• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:27d97fdc4293ba8a77d105c28540e195' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span class=\"h1\">ไซนัสอักเสบ</span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span><strong><span style=\"font-size: xx-large\">ไซนัส</span> </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 30pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 30pt; font-family: \'Comic Sans MS\'\">Sinusitis</span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 30pt; font-family: \'Comic Sans MS\'\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 30pt; font-family: \'Comic Sans MS\'\"></span></b><b><span style=\"font-size: 30pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><img width=\"247\" src=\"http://www.ruamphat-ts.com/images/1179971661/c31.jpg\" height=\"356\" style=\"width: 377px; height: 261px\" /></o:p></span></b> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape wrapcoords=\"-107 0 -107 21498 21600 21498 21600 0 -107 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 362.3pt; z-index: 6; margin-left: 327.6pt; width: 103.2pt; position: absolute; height: 108pt\" id=\"_x0000_s1031\"><v:imagedata o:href=\"http://www.ku.ac.th/e-magazine/april44/know/zynus1.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\Romeo\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.jpg\"></v:imagedata></v:shape><v:shape wrapcoords=\"-70 0 -70 21496 21600 21496 21600 0 -70 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 281.3pt; z-index: -2; margin-left: 552.6pt; width: 243pt; position: absolute; height: 164.8pt\" id=\"_x0000_s1030\"><v:imagedata o:href=\"http://www.ku.ac.th/e-magazine/april44/know/zynus7.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\Romeo\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image003.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></v:shape><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: JasmineUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333300\">ลักษณะทั่วไป</span></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333300\">ไซนัส (</span></span><span style=\"color: #333300\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">sinus) <span lang=\"TH\"><span> </span>หมายถึง โพรงอากาศเล็ก ๆ ในกะโหลกซึ่งอยู่รอบ ๆ จมูกและมีทางเชื่อมต่อกับโพรงจมูก ดังนั้น จึงอาจมีเชื้อโรคลุกลามจากโพรงจมูกเข้าไปในโพรงไซนัสได้ ตามปกติทางเชื่อมดังกล่าวจะเปิดโล่งให้มีการระบายของน้ำเมือกที่สร้างขึ้นในโพรงไซนัสได้สะดวกจึงไม่เกิดการอักเสบ แต่ถ้าหากทางเชื่อมดังกล่าวเกิดการอุดตันขึ้นมา (เช่น เป็นหวัด ผนังกั้นจมูกคด</span> <span lang=\"TH\">มีเนื้องอกในรูจมูก</span> <span lang=\"TH\">ได้รับบาดเจ็บ นั่งเครื่องบิน หรือดำน้ำ) น้ำเมือกในโพรงไซนัสไม่สามารถระบายได้ ก็จะทำให้เชื้อโรคที่อยู่ในโพรงไซนัส สามารถเจริญงอกงามทำให้เกิดการอักเสบ และเป็นหนองขังภายในโพรงไซนัสได้</span></span></span></p>\n<p><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: JasmineUPC\" lang=\"TH\">สาเหตุ</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span style=\"color: #333300\"><span lang=\"TH\">เชื้อที่เป็นสาเหตุ ที่พบบ่อย ได้แก่ บีตาสเตรปโตค็อกคัส</span>, <span lang=\"TH\">สแตฟฟีโลค็อกคัส</span>, <span lang=\"TH\">นิวโมค็อกคัส</span>, <span lang=\"TH\">ฮีโมฟิลุส</span>,<span lang=\"TH\">อินฟลูเอนซา นอกจากนี้ยังอาจเกิดจากการลุกลามของเชื้อโรค จากบริเวณรากฟันที่เป็นหนองเข้าไปในโพรงไซนัสโดยตรงก็ได้ ไซนัสอักเสบเป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย มักพบเป็นโรคแทรกซ้อนของไข้หวัด</span>, <span lang=\"TH\">หวัดจากการแพ้</span>, <span lang=\"TH\">เยื่อจมูกอักเสบ</span>, <span lang=\"TH\">เนื้องอกในรูจมูก</span>, <span lang=\"TH\">ผนังกั้นจมูกคด</span>, <span lang=\"TH\">รากฟันเป็น</span><span lang=\"TH\">หนอง</span></span></span></p>\n<p><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: JasmineUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333300\">อาการ</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span style=\"color: #333300\"><span lang=\"TH\">ปวดมึน ๆ หนัก ๆ ตรง บริเวณหัวตา หน้าผากโหนกแก้มหรือรอบ ๆ กระบอกตา บางคนอาจรู้สึกคล้ายปวดฟัน บริเวณขากรรไกรบน อาการปวดอาจเป็นมากในเวลาเช้าหรือบ่าย เวลาก้มศีรษะหรือเปลี่ยนท่า ผู้ป่วยจะมีอาการคัดจมูก พูดเสียงขึ้นจมูก มีน้ำมูกข้นเหลืองหรือเขียว เจ็บคอ มีเสลดเหลืองหรือเขียวในลำคอ และอาจหายใจมีกลิ่นเหม็น ในรายที่เป็นไซนัสอักเสบเฉียบพลัน มักมีไข้ร่วมด้วย</span></span></span></p>\n<p><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: JasmineUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333300\">สิ่งตรวจพบ</span></span></b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333300\">เยื่อจมูกบวมแดง คอแดงเล็กน้อย ที่สำคัญจะพบว่า ถ้าเคาะหรือกดแรง ๆ ตรงบริเวณหัวตา หน้าผาก หรือใต้ตาจะรู้สึกเจ็บ อาจมีไข้</span></span><span style=\"color: #333300\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> (<span lang=\"TH\">ในรายที่เป็นเฉียบพลัน)</span></span></span></p>\n<p><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: JasmineUPC\" lang=\"TH\">อาการแทรกซ้อน</span></b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333300\">อาจทำให้เป็นหูชั้นกลางอักเสบ</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #333300\"> , <span lang=\"TH\">หลอดลมอักเสบ </span>, <span lang=\"TH\">ปอดอักเสบ </span>, <span lang=\"TH\">ฝีรอบกระบอกตา (</span>Periorbital abscess), <span lang=\"TH\">เยื่อกระดูกอักเสบ (</span>Osteomyelitis)<span lang=\"TH\">ภ าวะแทรกซ้อน ที่ร้ายแรงแต่พบได้น้อย ได้แก่ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ </span>, <span lang=\"TH\">ฝีในสมอง</span></span></span></p>\n<p>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #333300\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: JasmineUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333300\">การรักษา</span></span></b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n</span><span style=\"color: #333300\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">1. <span lang=\"TH\">ให้ยารักษาตามอาการ เช่น ยาแก้ปวดลดไข้ </span>, <span lang=\"TH\">ยาแก้คัดจมูก อาจช่วยลดการบวมของเนื้อเยื่อที่อักเสบ ซึ่งจะช่วยถ่ายเทหนอง ส่วนยาแก้แพ้</span>  <span lang=\"TH\">ไม่ควรให้ อาจทำให้น้ำเมือกในโพรงไซนัสเหนียว ถ่ายเทออกได้ไม่ดี ยกเว้นในรายที่มีอาการของภูมิแพ้มาก เช่น จาม มีน้ำมูกมาก อาจให้เพียง </span>2-3 <span lang=\"TH\">วัน เพื่อบรรเทาอาการ</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น อะม็อกซีซิลลิน</span> , <span lang=\"TH\">อีริโทรไมซิน </span>  <span lang=\"TH\">หรือ โคไตรม็อกซาโซล </span>  <span lang=\"TH\">ปกติอาการจะทุเลาหลังกินยา </span>2-3 <span lang=\"TH\">วัน ควรให้กินติดต่อกันนาน </span>10-14 <span lang=\"TH\">วันในรายที่เป็นเรื้อรัง ขณะที่มีอาการกำเริบ ควรให้ยาปฏิชีวนะนาน </span>3-4 <span lang=\"TH\">สัปดาห์ถ้าอาการไม่ดีขึ้น หรือกำเริบบ่อย ควรส่ง</span></span><b><span style=\"font-size: 17pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โรงพยาบาลทุ่งสงรวมแพทย์</span></b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เพื่อตรวจเอกซเรย์ไซนัส ถ้ามีหนองขังอยู่อาจต้องทำการเจาะล้างโพรงจมูก ในรายที่เป็นมาก อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัด</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></p>\n<p><b><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 20pt; font-family: JasmineUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #333300\">ข้อแนะนำ</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n<span style=\"color: #333300\">1. <span lang=\"TH\">ขณะที่มีอาการกำเริบ ควรงดว่ายน้ำ ดำน้ำ ขึ้นเครื่องบิน ประมาณ </span>2 <span lang=\"TH\">สัปดาห์</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">โรคนี้มักเป็นเรื้อรัง แต่มีทางรักษาให้หายขาดได้ ถ้าได้รับการรักษาที่ถูกต้องติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือแก้ไขสาเหตุ เช่น ผนังกั้นจมูกคด</span><br />\n3. <span lang=\"TH\">ไม่ควรรักษากันเองตามแบบพื้นบ้าน เช่น ใช้สารกรดบางอย่าง หยอดเข้าจมูก(ทำให้มีน้ำมูกไหลออกมามาก เพราะเกิดการระคายเคืองต่อเยื่อจมูก) อาจทำให้เกิดการอักเสบ และจมูกพิการได้</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">ระวังอย่าให้เป็นหวัดบ่อย ๆ หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้คัดจมูกหรือจาม (เช่น ฝุ่น อากาศเย็น ขนสัตว์)และหมั่นออกกำลังกายเป็นประจำ</span><o:p></o:p></span></span><v:shape wrapcoords=\"-63 0 -63 21433 21600 21433 21600 0 -63 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 6.3pt; z-index: -5; left: 0px; margin-left: 3.6pt; width: 3in; position: absolute; height: 66.45pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1027\"><span style=\"color: #333300\"><v:imagedata o:href=\"http://www.ku.ac.th/e-magazine/april44/know/zynus2.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\Romeo\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image004.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b><v:shape wrapcoords=\"-63 0 -63 21435 21600 21435 21600 0 -63 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 33.15pt; z-index: -4; left: 0px; margin-left: -225pt; width: 3in; position: absolute; height: 66.45pt; text-align: left\" id=\"_x0000_s1028\"><span style=\"color: #333300\"><v:imagedata o:href=\"http://www.ku.ac.th/e-magazine/april44/know/zynus3.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\Romeo\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image006.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #333300\"></span></o:p></span></b><v:shape wrapcoords=\"-74 0 -74 21405 21600 21405 21600 0 -74 0\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"margin-top: 23.85pt; z-index: -3; left: 0px; margin-left: -225pt; width: 3in; position: absolute; height: 1in; text-align: left\" id=\"_x0000_s1029\"><span style=\"color: #333300\"><v:imagedata o:href=\"http://www.ku.ac.th/e-magazine/april44/know/zynus4.jpg\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\Romeo\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image008.jpg\"></v:imagedata><w:wrap type=\"tight\"></w:wrap></span></v:shape><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #333300\">  </span></o:p></span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #333300\"></span></o:p></span></b></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-surprised.gif\" alt=\"Surprised\" title=\"Surprised\" />\n</div>\n<p><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" title=\"Laughing\" /><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-surprised.gif\" alt=\"Surprised\" title=\"Surprised\" /><br />\nสร้างโดย: น.ส.กัญญกาน สว่าง ชั้นม.6/1เลขที่22 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์<br />\nแหล่งอ้างอิง: <a href=\"http://www.ruamphat-ts.com\" title=\"www.ruamphat-ts.com\">www.ruamphat-ts.com</a></p>\n', created = 1727512212, expire = 1727598612, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:27d97fdc4293ba8a77d105c28540e195' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไซนัสอักเสบ

ไซนัสอักเสบ

ไซนัส

Sinusitis

 ลักษณะทั่วไป
ไซนัส (sinus)  หมายถึง โพรงอากาศเล็ก ๆ ในกะโหลกซึ่งอยู่รอบ ๆ จมูกและมีทางเชื่อมต่อกับโพรงจมูก ดังนั้น จึงอาจมีเชื้อโรคลุกลามจากโพรงจมูกเข้าไปในโพรงไซนัสได้ ตามปกติทางเชื่อมดังกล่าวจะเปิดโล่งให้มีการระบายของน้ำเมือกที่สร้างขึ้นในโพรงไซนัสได้สะดวกจึงไม่เกิดการอักเสบ แต่ถ้าหากทางเชื่อมดังกล่าวเกิดการอุดตันขึ้นมา (เช่น เป็นหวัด ผนังกั้นจมูกคด มีเนื้องอกในรูจมูก ได้รับบาดเจ็บ นั่งเครื่องบิน หรือดำน้ำ) น้ำเมือกในโพรงไซนัสไม่สามารถระบายได้ ก็จะทำให้เชื้อโรคที่อยู่ในโพรงไซนัส สามารถเจริญงอกงามทำให้เกิดการอักเสบ และเป็นหนองขังภายในโพรงไซนัสได้

สาเหตุ
เชื้อที่เป็นสาเหตุ ที่พบบ่อย ได้แก่ บีตาสเตรปโตค็อกคัส, สแตฟฟีโลค็อกคัส, นิวโมค็อกคัส, ฮีโมฟิลุส,อินฟลูเอนซา นอกจากนี้ยังอาจเกิดจากการลุกลามของเชื้อโรค จากบริเวณรากฟันที่เป็นหนองเข้าไปในโพรงไซนัสโดยตรงก็ได้ ไซนัสอักเสบเป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย มักพบเป็นโรคแทรกซ้อนของไข้หวัด, หวัดจากการแพ้, เยื่อจมูกอักเสบ, เนื้องอกในรูจมูก, ผนังกั้นจมูกคด, รากฟันเป็นหนอง

อาการ
ปวดมึน ๆ หนัก ๆ ตรง บริเวณหัวตา หน้าผากโหนกแก้มหรือรอบ ๆ กระบอกตา บางคนอาจรู้สึกคล้ายปวดฟัน บริเวณขากรรไกรบน อาการปวดอาจเป็นมากในเวลาเช้าหรือบ่าย เวลาก้มศีรษะหรือเปลี่ยนท่า ผู้ป่วยจะมีอาการคัดจมูก พูดเสียงขึ้นจมูก มีน้ำมูกข้นเหลืองหรือเขียว เจ็บคอ มีเสลดเหลืองหรือเขียวในลำคอ และอาจหายใจมีกลิ่นเหม็น ในรายที่เป็นไซนัสอักเสบเฉียบพลัน มักมีไข้ร่วมด้วย

สิ่งตรวจพบ
เยื่อจมูกบวมแดง คอแดงเล็กน้อย ที่สำคัญจะพบว่า ถ้าเคาะหรือกดแรง ๆ ตรงบริเวณหัวตา หน้าผาก หรือใต้ตาจะรู้สึกเจ็บ อาจมีไข้ (ในรายที่เป็นเฉียบพลัน)

อาการแทรกซ้อน
อาจทำให้เป็นหูชั้นกลางอักเสบ , หลอดลมอักเสบ , ปอดอักเสบ , ฝีรอบกระบอกตา (Periorbital abscess), เยื่อกระดูกอักเสบ (Osteomyelitis)ภ าวะแทรกซ้อน ที่ร้ายแรงแต่พบได้น้อย ได้แก่ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ , ฝีในสมอง

 การรักษา
1. ให้ยารักษาตามอาการ เช่น ยาแก้ปวดลดไข้ , ยาแก้คัดจมูก อาจช่วยลดการบวมของเนื้อเยื่อที่อักเสบ ซึ่งจะช่วยถ่ายเทหนอง ส่วนยาแก้แพ้  ไม่ควรให้ อาจทำให้น้ำเมือกในโพรงไซนัสเหนียว ถ่ายเทออกได้ไม่ดี ยกเว้นในรายที่มีอาการของภูมิแพ้มาก เช่น จาม มีน้ำมูกมาก อาจให้เพียง 2-3 วัน เพื่อบรรเทาอาการ
2. ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น อะม็อกซีซิลลิน , อีริโทรไมซิน   หรือ โคไตรม็อกซาโซล   ปกติอาการจะทุเลาหลังกินยา 2-3 วัน ควรให้กินติดต่อกันนาน 10-14 วันในรายที่เป็นเรื้อรัง ขณะที่มีอาการกำเริบ ควรให้ยาปฏิชีวนะนาน 3-4 สัปดาห์ถ้าอาการไม่ดีขึ้น หรือกำเริบบ่อย ควรส่ง
โรงพยาบาลทุ่งสงรวมแพทย์ เพื่อตรวจเอกซเรย์ไซนัส ถ้ามีหนองขังอยู่อาจต้องทำการเจาะล้างโพรงจมูก ในรายที่เป็นมาก อาจต้องรักษาด้วยการผ่าตัด

ข้อแนะนำ
1. ขณะที่มีอาการกำเริบ ควรงดว่ายน้ำ ดำน้ำ ขึ้นเครื่องบิน ประมาณ 2 สัปดาห์
2. โรคนี้มักเป็นเรื้อรัง แต่มีทางรักษาให้หายขาดได้ ถ้าได้รับการรักษาที่ถูกต้องติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือแก้ไขสาเหตุ เช่น ผนังกั้นจมูกคด
3. ไม่ควรรักษากันเองตามแบบพื้นบ้าน เช่น ใช้สารกรดบางอย่าง หยอดเข้าจมูก(ทำให้มีน้ำมูกไหลออกมามาก เพราะเกิดการระคายเคืองต่อเยื่อจมูก) อาจทำให้เกิดการอักเสบ และจมูกพิการได้
4. ระวังอย่าให้เป็นหวัดบ่อย ๆ หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้คัดจมูกหรือจาม (เช่น ฝุ่น อากาศเย็น ขนสัตว์)และหมั่นออกกำลังกายเป็นประจำ
 

Surprised

LaughingSurprised
สร้างโดย: น.ส.กัญญกาน สว่าง ชั้นม.6/1เลขที่22 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
แหล่งอ้างอิง: www.ruamphat-ts.com

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 234 คน กำลังออนไลน์