• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4299f3c3ac7c2ba8e08d6d39c7f3dfab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"304\" src=\"http://www.bloggang.com/data/banrakthai/picture/1221838581.gif\" height=\"276\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #663300\"><span style=\"color: #008000\"><u><strong><span style=\"color: #008000\"> ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย</span></strong><br />\n</u></span><br />\nนาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะแห่งการฟ้อนรำ ที่มีสมมติฐานมาจากธรรมชาติ แต่ได้รับการตกแต่งและปรับปรุงให้งดงามยิ่งขึ้น จนก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจแก่ผู้ดูผู้ชม โดยแท้จริงแล้วการฟ้อนรำก็คือ ศิลปะของการเคลื่อนไหวอวัยวะต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น แขน ขา เอว ไหล่ หน้าตา ฯลฯ ด้วยเหตุนี้ธรรมชาติที่เป็นพื้นฐานเบื้องต้นของการฟ้อนรำจึงมาจากอิริยาบทต่าง ๆ ของมนุษย์ ได้แก่ ยืน เดิน นั่ง นอน ฯลฯ ตามปกติการเดินของคนเราจะก้าวเท้าพร้อมทั้งแกว่งแขนสลับกันไปเช่นเมื่อก้าวเท้าซ้ายก็จะแกว่งแขนขวาออก และเมื่อก้าวเท้าขวาก็จะแกว่งแขนซ้ายออกสลับกันเพื่อเป็นหลักในการทรงตัว ครั้นเมื่อนำมาตกแต่งเป็นท่ารำขึ้น ก็กลายเป็นท่าเดินที่มีลีลาการก้าวเท้าและแกว่งแขน ให้ได้สัดส่วนงดงามถูกต้องตามแบบแผนที่กำหนด ตลอดจนท่วงทำนองและจังหวะเพลง</span><span style=\"color: #663300\"> </span><span style=\"color: #663300\"></span><span style=\"color: #663300\"></span></p>\n<p>\nนาฏศิลป์ไทย เกิดมาจากอากัปกิริยาของสามัญชนเป็นพื้นฐาน ซึ่งโดยทั่วไปมนุษย์ทุกคนย่อมมีอารมณ์ต่าง ๆ ได้แก่ รัก โกรธ โศกเศร้า เสียใจ ดีใจ ร้องไห้ ฯลฯ แต่ที่น่าสังเกตก็คือ เมื่อมนุษย์มีอารมณ์อย่างหนึ่งอย่างใดเกิดขึ้น นอกจากจะมีความรู้สึกเกิดขึ้นในจิตใจแล้วยังแสดงปฏิกิริยาตอบโต้ออกมาทางกายในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น<br />\nรัก - หน้าตากิริยาที่แสดงออก อ่อนโยน รู้จักเล้าโลม เจ้าชู้<br />\nโกรธ - หน้าตาบึ้งตึง กระทืบเท้า ชี้หน้าด่าว่าต่าง ๆ<br />\nโศกเศร้า,เสียใจ - หน้าตากิริยาละห้อยละเหี่ย ตัดพ้อต่อว่า ร้องไห้\n</p>\n<p>\nสรุปได้ว่า นาฏศิลป์ไทย เกิดมาจากกิริยาท่าทางซึ่งแสดงออกในทางอารมณ์ของมนุษย์ปุถุชน อากัปกิริยาต่าง ๆ เหล่านี้เป็นมูลเหตุให้ปรมาจารย์ทางศิลปะนำมาปรับปรุงบัญญัติสัดส่วนและกำหนดวิธีการขึ้น จนกลายเป็นท่าฟ้อนรำ โดยวางแบบแผนลีลาท่ารำของมือ เท้า ให้งดงาม รู้จักวิธีเยื้อง ยัก และกล่อมตัว ให้สอดคล้องสัมพันธ์กันจนเกิดเป็นท่ารำขึ้น และมีวิวัฒนาการปรับปรุงมาตามลำดับ จนดูประณีตงดงาม อ่อนช้อยวิจิตรพิสดาร จนถึงขั้นเป็นศิลปะได้\n</p>\n<p>\nนอกจากนี้ นาฏศิลป์ไทย ยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย เช่น วัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่เป็นเรื่องของเทพเจ้า และตำนานการฟ้อนรำ โดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม คือ ผ่านชนชาติชวาและเขมร ก่อนที่จะนำมาปรับปรุงให้เป็นรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย เช่น ตัวอย่างของเทวรูปศิวะปางนาฏราช ที่สร้างเป็นท่าการร่ายรำของ พระอิศวร ซึ่งมีทั้งหมด 108 ท่า หรือ 108 กรณะ โดยทรงฟ้อนรำครั้งแรกในโลก ณ ตำบลจิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดียใต้\n</p>\n<p>\nปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดู นับเป็นคัมภีร์สำหรับการฟ้อนรำ แต่งโดยพระภรตมุนี เรียกว่า คัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์ ถือเป็นอิทธิพลสำคัญต่อแบบแผนการสืบสาน และการถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่มีรูปแบบ แบบแผนการเรียน การฝึกหัด จารีต ขนบธรรมเนียม มาจนถึงปัจจุบัน\n</p>\n<p>\nอย่างไรก็ตาม บรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยได้สันนิษฐานว่า อารยธรรมทางศิลปะด้านนาฎศิลป์ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตามประวัติการสร้างเทวาลัยศิวะนาฎราชที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1800 ซึ่งเป็นระยะที่ไทยเริ่มก่อตั้งกรุงสุโขทัย ดังนั้นท่ารำไทยที่ดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็นความคิดของนักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และมีการแก้ไข ปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จนนำมาสู่การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนำมาสู่การประดิษฐ์ท่าทางการร่ายรำและละครไทยมาจนถึงปัจจุบัน\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715731186, expire = 1715817586, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4299f3c3ac7c2ba8e08d6d39c7f3dfab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติความเป็นมานาฎศิลป์ไทย

 ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย

นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะแห่งการฟ้อนรำ ที่มีสมมติฐานมาจากธรรมชาติ แต่ได้รับการตกแต่งและปรับปรุงให้งดงามยิ่งขึ้น จนก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจแก่ผู้ดูผู้ชม โดยแท้จริงแล้วการฟ้อนรำก็คือ ศิลปะของการเคลื่อนไหวอวัยวะต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น แขน ขา เอว ไหล่ หน้าตา ฯลฯ ด้วยเหตุนี้ธรรมชาติที่เป็นพื้นฐานเบื้องต้นของการฟ้อนรำจึงมาจากอิริยาบทต่าง ๆ ของมนุษย์ ได้แก่ ยืน เดิน นั่ง นอน ฯลฯ ตามปกติการเดินของคนเราจะก้าวเท้าพร้อมทั้งแกว่งแขนสลับกันไปเช่นเมื่อก้าวเท้าซ้ายก็จะแกว่งแขนขวาออก และเมื่อก้าวเท้าขวาก็จะแกว่งแขนซ้ายออกสลับกันเพื่อเป็นหลักในการทรงตัว ครั้นเมื่อนำมาตกแต่งเป็นท่ารำขึ้น ก็กลายเป็นท่าเดินที่มีลีลาการก้าวเท้าและแกว่งแขน ให้ได้สัดส่วนงดงามถูกต้องตามแบบแผนที่กำหนด ตลอดจนท่วงทำนองและจังหวะเพลง

นาฏศิลป์ไทย เกิดมาจากอากัปกิริยาของสามัญชนเป็นพื้นฐาน ซึ่งโดยทั่วไปมนุษย์ทุกคนย่อมมีอารมณ์ต่าง ๆ ได้แก่ รัก โกรธ โศกเศร้า เสียใจ ดีใจ ร้องไห้ ฯลฯ แต่ที่น่าสังเกตก็คือ เมื่อมนุษย์มีอารมณ์อย่างหนึ่งอย่างใดเกิดขึ้น นอกจากจะมีความรู้สึกเกิดขึ้นในจิตใจแล้วยังแสดงปฏิกิริยาตอบโต้ออกมาทางกายในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น
รัก - หน้าตากิริยาที่แสดงออก อ่อนโยน รู้จักเล้าโลม เจ้าชู้
โกรธ - หน้าตาบึ้งตึง กระทืบเท้า ชี้หน้าด่าว่าต่าง ๆ
โศกเศร้า,เสียใจ - หน้าตากิริยาละห้อยละเหี่ย ตัดพ้อต่อว่า ร้องไห้

สรุปได้ว่า นาฏศิลป์ไทย เกิดมาจากกิริยาท่าทางซึ่งแสดงออกในทางอารมณ์ของมนุษย์ปุถุชน อากัปกิริยาต่าง ๆ เหล่านี้เป็นมูลเหตุให้ปรมาจารย์ทางศิลปะนำมาปรับปรุงบัญญัติสัดส่วนและกำหนดวิธีการขึ้น จนกลายเป็นท่าฟ้อนรำ โดยวางแบบแผนลีลาท่ารำของมือ เท้า ให้งดงาม รู้จักวิธีเยื้อง ยัก และกล่อมตัว ให้สอดคล้องสัมพันธ์กันจนเกิดเป็นท่ารำขึ้น และมีวิวัฒนาการปรับปรุงมาตามลำดับ จนดูประณีตงดงาม อ่อนช้อยวิจิตรพิสดาร จนถึงขั้นเป็นศิลปะได้

นอกจากนี้ นาฏศิลป์ไทย ยังได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย เช่น วัฒนธรรมอินเดียเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่เป็นเรื่องของเทพเจ้า และตำนานการฟ้อนรำ โดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม คือ ผ่านชนชาติชวาและเขมร ก่อนที่จะนำมาปรับปรุงให้เป็นรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย เช่น ตัวอย่างของเทวรูปศิวะปางนาฏราช ที่สร้างเป็นท่าการร่ายรำของ พระอิศวร ซึ่งมีทั้งหมด 108 ท่า หรือ 108 กรณะ โดยทรงฟ้อนรำครั้งแรกในโลก ณ ตำบลจิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดียใต้

ปัจจุบันอยู่ในรัฐทมิฬนาดู นับเป็นคัมภีร์สำหรับการฟ้อนรำ แต่งโดยพระภรตมุนี เรียกว่า คัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์ ถือเป็นอิทธิพลสำคัญต่อแบบแผนการสืบสาน และการถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็นเอกลักษณ์ของตนเองที่มีรูปแบบ แบบแผนการเรียน การฝึกหัด จารีต ขนบธรรมเนียม มาจนถึงปัจจุบัน

อย่างไรก็ตาม บรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยได้สันนิษฐานว่า อารยธรรมทางศิลปะด้านนาฎศิลป์ของอินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตามประวัติการสร้างเทวาลัยศิวะนาฎราชที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1800 ซึ่งเป็นระยะที่ไทยเริ่มก่อตั้งกรุงสุโขทัย ดังนั้นท่ารำไทยที่ดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็นความคิดของนักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และมีการแก้ไข ปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จนนำมาสู่การประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์จนนำมาสู่การประดิษฐ์ท่าทางการร่ายรำและละครไทยมาจนถึงปัจจุบัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 304 คน กำลังออนไลน์