• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0133110d11f4f8e486413f6e079eb100' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center;\" align=\"center\"><strong><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #ff6600;\">เสือทัสมาเนีย</span></span></span></strong></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center;\" align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center;\" align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center;\" align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center;\" align=\"center\"><strong><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><img src=\"http://my.dek-d.com/cammy/showpic.php?pid=5454936\" alt=\"\" /></span></strong></p>\n<p><strong><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">&nbsp;</span></strong></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center;\" align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>เสือทัสมาเนีย (</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">Tasmanian Tiger) <span>หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หมาป่าทัสมาเนีย หรือ (</span>Tasmanian Wolf) <span>ส่วนอีกชื่อหนึ่งนั้น ตามชื่อวิทยาศาสตร์เรียกว่า </span>Thylacine <span>เสือตัวที่ว่านี้ทำให้โลกหันมาสนใจ เพราะเป็นสัตว์กินเนื้อที่หายากจนนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ ลงความเห็นว่าสูญพันธุ์หมดไปจากโลกนี้แล้ว แต่ก็มีข่าวคราวว่าพบเสือทัสมาเนียนี้กันบ่อยครั้ง ก็ไม่ทราบว่าจริงหรือเท็จ เพราะไม่มีภาพถ่ายที่ยืนยันการพบปะกับเสือที่ว่านี้ได้</span> (<span>ใครจะไปคิดว่าจะเจอหรือพกกล้องติดตัวไปด้วยตลอดเวลา) แต่ก็มีหลักฐานมากมายว่ามีการพบเสือที่ว่านี้บ่อยครั้งขึ้น หลายคนภาวนาให้เป็นอย่างนั้น เมื่อ พ.ศ.</span>2538 <span>มีเจ้าหน้าที่สวนสัตว์ของทัสมาเนียผู้หนึ่งพบร่องรอยของเสือชนิดนี้ ทางตะวันออกของทัสมาเนีย นับเป็นการค้นพบครั้งสำคัญก็ว่าได้ </span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span></span>&nbsp;</span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">&nbsp;<span><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>เสือตัวที่ว่านี้มีลักษณะคล้ายๆกับสุนัขในบ้านเรา แต่มีฟันหน้าที่แหลมคม นอกจากนั้นลำตัวและหางของเสือประเภทนี้มีลักษณะคล้ายๆกับจิงโจ้ บางครั้งมันยืนด้วยสองขาหลังเหมือนจิงโจ้ด้วย เสือทัสมาเนียที่ชาวออสเตเลียเคยเห็นเป็นขนปุยลายทางสีน้ำตาลอ่อน มีสีดำสลับที่สันหลังค่อนไปทางก้น </span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span></span>&nbsp;</span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">&nbsp;<span><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>เล่ากันว่าเสือประเภทนี้โดยนิสัยไม่ค่อยวิ่ง เนื่องจากไม่ใช่สัตว์ประเภทวิ่งเร็วเหมือนกับสัตว์กินเนื้ออื่นๆ การจับเหยื่อของมันเป็นอาหาร ก็ไม่ต้องวิ่งไล่ล่าเหยื่อเหมือนเสืออื่นๆ แต่มันจะค่อยๆทำให้เหยื่อเหนื่อยหรืออ่อนล้า โดยการตามไปเรื่อยๆ ก่อนจะจับกินเป็นอาหาร โดยเสือทัสมาเนียอย่างที่ว่านี้จะชอบกินอวัยวะของเหยื่อสัตว์ต่างๆ ตั้งแต่สัตว์ใหญ่อย่าง วอลลาบี จิงโจ้ ไปจนถึงแบนดีคู้ต หนู และนก ของโปรดจากอวัยวะของสัตว์เหล่านั้นได้แก่ คอ จมูก ตัว และไต หลายคนสงสัยว่าเสือที่ว่าเห่าหอนอะไรบ้างหรือเปล่า นักสัตวศาสตร์ก็บอกว่ามันไม่ค่อยเห่าหอนเท่าไหร่นัก แต่ก็มีบ้างในบางครั้ง แต่ก็นานๆทีว่างั้นเหอะ</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span></span>&nbsp;</span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">&nbsp;<span><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>ลักษณะทางกายภาพของสัตว์ประเภทนี้ ว่ากันว่าเมื่อโตเต็มที่จะหนักประมาณ </span>35 <span>กก. ลำตัวยาวประมาณเมตรครึ่ง อายุขัยของมันนั้นยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มีตัวหนึ่งที่เคยอยู่ในสวนสัตว์ลอนดอนมีอายุถึง </span>10 <span>ปี ส่วนตัวที่อยู่ทัสมาเนียมีอายุถึง </span>12 <span>ปี มีการพบเห็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของเสือทัสมาเนียครั้งสุดท้าย ในเวสต์ออสเตเลีย บนแผ่นดินใหญ่ แต่พบเป็นฟอสซิล หรือซากศพที่ติดอยู่ในหินอายุประมาณ </span>3,100 <span>ปี</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span></span>&nbsp;</span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">&nbsp;<span><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>สำหรับสาเหตุที่ทำให้เสือทัสมาเนียสูญพันธุ์อาจมาจากหลายสาเหตุด้วยกัน ประการที่เห็นชัดๆได้แก่การที่ผู้คนไม่ใส่ใจจะอนุรักษ์สัตว์ประเภทนี้ไว้ก็ได้ ส่วนสาเหตุอื่นๆนั้น นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าอาจเกิดมาจากโรคระบาด หรือเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่ทำให้มันเสียชีวิต บางส่วนก็เข้าใจว่าอาจเป็นเพราะถูกล่า เนื่องจากเสือเหล่านี้เข้าไปกัดกินแกะของชาวไร่ ชาวนา ปัจจุบันถ้าอยากเห็นหนังเสือและเสือเป็นตัวๆ (ตายแล้ว) ก็เข้าไปดูได้ที่ </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">Tasmanian</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">Museum</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"> and </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">Art</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">Gallery</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"> <span>ที่ </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">Hobart</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"> <span>เมืองหลวงของรัฐซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะ ที่นั่นท่านจะเห็นสัตว์พื้นเมืองต่างๆของออสเตเลียเพียบ</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span></span>&nbsp;</span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>ดั้งเดิมจริงๆเสือชนิดนี้แพร่พันธุ์ทั่วไปในนิวกีนีและทัสมาเนียเมื่อ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">4,000 <span>ปีก่อน เสือที่ว่านี้ค่อยๆหายไปจากนิวกีนีและออสเตเลีย พร้อมๆกับการแพร่พันธุ์ของสุนัขดิงโก้ และหมาป่า แต่โชคดีที่หมาที่ว่านี้ไม่แพร่พันธุ์เข้ามาทัสมาเนีย เพราะทัสมาเนียเป็นเกาะมีน้ำคั่นกลาง หมาดิงโก้คงว่ายน้ำข้ามมาไม่ได้ เพราะช่องแคบบาสส์ (</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">Bass Strait</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">) <span>นั้นกว้างถึง </span>200 <span>กม. เลยทำให้เสือยืดอายุมาได้นานกว่าที่อื่นๆในออสเตเลีย</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span></span>&nbsp;</span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">&nbsp;<span><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>อีกกระแสหนึ่งบอกว่า เมื่อชาวยุโรปเข้ามาตั้งถิ่นฐานใหม่ๆนั้น เสือทัสมาเนียก็เริ่มหดหายไป เนื่องจากพวกที่เข้ามาใหม่นั้นนำแกะเข้ามาเลี้ยง เมื่อปี พ.ศ.</span>2376 <span>โดยบริษัท </span>Van Diemens Land Co. <span>ให้ค่าหัวในการล่าเสือทัสมาเนีย ต่อมารัฐบาลสั่งห้ามการล่าดังกล่าวเสีย แต่กว่าจะหยุดได้ก็ทำให้เสือดังกล่าวหายากมาก ตามบันทึกบอกว่าเสือทัสมาเนียตัวสุดท้ายของโลกตายในสวนสัตว์โฮบาร์ต ทัสมาเนีย เมื่อวันที่ </span>7 <span>กันยายน พ.ศ.</span>2479 <span>และในปีนี้เองรัฐบาลประกาศการสูญพันธุ์อย่างเป็นทางการของเสือชนิดนี้</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span></span>&nbsp;</span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">&nbsp;<span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span>แต่ในระยะ </span>50 <span>ปี ที่ผ่านมา มีรายงานพบเสือประเภทนี้เป็นระยะในถิ่นกำเนิดออสเตรเลีย เมื่อเป็นเช่นนี้รัฐบาลออสเตรเลียจึงได้ส่ง เควิน คาเมรอน ผู้เชี่ยวชาญไปตรวจสอบ โดยสอบถามเผ่าอะบอริจิน และจากการสำรวจพบว่าในป่าของออสเตเลียยังมีเสือทัสมาเนียมากกว่า </span>1 <span>ตัว นานอน </span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span>เมื่อเร็วๆนี้มีข่าวครึกโครมออกไปทั่วโลกว่า นักวิทยาศาสตร์ค้นพบวิธีชุบชีวิตเสือดังกล่าวได้แล้วโดย ดร.ไมค์ อาร์เชอร์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\">Mike Archer) <span>ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ออสเตเลียน ออกมาแถลงว่ามีแผนที่จะทำโคลนนิ่งเสือชนิดนี้ โดยนำเอาเซลล์ของเสือที่ดองแอลกอฮอล์ไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ.</span>2409 <span>มาสกัด </span>DNA <span>นักวิทยาศาสตร์ท่านนี้ยืนยันว่าทำได้แน่ๆ ในเร็วๆนี้....</span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify;\">&nbsp;</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\';\"><span></span>&nbsp;</span> สร้างโดย&nbsp; กัญญามาศ เฮงษฎีกุล&nbsp; โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: right;\" align=\"right\"><a href=\"http://www.tantee.net/board/user/topic_view.php?viewstr=mayed,1,33\"><span style=\"text-decoration: underline;\"><span style=\"color: #0000ff;\">http://www.tantee.net/board/user/topic_view.php?viewstr=mayed,1,33</span></span></a></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: right;\" align=\"right\"><a href=\"http://my.dek-d.com/Writer/story/viewlongc.php?id=219485&amp;chapter=34\">http://my.dek-d.com/Writer/story/viewlongc.php?id=219485&amp;chapter=34</a></p>\n<script type=\"text/javascript\">// <![CDATA[\nplaySound();\n// ]]></![cdata[></script>', created = 1715256643, expire = 1715343043, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0133110d11f4f8e486413f6e079eb100' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เสือทัสมาเนีย

เสือทัสมาเนีย

 

 

 

 

 

                เสือทัสมาเนีย (Tasmanian Tiger) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หมาป่าทัสมาเนีย หรือ (Tasmanian Wolf) ส่วนอีกชื่อหนึ่งนั้น ตามชื่อวิทยาศาสตร์เรียกว่า Thylacine เสือตัวที่ว่านี้ทำให้โลกหันมาสนใจ เพราะเป็นสัตว์กินเนื้อที่หายากจนนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ ลงความเห็นว่าสูญพันธุ์หมดไปจากโลกนี้แล้ว แต่ก็มีข่าวคราวว่าพบเสือทัสมาเนียนี้กันบ่อยครั้ง ก็ไม่ทราบว่าจริงหรือเท็จ เพราะไม่มีภาพถ่ายที่ยืนยันการพบปะกับเสือที่ว่านี้ได้ (ใครจะไปคิดว่าจะเจอหรือพกกล้องติดตัวไปด้วยตลอดเวลา) แต่ก็มีหลักฐานมากมายว่ามีการพบเสือที่ว่านี้บ่อยครั้งขึ้น หลายคนภาวนาให้เป็นอย่างนั้น เมื่อ พ.ศ.2538 มีเจ้าหน้าที่สวนสัตว์ของทัสมาเนียผู้หนึ่งพบร่องรอยของเสือชนิดนี้ ทางตะวันออกของทัสมาเนีย นับเป็นการค้นพบครั้งสำคัญก็ว่าได้

 

 

                เสือตัวที่ว่านี้มีลักษณะคล้ายๆกับสุนัขในบ้านเรา แต่มีฟันหน้าที่แหลมคม นอกจากนั้นลำตัวและหางของเสือประเภทนี้มีลักษณะคล้ายๆกับจิงโจ้ บางครั้งมันยืนด้วยสองขาหลังเหมือนจิงโจ้ด้วย เสือทัสมาเนียที่ชาวออสเตเลียเคยเห็นเป็นขนปุยลายทางสีน้ำตาลอ่อน มีสีดำสลับที่สันหลังค่อนไปทางก้น

 

 

                เล่ากันว่าเสือประเภทนี้โดยนิสัยไม่ค่อยวิ่ง เนื่องจากไม่ใช่สัตว์ประเภทวิ่งเร็วเหมือนกับสัตว์กินเนื้ออื่นๆ การจับเหยื่อของมันเป็นอาหาร ก็ไม่ต้องวิ่งไล่ล่าเหยื่อเหมือนเสืออื่นๆ แต่มันจะค่อยๆทำให้เหยื่อเหนื่อยหรืออ่อนล้า โดยการตามไปเรื่อยๆ ก่อนจะจับกินเป็นอาหาร โดยเสือทัสมาเนียอย่างที่ว่านี้จะชอบกินอวัยวะของเหยื่อสัตว์ต่างๆ ตั้งแต่สัตว์ใหญ่อย่าง วอลลาบี จิงโจ้ ไปจนถึงแบนดีคู้ต หนู และนก ของโปรดจากอวัยวะของสัตว์เหล่านั้นได้แก่ คอ จมูก ตัว และไต หลายคนสงสัยว่าเสือที่ว่าเห่าหอนอะไรบ้างหรือเปล่า นักสัตวศาสตร์ก็บอกว่ามันไม่ค่อยเห่าหอนเท่าไหร่นัก แต่ก็มีบ้างในบางครั้ง แต่ก็นานๆทีว่างั้นเหอะ

 

 

                ลักษณะทางกายภาพของสัตว์ประเภทนี้ ว่ากันว่าเมื่อโตเต็มที่จะหนักประมาณ 35 กก. ลำตัวยาวประมาณเมตรครึ่ง อายุขัยของมันนั้นยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มีตัวหนึ่งที่เคยอยู่ในสวนสัตว์ลอนดอนมีอายุถึง 10 ปี ส่วนตัวที่อยู่ทัสมาเนียมีอายุถึง 12 ปี มีการพบเห็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของเสือทัสมาเนียครั้งสุดท้าย ในเวสต์ออสเตเลีย บนแผ่นดินใหญ่ แต่พบเป็นฟอสซิล หรือซากศพที่ติดอยู่ในหินอายุประมาณ 3,100 ปี

 

 

                สำหรับสาเหตุที่ทำให้เสือทัสมาเนียสูญพันธุ์อาจมาจากหลายสาเหตุด้วยกัน ประการที่เห็นชัดๆได้แก่การที่ผู้คนไม่ใส่ใจจะอนุรักษ์สัตว์ประเภทนี้ไว้ก็ได้ ส่วนสาเหตุอื่นๆนั้น นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าอาจเกิดมาจากโรคระบาด หรือเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่ทำให้มันเสียชีวิต บางส่วนก็เข้าใจว่าอาจเป็นเพราะถูกล่า เนื่องจากเสือเหล่านี้เข้าไปกัดกินแกะของชาวไร่ ชาวนา ปัจจุบันถ้าอยากเห็นหนังเสือและเสือเป็นตัวๆ (ตายแล้ว) ก็เข้าไปดูได้ที่ Tasmanian Museum and Art Gallery ที่ Hobart เมืองหลวงของรัฐซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะ ที่นั่นท่านจะเห็นสัตว์พื้นเมืองต่างๆของออสเตเลียเพียบ

 

 

                ดั้งเดิมจริงๆเสือชนิดนี้แพร่พันธุ์ทั่วไปในนิวกีนีและทัสมาเนียเมื่อ 4,000 ปีก่อน เสือที่ว่านี้ค่อยๆหายไปจากนิวกีนีและออสเตเลีย พร้อมๆกับการแพร่พันธุ์ของสุนัขดิงโก้ และหมาป่า แต่โชคดีที่หมาที่ว่านี้ไม่แพร่พันธุ์เข้ามาทัสมาเนีย เพราะทัสมาเนียเป็นเกาะมีน้ำคั่นกลาง หมาดิงโก้คงว่ายน้ำข้ามมาไม่ได้ เพราะช่องแคบบาสส์ (Bass Strait) นั้นกว้างถึง 200 กม. เลยทำให้เสือยืดอายุมาได้นานกว่าที่อื่นๆในออสเตเลีย

 

 

                อีกกระแสหนึ่งบอกว่า เมื่อชาวยุโรปเข้ามาตั้งถิ่นฐานใหม่ๆนั้น เสือทัสมาเนียก็เริ่มหดหายไป เนื่องจากพวกที่เข้ามาใหม่นั้นนำแกะเข้ามาเลี้ยง เมื่อปี พ.ศ.2376 โดยบริษัท Van Diemens Land Co. ให้ค่าหัวในการล่าเสือทัสมาเนีย ต่อมารัฐบาลสั่งห้ามการล่าดังกล่าวเสีย แต่กว่าจะหยุดได้ก็ทำให้เสือดังกล่าวหายากมาก ตามบันทึกบอกว่าเสือทัสมาเนียตัวสุดท้ายของโลกตายในสวนสัตว์โฮบาร์ต ทัสมาเนีย เมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ.2479 และในปีนี้เองรัฐบาลประกาศการสูญพันธุ์อย่างเป็นทางการของเสือชนิดนี้

 

 

                แต่ในระยะ 50 ปี ที่ผ่านมา มีรายงานพบเสือประเภทนี้เป็นระยะในถิ่นกำเนิดออสเตรเลีย เมื่อเป็นเช่นนี้รัฐบาลออสเตรเลียจึงได้ส่ง เควิน คาเมรอน ผู้เชี่ยวชาญไปตรวจสอบ โดยสอบถามเผ่าอะบอริจิน และจากการสำรวจพบว่าในป่าของออสเตเลียยังมีเสือทัสมาเนียมากกว่า 1 ตัว นานอน

                เมื่อเร็วๆนี้มีข่าวครึกโครมออกไปทั่วโลกว่า นักวิทยาศาสตร์ค้นพบวิธีชุบชีวิตเสือดังกล่าวได้แล้วโดย ดร.ไมค์ อาร์เชอร์ (Mike Archer) ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์ออสเตเลียน ออกมาแถลงว่ามีแผนที่จะทำโคลนนิ่งเสือชนิดนี้ โดยนำเอาเซลล์ของเสือที่ดองแอลกอฮอล์ไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2409 มาสกัด DNA นักวิทยาศาสตร์ท่านนี้ยืนยันว่าทำได้แน่ๆ ในเร็วๆนี้....

 

 

 

 

 

  สร้างโดย  กัญญามาศ เฮงษฎีกุล  โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

http://www.tantee.net/board/user/topic_view.php?viewstr=mayed,1,33

http://my.dek-d.com/Writer/story/viewlongc.php?id=219485&chapter=34

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 383 คน กำลังออนไลน์