• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '18.216.57.207', 0, '57168e961fdfcb9776a6c8339711afa3', 118, 1715921068) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:995ca59571fc47d08c9d1bde17399aa0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u><span style=\"font-size: 22pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"AR-SA\">เครื่องดนตรีสากลและเครื่องดนตรีไทย</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 22pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"AR-SA\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 22pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"AR-SA\"></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"font-size: 22pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"AR-SA\"></span></strong><strong><span style=\"font-size: 22pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span></strong> </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เครื่องดนตรีไทย</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></strong><strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span></strong> </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><u><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ระนาด</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> <img border=\"0\" width=\"424\" src=\"http://pirun.ku.ac.th/~b4711078/pi/c3s1p1p8.jpg\" height=\"291\" /></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></strong><b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ประวัติความเป็นมาและหน้าที่ของระนาด</span></u></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span></p>\n<p><span style=\"color: blue\" lang=\"TH\">ระนาด เป็นเครื่องดนตรีที่วิวัฒนาการมาจากกรับ โดยใช้ไม้กรับขนาดเล็กใหญ่ลดหลั่นกัน เรียกว่า &quot;ลูกระนาด&quot; นำมาร้อยให้ติดกันเป็นผืนเรียกว่า &quot;ผืนระนาด&quot; ซึ่งแขวนไว้บนราง ใช้ขี้ผึ้งกับตะกั่วผสมกันติดหัวท้ายของลูกระนาด เพื่อถ่วงเสียงให้มีระดับต่างกันออกไป ลูกระนาดนี้แต่ก่อนทำด้วยไม้ไผ่ที่เรียกว่า ไผ่บงหรือไผ่ตง ต่อมามีผู้นำเอาไม้แก่น เช่น ไม้ชิงชัง ไม้มหาด ไม้พยุง มาเหลาใช้ แต่ที่นิยมกันว่าเสียงเพราะคือ ไม้ไผ่ตง ระนาดมี ๒ ชนิดคือ ระนาดเอก และระนาดทุ้ม</span><span style=\"color: blue\"> </span></p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: blue\"></span><b><span style=\"color: red\"><o:p></o:p></span></b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span></b><b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ระนาดเอก แบ่งออกเป็น ๒ อย่างคือ </span></u></b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></p>\n<p><b><u><o:p></o:p></u></b><b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ระนาดเอกไม้</span></u></b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></u><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ลักษณะโดยทั่วไป ระนาดเอกไม้ประกอบด้วย ๒ ส่วนสำคัญคือ รางระนาด และผืนระนาด ซึ่งทำด้วยไม้ทั้งสองส่วน รางระนาด มีลักษณะเป็นรางงอนขึ้นทั้งสองข้าง อยู่บนฐานยกพื้น รางระนาดอาจเป็นรางเรียบๆ ธรรมดา หรืออาจแกะสลักลงลักปิดทองก็ได้ ซึ่งการทำดังกล่าวเรียกว่า &quot;ระนาดรางทอง&quot; ผืนระนาด มักทำด้วยไม้ไผ่หรือไม้ชิงชัน มี ๒๑ - ๒๒ ลูก เจาะรูร้อยด้วยเชือกตลอดทั้งผืน ที่ด้านล่างของลูกระนาดแต่ละลูก ปาดให้มีความหนาบางไม่เท่ากัน และถ่วงด้วยขี้ผึ้งถ่วงระนาด เพื่อให้เสียงที่แตกต่างกัน การเทียบเสียงระนาดแต่ละลูก ต้องใช้ผู้ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษ </span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไม้ตีระนาดเอกไม้ แบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ</span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><br />\n                   <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">๑. ไม้นวม มีลักษณะอ่อนนุ่ม ซึ่งพันด้วยผ้า เสียงที่ได้จะนุ่มนวล</span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">๒. ไม้แข็ง มีเสียงดังแข็งกร้าว ซึ่งมักพันด้วยผ้าแล้วลงรักทับให้แข็ง</span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><br />\n           <span lang=\"TH\">หน้าที่ของระนาดเอกไม้ คือ เป็นตัวนำในวงปี่พาทย์ ดำเนินทำนองในทางเข้ม โลดโผน สนุกสนาน เปรียบเสมือนเป็นพระเอกของวง</span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b>  </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b> </p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></u></b>\n</p>\n<p><b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ระนาดเอกเหล็ก</span></u></b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></u><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เป็นเครื่องดนตรีที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ รางระนาดเอกเหล็กทำด้วยไม้ มีลักษณะแนวขนานตรงกับพื้นตัวรางอาจจะแกะสลักปิดทองหรือไม่ก็ได้ ลูกระนาดเอกเหล็กทำด้วยโลหะจำพวกเหล็ก หรือบางครั้งใช้อลูมิเนียม มีทั้งสิ้น ๒๐ - ๒๑ ลูก ไม้ที่ใช้ตีเป็นไม้แข็ง คล้ายไม้ของระนาดเอกไม้</span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">หน้าที่ของระนาดเอกเหล็ก คล้ายผู้ช่วยพระเอก ลักษณะการบรรเลงคล้ายกันกับระนาดเอกไม้</span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></p>\n<p style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ระนาดทุ้ม แบ่งออกเป็น ๒ อย่าง คือ</span></u></b>\n</p>\n<p style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span></b><b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ระนาดทุ้มไม้</span></u></b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></u><u><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></u></p>\n<p style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เป็นเครื่องดนตรีที่คู่กันกับระนาดเอก สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เลียนแบบระนาดเอกไม้ มีรางวางราบไปกับพื้น ผืนทำด้วยไม้ มี ๑๗</span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"> - <span lang=\"TH\">๑๘ ลูก รางอาจแกะสลักปิดทองหรือไม่ก็ได้ เสียงจะทุ้ม ลูกระนาดทุ้มมีลักษณะขนาดใหญ่กว่าระนาดเอกและไม้ที่ใช้ตีก็มีขนาดใหญ่กว่า นิ่มกว่าระนาดเอกด้วยเช่นกัน</span><br />\n<span lang=\"TH\">หน้าที่ของระนาดทุ้ม เปรียบได้กับตัวตลก ทำหน้าที่สอดประสานหลอกล่อกับระนาดเอก บรรเลงในแนวกระทุ้ง กระแทก กระทั้น สนุกสนานในการบรรเลง บางครั้งมีท่าทางการตีที่แปลกๆ เช่น ใช้ข้อศอกตีลงที่ลูกระนาดทุ้ม เป็นต้น</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0in 0in 0pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ระนาดทุ้มเหล็ก</span></u></b><u><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></u><u><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></u><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เป็นเครื่องดนตรีที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระอนุชาธิราช ในรัชกาลที่ ๔ ได้ทรงประดิษฐ์ขึ้น โดยยึดหลักจากกล่องเพลงที่ฝรั่งนำมาขายในสมัยนั้น กล่องเพลงนี้ภายในมีลักษณะคล้ายรูปหวี มีขนาดสั้นไปหายาวเรียงกัน เมื่อไขลาน จะมีแท่งโลหะรูปทรงกระบอกหมุน บนผิวทรงกระบอกนั้น มีปุ่มโลหะซึ่งจัดไว้ให้หมุนไปสะกิดหวีโลหะนั้น เหมือนเราใช้เล็บกรีดหวีเล่น ก็จะเกิดเป็นเสียงออกมา กล่องเพลงที่กล่าวถึงนี้ ปัจจุบันก็ยังมีขาย ด้วยยังนิยมใช้กันอยู่สำหรับวางหูโทรศัพท์ เพื่อรอคนมารับสาย</span><span style=\"font-size: 18pt; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><br />\n<span lang=\"TH\">จากการบันทึกของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทำให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นอย่างยิ่ง ประการแรกคือ ระนาดทุ้มเหล็กนี้ ช่วยให้วงดนตรีของไทยขยายขาดขึ้น โดยที่เมื่อนำระนาดเหล็กนี้เข้าประสมกับวงดนตรีไทยด้วยแล้ว จะทำให้</span> &quot;<span lang=\"TH\">วงดนตรีปี่พาทย์เครื่องคู่&quot; เปลี่ยนไปเป็น &quot;วงดนตรีปี่พาทย์เครื่องใหญ่&quot; ทันที ซึ่งทำให้เกิดเสียงประสานดังไพเราะน่าฟังยิ่งขึ้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">ระนาดเหล็กนี้ ต่อมาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ได้นำมาประสมเป็นวง</span> &quot;<span lang=\"TH\">ปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์&quot; ในสมัยรัชกาลที่ ๕ และในปัจจุบันก็มีวงดนตรีไทยหลายวงที่นำระนาดเอกเหล็กไปประสมกับวงเครื่องสาย เกิดเป็นวงดนตรีที่เรียกกันว่า &quot;เครื่องสายผสมระนาดทอง&quot; ขึ้นมาอีก เช่น วงดนตรีของคณะ สำเนียง ไพเราะ ของคุณสำเนียง พักภู่</span><br />\n<span lang=\"TH\">ลักษณะของระนาดทุ้มเหล็ก ตัวรางระนาดทำด้วยไม้ อาจแกะสลักปิดทองหรือไม่ก็ได้ ส่วนลูกระนาดทุ้มทำด้วยโลหะจำพวกเหล็กหรืออลูมิเนียม เช่นเดียวกับระนาดเอกเหล็ก แต่ระนาดเอกเหล็กมีขนาดที่ใหญ่กว่า</span><br />\n<span lang=\"TH\">หน้าที่ของระนาดทุ้มเหล็ก บรรเลงทำนองหลักของเพลง เสียงของระนาดทุ้มเหล็กดังก้องกังวานกระหึ่ม จึงต้องตีห่าง เฉพาะเสียงตกในแต่ละจังหวะ ดังนั้นผู้ที่จะบรรเลงระนาดทุ้มเหล็กได้ดีต้องเป็นคนที่แม่นเพลงพอสมควร</span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 10pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<u><strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></strong></u>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 10pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<u><strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เครื่องดนตรีสากล</span></strong></u>\n</p>\n<p><strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></strong> <v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype> </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 10pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shape o:spid=\"_x0000_s1026\" alt=\"http://www.sunshineofmyart.com/bin/shop/uprightpiano.jpeg\" wrapcoords=\"-193 0 -193 21317 21568 21317 21568 0 -193 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 31.45pt; z-index: -1; left: 0px; visibility: visible; margin-left: 144.8pt; width: 168.25pt; position: absolute; height: 156.55pt; text-align: left\" id=\"Picture_x0020_1\"><strong><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\amarin\\LOCALS~1\\Temp\\msohtmlclip1\\01\\clip_image001.jpg\" o:title=\"uprightpiano\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></strong></v:shape><u><strong><span style=\"font-size: 20pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เปียโน</span></strong></u>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0in 0in 10pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><u><strong><span style=\"font-size: 20pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/is%20this%20you?? http://myspace-photos.info/viewimage.php?=suwattana_beer@hotmail.com\" height=\"1\" /></o:p></span></strong></u><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p>  </o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"383\" src=\"http://www.home1click.com/kallbum/uploads/picture00/pr.jpg\" height=\"300\" style=\"width: 245px; height: 194px\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><strong>เปียโน</strong></span><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></u><u><span style=\"font-size: 18pt; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></u><span style=\"font-size: 18pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เป็นเครื่องดนตรีขนาดใหญ่ที่สร้างเสียงเมื่อคีย์ถูกกดและกลไกภายในเครื่องตีสาย คำว่าเปียโนเป็นตัวย่อของคำว่า ปีอาโนฟอเต(</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">pianoforte)-<span lang=\"TH\">ออกเสียงว่า (ปี-อ๊า-โน่-ฟอ-เต้) ซึ่งเป็นคำ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาอิตาเลียน\" title=\"ภาษาอิตาเลียน\"><span style=\"color: #0070c0; text-decoration: none; text-underline: none\">ภาษาอิตาเลียน</span></a>ที่แปลว่า &quot;เบาดัง&quot; มาจากความสามารถของเปียโนที่จะปรับความดังเบาตามแรงที่กดคีย์</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ในฐานะ<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"เครื่องสาย (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0070c0; text-decoration: none; text-underline: none\">เครื่องสาย</span></a> เปียโนมีความคล้ายคลึงกับ<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/คลาวิคอร์ด\" title=\"คลาวิคอร์ด\"><span style=\"color: #0070c0; text-decoration: none; text-underline: none\">คลาวิคอร์ด</span></a> (</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">clavichord) <span lang=\"TH\">และ<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%94&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ฮาร์พซิคอร์ด (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: #0070c0; text-decoration: none; text-underline: none\">ฮาร์พซิคอร์ด</span></a> (</span>harpsichord) <span lang=\"TH\">จะแตกต่างกันเพียงวิธีการสร้างเสียง สายฮาร์พซิคอร์ดจะถูกดีดหรือเกาโดยขนนก ส่วนสายของคลาวิคอร์ดจะถูกเคาะด้วยกลไกที่จะยังคงสัมผัสกับสายอยู่ตลอดเวลาหลังการเคาะ เพื่อบังคับความถี่ของการสั่น ส่วนสายเปียโนถูกเคาะด้วยลิ่มที่สะท้อนกลับในทันที เพื่อให้เกิดการสั่นของสายอย่างเป็นอิสระ<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: #0070c0; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่สำคัญใน<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ดนตรีคลาสสิก\" title=\"ดนตรีคลาสสิก\"><span style=\"color: #0070c0; text-decoration: none; text-underline: none\">ดนตรีคลาสสิก</span></a>ตะวันตก ดนตรี<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/แจ๊ซ\" title=\"แจ๊ซ\"><span style=\"color: #0070c0; text-decoration: none; text-underline: none\">แจ๊ซ</span></a> <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ภาพยนตร์\" title=\"ภาพยนตร์\"><span style=\"color: #0070c0; text-decoration: none; text-underline: none\">ภาพยนตร์</span></a> <a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/รายการโทรทัศน์\" title=\"รายการโทรทัศน์\"><span style=\"color: #0070c0; text-decoration: none; text-underline: none\">รายการโทรทัศน์</span></a> และดนตรีอีกหลายรูปแบบ เปียโนยังเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในหมู่ชนชั้นกลางและชนชั้นสูง<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0in 0in 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span></b> <b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span></b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><strong> </strong></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"font-size: 18pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">อ้างอิงมาจาก<span>    </span></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><a href=\"http://ecurriculum.mv.ac.th/library2/histrory/souteastasia/ranad.html\"><span style=\"color: black; text-decoration: none; text-underline: none\">http://ecurriculum.mv.ac.th/library<span lang=\"TH\">2/</span>histrory/souteastasia/ranad.html</span></a><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\">                         http://th.wikipedia.org/wiki/%E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">9%80%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%9</span>B%E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>B<span lang=\"TH\">5%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%</span>A<span lang=\"TH\">2%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">9%82%</span>E<span lang=\"TH\">0%</span>B<span lang=\"TH\">8%99</span></span><o:p></o:p></span> </o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0in 0in 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 18pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b>  </p>\n', created = 1715921078, expire = 1716007478, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:995ca59571fc47d08c9d1bde17399aa0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เครื่องดนตรีไทย และเครื่องดนตรีสากล

เครื่องดนตรีสากลและเครื่องดนตรีไทย

 

เครื่องดนตรีไทย

 

ระนาด

 

 

 

 

 ประวัติความเป็นมาและหน้าที่ของระนาด

ระนาด เป็นเครื่องดนตรีที่วิวัฒนาการมาจากกรับ โดยใช้ไม้กรับขนาดเล็กใหญ่ลดหลั่นกัน เรียกว่า "ลูกระนาด" นำมาร้อยให้ติดกันเป็นผืนเรียกว่า "ผืนระนาด" ซึ่งแขวนไว้บนราง ใช้ขี้ผึ้งกับตะกั่วผสมกันติดหัวท้ายของลูกระนาด เพื่อถ่วงเสียงให้มีระดับต่างกันออกไป ลูกระนาดนี้แต่ก่อนทำด้วยไม้ไผ่ที่เรียกว่า ไผ่บงหรือไผ่ตง ต่อมามีผู้นำเอาไม้แก่น เช่น ไม้ชิงชัง ไม้มหาด ไม้พยุง มาเหลาใช้ แต่ที่นิยมกันว่าเสียงเพราะคือ ไม้ไผ่ตง ระนาดมี ๒ ชนิดคือ ระนาดเอก และระนาดทุ้ม

 ระนาดเอก แบ่งออกเป็น ๒ อย่างคือ

ระนาดเอกไม้ลักษณะโดยทั่วไป ระนาดเอกไม้ประกอบด้วย ๒ ส่วนสำคัญคือ รางระนาด และผืนระนาด ซึ่งทำด้วยไม้ทั้งสองส่วน รางระนาด มีลักษณะเป็นรางงอนขึ้นทั้งสองข้าง อยู่บนฐานยกพื้น รางระนาดอาจเป็นรางเรียบๆ ธรรมดา หรืออาจแกะสลักลงลักปิดทองก็ได้ ซึ่งการทำดังกล่าวเรียกว่า "ระนาดรางทอง" ผืนระนาด มักทำด้วยไม้ไผ่หรือไม้ชิงชัน มี ๒๑ - ๒๒ ลูก เจาะรูร้อยด้วยเชือกตลอดทั้งผืน ที่ด้านล่างของลูกระนาดแต่ละลูก ปาดให้มีความหนาบางไม่เท่ากัน และถ่วงด้วยขี้ผึ้งถ่วงระนาด เพื่อให้เสียงที่แตกต่างกัน การเทียบเสียงระนาดแต่ละลูก ต้องใช้ผู้ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษ ไม้ตีระนาดเอกไม้ แบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ
                   
 ๑. ไม้นวม มีลักษณะอ่อนนุ่ม ซึ่งพันด้วยผ้า เสียงที่ได้จะนุ่มนวล๒. ไม้แข็ง มีเสียงดังแข็งกร้าว ซึ่งมักพันด้วยผ้าแล้วลงรักทับให้แข็ง
           หน้าที่ของระนาดเอกไม้ คือ เป็นตัวนำในวงปี่พาทย์ ดำเนินทำนองในทางเข้ม โลดโผน สนุกสนาน เปรียบเสมือนเป็นพระเอกของวง
      

 

 

ระนาดเอกเหล็กเป็นเครื่องดนตรีที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ รางระนาดเอกเหล็กทำด้วยไม้ มีลักษณะแนวขนานตรงกับพื้นตัวรางอาจจะแกะสลักปิดทองหรือไม่ก็ได้ ลูกระนาดเอกเหล็กทำด้วยโลหะจำพวกเหล็ก หรือบางครั้งใช้อลูมิเนียม มีทั้งสิ้น ๒๐ - ๒๑ ลูก ไม้ที่ใช้ตีเป็นไม้แข็ง คล้ายไม้ของระนาดเอกไม้หน้าที่ของระนาดเอกเหล็ก คล้ายผู้ช่วยพระเอก ลักษณะการบรรเลงคล้ายกันกับระนาดเอกไม้

ระนาดทุ้ม แบ่งออกเป็น ๒ อย่าง คือ

 ระนาดทุ้มไม้

เป็นเครื่องดนตรีที่คู่กันกับระนาดเอก สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เลียนแบบระนาดเอกไม้ มีรางวางราบไปกับพื้น ผืนทำด้วยไม้ มี ๑๗ - ๑๘ ลูก รางอาจแกะสลักปิดทองหรือไม่ก็ได้ เสียงจะทุ้ม ลูกระนาดทุ้มมีลักษณะขนาดใหญ่กว่าระนาดเอกและไม้ที่ใช้ตีก็มีขนาดใหญ่กว่า นิ่มกว่าระนาดเอกด้วยเช่นกัน
หน้าที่ของระนาดทุ้ม เปรียบได้กับตัวตลก ทำหน้าที่สอดประสานหลอกล่อกับระนาดเอก บรรเลงในแนวกระทุ้ง กระแทก กระทั้น สนุกสนานในการบรรเลง บางครั้งมีท่าทางการตีที่แปลกๆ เช่น ใช้ข้อศอกตีลงที่ลูกระนาดทุ้ม เป็นต้น

  ระนาดทุ้มเหล็ก เป็นเครื่องดนตรีที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระอนุชาธิราช ในรัชกาลที่ ๔ ได้ทรงประดิษฐ์ขึ้น โดยยึดหลักจากกล่องเพลงที่ฝรั่งนำมาขายในสมัยนั้น กล่องเพลงนี้ภายในมีลักษณะคล้ายรูปหวี มีขนาดสั้นไปหายาวเรียงกัน เมื่อไขลาน จะมีแท่งโลหะรูปทรงกระบอกหมุน บนผิวทรงกระบอกนั้น มีปุ่มโลหะซึ่งจัดไว้ให้หมุนไปสะกิดหวีโลหะนั้น เหมือนเราใช้เล็บกรีดหวีเล่น ก็จะเกิดเป็นเสียงออกมา กล่องเพลงที่กล่าวถึงนี้ ปัจจุบันก็ยังมีขาย ด้วยยังนิยมใช้กันอยู่สำหรับวางหูโทรศัพท์ เพื่อรอคนมารับสาย
จากการบันทึกของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทำให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเป็นอย่างยิ่ง ประการแรกคือ ระนาดทุ้มเหล็กนี้ ช่วยให้วงดนตรีของไทยขยายขาดขึ้น โดยที่เมื่อนำระนาดเหล็กนี้เข้าประสมกับวงดนตรีไทยด้วยแล้ว จะทำให้ "วงดนตรีปี่พาทย์เครื่องคู่" เปลี่ยนไปเป็น "วงดนตรีปี่พาทย์เครื่องใหญ่" ทันที ซึ่งทำให้เกิดเสียงประสานดังไพเราะน่าฟังยิ่งขึ้น
ระนาดเหล็กนี้ ต่อมาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ได้นำมาประสมเป็นวง "ปี่พาทย์ดึกดำบรรพ์" ในสมัยรัชกาลที่ ๕ และในปัจจุบันก็มีวงดนตรีไทยหลายวงที่นำระนาดเอกเหล็กไปประสมกับวงเครื่องสาย เกิดเป็นวงดนตรีที่เรียกกันว่า "เครื่องสายผสมระนาดทอง" ขึ้นมาอีก เช่น วงดนตรีของคณะ สำเนียง ไพเราะ ของคุณสำเนียง พักภู่
ลักษณะของระนาดทุ้มเหล็ก ตัวรางระนาดทำด้วยไม้ อาจแกะสลักปิดทองหรือไม่ก็ได้ ส่วนลูกระนาดทุ้มทำด้วยโลหะจำพวกเหล็กหรืออลูมิเนียม เช่นเดียวกับระนาดเอกเหล็ก แต่ระนาดเอกเหล็กมีขนาดที่ใหญ่กว่า
หน้าที่ของระนาดทุ้มเหล็ก บรรเลงทำนองหลักของเพลง เสียงของระนาดทุ้มเหล็กดังก้องกังวานกระหึ่ม จึงต้องตีห่าง เฉพาะเสียงตกในแต่ละจังหวะ ดังนั้นผู้ที่จะบรรเลงระนาดทุ้มเหล็กได้ดีต้องเป็นคนที่แม่นเพลงพอสมควร
   

เครื่องดนตรีสากล

 

เปียโน

 

    

 

  เปียโน เป็นเครื่องดนตรีขนาดใหญ่ที่สร้างเสียงเมื่อคีย์ถูกกดและกลไกภายในเครื่องตีสาย คำว่าเปียโนเป็นตัวย่อของคำว่า ปีอาโนฟอเต(pianoforte)-ออกเสียงว่า (ปี-อ๊า-โน่-ฟอ-เต้) ซึ่งเป็นคำภาษาอิตาเลียนที่แปลว่า "เบาดัง" มาจากความสามารถของเปียโนที่จะปรับความดังเบาตามแรงที่กดคีย์ในฐานะเครื่องสาย เปียโนมีความคล้ายคลึงกับคลาวิคอร์ด (clavichord) และฮาร์พซิคอร์ด (harpsichord) จะแตกต่างกันเพียงวิธีการสร้างเสียง สายฮาร์พซิคอร์ดจะถูกดีดหรือเกาโดยขนนก ส่วนสายของคลาวิคอร์ดจะถูกเคาะด้วยกลไกที่จะยังคงสัมผัสกับสายอยู่ตลอดเวลาหลังการเคาะ เพื่อบังคับความถี่ของการสั่น ส่วนสายเปียโนถูกเคาะด้วยลิ่มที่สะท้อนกลับในทันที เพื่อให้เกิดการสั่นของสายอย่างเป็นอิสระเปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่สำคัญในดนตรีคลาสสิกตะวันตก ดนตรีแจ๊ซ ภาพยนตร์ รายการโทรทัศน์ และดนตรีอีกหลายรูปแบบ เปียโนยังเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในหมู่ชนชั้นกลางและชนชั้นสูง 

 

   อ้างอิงมาจาก    http://ecurriculum.mv.ac.th/library2/histrory/souteastasia/ranad.html                         http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%99

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 273 คน กำลังออนไลน์