วนกลางสามารถคุมหัวเมืองทั้งหลายได้ แต่ก็ปรากฏว่าไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร เพราะการคมนาคมไม่สะดวก คงทำได้สำเร็จเฉพาะหัวเมืองใกล้เคียงหรือหัวเมืองรอบ ๆ เมืองหลวงเท่านั้น หัวเมืองในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ นอกจากเมืองพระยามหานครที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งขุนนางไปปกครองแล้ว ยังมีหัวเมืองประเทศราช ที่มีเจ้าเมืองของตนเอง แต่ยอมขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยา โดยส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายทุกปี หัวเมืองประเทศราชเหล่านี้ มีทั้งใกล้และไกล เช่น เชียงใหม่
เชียงแสน เชียงรุ้ง ยะโฮร์ มะละกา เป็นต้น

ต่อมา ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้ปฏิรูปการปกครองหัวเมืองใหม่ โดยยกเลิกเมืองพระยามหานคร และจัดแบ่งเมืองนอกเขตราชธานีออกเป็น 3 ชั้น คือ
(1) หัวเมืองชั้นเอก มี 2 เมือง คือ พิษณุโลกและนครศรีธรรมราช
(2) หัวเมืองชั้นใน มีหลายเมือง เช่น สวรรคโลก สุโขทัย กำแพงเพชร เพชรบุรี เป็นต้น
(3) หัวเมืองชั้นตรี เช่น พิชัย นครสวรรค์ ไชยา พัทลุง เป็นต้น

หัวเมืองแต่ละชั้นยังมีเมืองย่อยอยู่โดยรอบ เรียกเมืองเหล่านี้ว่า เมืองจัตวา การจัดการปกครองหัวเมืองแบบนี้มีมาโดยตลอด และได้ยกเลิกไปในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

ด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ในสมัยอยุธยา นอกจากค้าขายกับชาติต่าง ๆ ในเอเชียแล้ว ก็ได้ค้าขายกับชาวตะวันตกด้วย ชาวตะวันตกชาติแรก คือ โปรตุเกส ได้ส่งทูตชื่อ ดูอาร์ต เฟอร์นันเดซ เข้ามาใน พ.ศ.2061 สมัยพระรามาธิบดีที่ 2 โดยได้มีการเซ็นสัญญาอนุญาตให้ชาวโปรตุเกสทำมาค้าขายในดินแดนไทยได้ ต่อจากนั้นก็มีชนชาติอื่น เช่น สเปน อังกฤษ ฮอลันดา ฝรั่งเศส ทยอยกันเข้ามามีสัมพันธ์ทางการค้ากับไทย

โดยปกติ พระมหากษัตริย์ของไทยมักให้การต้อนรับชนต่างชาติเป็นอย่างดี บางครั้งก็มีกองกำลังต่างชาติประจำการเป็นอาสาประจำอาณาจักร โดยเฉพาะในสมัยพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ.2199 - 2231) มีชาวต่างประเทศเข้ามารับราชการในตำแหน่งสำคัญ ๆ หลายคน และมีการแลกเปลี่ยนทูตกับฝรั่งเศสหลายครั้ง หลังจากสมัยพระนารายณ์มหาราชมาแล้ว อิทธิพลของชาวตะวันตกในราชสำนักจึงลดลง เพราะพระมหากษัตริย์สมัยอยุธยาตอนปลายไม่นิยมชาวตะวันตก เพราะระแวงว่าจะเข้ามาหาทางครอบครองเอาชาติไทยเป็นเมืองขึ้น

รูปภาพของ silavacharee

Innocent อ่านแล้วไม่ทราบว่าใครเป็นผู้เขียน และนำมาจากที่ใด เพราะขาดแหล่งอ้างอิง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 840 คน กำลังออนไลน์