• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:92e980cd3002f4b92d4e56da07be5f26' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ประวัติศาสตร์สากลในความหมายโดยทั่วไป หมายถึง ประวัติศาสตร์ของผู้คนและชาติต่าง ๆ ในโลกตะวันตก (Western World) ซึง่ ได้แก่ ผู้คนและชาติในทวีปยุโรป และอเมริการ ประวัติศาสตร์สากลมีช่วงเวลาที่ยาวนาน นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งเป็นช่วงเวลาที่มีลักษณะร่วมกันเรียกป็นสมัย คือสมัยโบรณ สมัยกลางมัยใหม่ สมัยปัจจุบัน หรือร่วมสมัย </p>\n<p>\n            นักประวัติศาสตร์สากล ได้พัฒนาวิธีการมาเป็นเวลาประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว เพื่อให้การศึกษาประวัติศาสตร์มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ ทำให้เรารู้และเข้าใจ เรื่องราวทั้งหลายของผู้คนในอดีตได้\n</p>\n<p>\n     <span style=\"color: #0000ff\">การนับและการเทียบศักราชสากลและไทย</span>\n</p>\n<p>\n          1. การนับศักราชสากลที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบันคือ คริสต์ศักราช ซึ่งเป็นศักราชของคริสต์ศาสนา เริ่มนับเมื่อพระเยซู(ประสูติ)ซึ่งเป็นศาสนาของคริสต์ศาสนานับเป็นศักราช 1 (ค.ศ.) หรือ A.D.1 ย่อมาจากคำว่า &quot; Anno Domini &quot;\n</p>\n<p>\n          2. การนับศักราชไทย ที่ใช้กันปัจุบัน คือพุทธศักราช ซึ่งเป็นศักราชของพระพุทธศาสนาคือ พ.ศ. 1 หลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว 1 ปี คือ ปีแรกนับเป็น พ.ศ. 0 เมื่อครบ 1 ปี จึงเริ่มนับ พ.ศ.1\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #0000ff\"> นอกจากนับศักราชเป็นแบบ พ.ศ. แล้ว ในเมืองไทยยังมีการนับศักราชแบบอื่นๆ ด้วย คือ รัตนโกสินทร์ศก(ร.ศ.) จุลศักราช </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">(จ.ศ.) มหาศักราช (ม.ศ.) มีเกณฑ์การเทียบดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ร.ศ.+2324=พ.ศ.            พ.ศ.-2324=ร.ศ.   </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">จ.ศ.+1181=พ.ศ.            พ.ศ.-1181=จ.ศ.</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ม.ศ.+621=พ.ศ.              พ.ศ.-621=ม.ศ.</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">        หลักเกณฑ์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์</span>\n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #0000ff\">1.การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์</span>\n</p>\n<p>\n                 แบ่งตามความเจริญทางอารยธรรมของมนุษย์\n</p>\n<p>\n                 แบ่งตามการเริ่มต้นของเหตุการณ์สำคัญ\n</p>\n<p>\n                 แบ่งตามชื่อจักรวรรดิ หรืออาณาจักที่สำคัญที่เคยรุ่งเรือง\n</p>\n<p>\n                 แบ่งตามราชวงศ์ที่ปกครองประเทศ\n</p>\n<p>\n                 แบ่งตามการตั้งเมืองหลวง\n</p>\n<p>\n      <span style=\"color: #0000ff\">2. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ส่วนใหญ่ยึดถือหลักเกณฑ์ของประวัติศาสตร์สากล แบ่งเป็น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ไทย และสมัยประวัติศาสตร์ไทย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">      สมัยประวัติศาสตร์ไทยแบ่งตาม</span>\n</p>\n<p>\n               สมัยโบราณหรือสมัยสุโขทัย ตั้ง พ.ศ. 1180 ถึง พ.ศ. 1792\n</p>\n<p>\n               สมัยสุโขทัย ตั้งแต่ พ.ศ. 1792 ถึง 2006\n</p>\n<p>\n               สมัยอยุธยา ตั้งแต่ พ.ศ. 1893 ถึง 2310\n</p>\n<p>\n               สมัยธนบุรี ตั้งแต่ พ.ศ. 2310 ถึง 2325\n</p>\n<p>\n               สมัยรันตโกสิทร์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2325 ถึง ปัจจุบัน\n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #0000ff\"> ตัวอย่างเหตุการณ์สำคัญที่แสดงที่สัมพันธ์และความต่อเนื่องของการเวลา</span>\n</p>\n<p>\n  <span style=\"color: #ff00ff\">1. ประวัติศาสตร์สากล</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">             เหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์สากลที่นำมาเป็นตัวอย่างคือ ยุคจักรวรรดินิยม เกิดขึ้นมาจากปัจจัยหลายประการ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และพลังทางสังคม ซึ่งทำให้ประเทศในทวีปยุโรปมีอำนาจเข้มแข็งมีความก้าวหน้า ทางเศรษฐกิจ มีความเจริญรุ่งเรืองแต่การมีอำนาจและความมั่นคงดังกล่าวเกิดขึ้นมาเพราะการปฏิวัติอุสาหกรรม ยุคจักรวรรดินิยม สิ้นสุดเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งทำให้มหาอำนาจทั้งหลายหยุดการล่าอาณานิคม แต่อาณานิคมทั้งหลายที่เป็นอยู่ก็ยังคงเป็นอาณานิคมต่อมาอีหลายปี หลายชาติ เริ่มเรียกร้องเอกราช และส่วนใหญ่ ได้เอกราชคืนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2</span>\n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #008000\"> 2. ประวัติศาสตร์ไทย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">             เหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทย ที่นำมาเป็นตัวอย่างคือ ยุคการปรับปรุงประเทศอยู่ในช่วง พ.ศ. 2394-2475 หรือรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ระหว่างนี้มีการปรับปรุงและปฏิรูปประเทศทุกด้านทั้งการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ฯลฯ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\">   <span style=\"color: #000000\">สร้างโดย  น.ส. จินตหรา  แก่นท้าว  ม.4/3 เลขที่ 33</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #000000\">   แหล่งอ้างอิง  <a href=\"http://learners.in.th/file/chanok/การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์.doc\">http://learners.in.th/file/chanok/การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์.doc</a></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1728250307, expire = 1728336707, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:92e980cd3002f4b92d4e56da07be5f26' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์สากลในความหมายโดยทั่วไป หมายถึง ประวัติศาสตร์ของผู้คนและชาติต่าง ๆ ในโลกตะวันตก (Western World) ซึง่ ได้แก่ ผู้คนและชาติในทวีปยุโรป และอเมริการ ประวัติศาสตร์สากลมีช่วงเวลาที่ยาวนาน นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งเป็นช่วงเวลาที่มีลักษณะร่วมกันเรียกป็นสมัย คือสมัยโบรณ สมัยกลางมัยใหม่ สมัยปัจจุบัน หรือร่วมสมัย

            นักประวัติศาสตร์สากล ได้พัฒนาวิธีการมาเป็นเวลาประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว เพื่อให้การศึกษาประวัติศาสตร์มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ ทำให้เรารู้และเข้าใจ เรื่องราวทั้งหลายของผู้คนในอดีตได้

     การนับและการเทียบศักราชสากลและไทย

          1. การนับศักราชสากลที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบันคือ คริสต์ศักราช ซึ่งเป็นศักราชของคริสต์ศาสนา เริ่มนับเมื่อพระเยซู(ประสูติ)ซึ่งเป็นศาสนาของคริสต์ศาสนานับเป็นศักราช 1 (ค.ศ.) หรือ A.D.1 ย่อมาจากคำว่า " Anno Domini "

          2. การนับศักราชไทย ที่ใช้กันปัจุบัน คือพุทธศักราช ซึ่งเป็นศักราชของพระพุทธศาสนาคือ พ.ศ. 1 หลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว 1 ปี คือ ปีแรกนับเป็น พ.ศ. 0 เมื่อครบ 1 ปี จึงเริ่มนับ พ.ศ.1

           นอกจากนับศักราชเป็นแบบ พ.ศ. แล้ว ในเมืองไทยยังมีการนับศักราชแบบอื่นๆ ด้วย คือ รัตนโกสินทร์ศก(ร.ศ.) จุลศักราช

(จ.ศ.) มหาศักราช (ม.ศ.) มีเกณฑ์การเทียบดังนี้

ร.ศ.+2324=พ.ศ.            พ.ศ.-2324=ร.ศ.  

จ.ศ.+1181=พ.ศ.            พ.ศ.-1181=จ.ศ.

ม.ศ.+621=พ.ศ.              พ.ศ.-621=ม.ศ.

        หลักเกณฑ์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

       1.การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

                 แบ่งตามความเจริญทางอารยธรรมของมนุษย์

                 แบ่งตามการเริ่มต้นของเหตุการณ์สำคัญ

                 แบ่งตามชื่อจักรวรรดิ หรืออาณาจักที่สำคัญที่เคยรุ่งเรือง

                 แบ่งตามราชวงศ์ที่ปกครองประเทศ

                 แบ่งตามการตั้งเมืองหลวง

      2. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

ส่วนใหญ่ยึดถือหลักเกณฑ์ของประวัติศาสตร์สากล แบ่งเป็น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ไทย และสมัยประวัติศาสตร์ไทย

      สมัยประวัติศาสตร์ไทยแบ่งตาม

               สมัยโบราณหรือสมัยสุโขทัย ตั้ง พ.ศ. 1180 ถึง พ.ศ. 1792

               สมัยสุโขทัย ตั้งแต่ พ.ศ. 1792 ถึง 2006

               สมัยอยุธยา ตั้งแต่ พ.ศ. 1893 ถึง 2310

               สมัยธนบุรี ตั้งแต่ พ.ศ. 2310 ถึง 2325

               สมัยรันตโกสิทร์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2325 ถึง ปัจจุบัน

  ตัวอย่างเหตุการณ์สำคัญที่แสดงที่สัมพันธ์และความต่อเนื่องของการเวลา

  1. ประวัติศาสตร์สากล

             เหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์สากลที่นำมาเป็นตัวอย่างคือ ยุคจักรวรรดินิยม เกิดขึ้นมาจากปัจจัยหลายประการ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และพลังทางสังคม ซึ่งทำให้ประเทศในทวีปยุโรปมีอำนาจเข้มแข็งมีความก้าวหน้า ทางเศรษฐกิจ มีความเจริญรุ่งเรืองแต่การมีอำนาจและความมั่นคงดังกล่าวเกิดขึ้นมาเพราะการปฏิวัติอุสาหกรรม ยุคจักรวรรดินิยม สิ้นสุดเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งทำให้มหาอำนาจทั้งหลายหยุดการล่าอาณานิคม แต่อาณานิคมทั้งหลายที่เป็นอยู่ก็ยังคงเป็นอาณานิคมต่อมาอีหลายปี หลายชาติ เริ่มเรียกร้องเอกราช และส่วนใหญ่ ได้เอกราชคืนภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

  2. ประวัติศาสตร์ไทย

             เหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทย ที่นำมาเป็นตัวอย่างคือ ยุคการปรับปรุงประเทศอยู่ในช่วง พ.ศ. 2394-2475 หรือรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ระหว่างนี้มีการปรับปรุงและปฏิรูปประเทศทุกด้านทั้งการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม ฯลฯ

   สร้างโดย  น.ส. จินตหรา  แก่นท้าว  ม.4/3 เลขที่ 33

   แหล่งอ้างอิง  http://learners.in.th/file/chanok/การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์.doc

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 391 คน กำลังออนไลน์