• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1f2062ee4ef273797c3261dd7196a9f3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<script type=\"text/javascript\">// <![CDATA[\ngoogle_ad_client = \"ca-pub-4345580538062578\";\n/* 300x250, ถูกสร้างขึ้นแล้ว 5/9/09 */\ngoogle_ad_slot = \"1424642690\";\ngoogle_ad_width = 300;\ngoogle_ad_height = 250;\n// ]]></![cdata[></script><script type=\"text/javascript\" src=\"http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js\">// <![CDATA[\n\n// ]]></![cdata[></script></p>\n<p><strong><span style=\"background-color: #ffff00;\">การเขียนรายงานโครงงาน</span><br /> </strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เป็นการนำเสนอผลของการศึกษาในรูปแบบของการเขียนรายงาน&nbsp; ซึ่งแสดงถึงขั้นตอนวิธีการทำโครงงาน&nbsp; ผลของการศึกษาและการอภิปรายสรุปผลการศึกษา&nbsp; โดยรูปแบบของการเขียนรายงานประกอบด้วย</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\"><strong>1.&nbsp;ปกหน้า</strong></span></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img style=\"width: 329px; height: 512px;\" src=\"/files/u11044/pokna.png\" alt=\"\" width=\"182\" height=\"300\" border=\"0\" /></p>\n<p><br /> <span style=\"color: #0000ff;\"><strong>2.&nbsp;ปกใน</strong></span></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img style=\"width: 327px; height: 457px;\" src=\"/files/u11044/poknai.png\" alt=\"\" width=\"216\" height=\"300\" border=\"0\" /></p>\n<p><strong><span style=\"color: #0000ff;\">3.&nbsp;บทคัดย่อ<br /> </span></strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อธิบายถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน&nbsp; วัตถุประสงค์&nbsp; วิธีดำเนินการ&nbsp; และผลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปต่าง ๆ อย่างย่อ&nbsp; เช่น&nbsp;</p>\n<p align=\"center\">&nbsp;<strong>บทคัดย่อ<br /> โครงงานวิทยาศาสตร์&nbsp; เรื่อง&nbsp; แผ่นปูนซีเมนต์จากชานอ้อย</strong></p>\n<p><strong>คณะผู้จัดทำ<br /> </strong>1.&nbsp;&nbsp; ด.ญ. ขนิษฐา&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;อุทธา&nbsp;&nbsp;เลขที่&nbsp; 23&nbsp;ชั้น ม. 3/1<br /> 2.&nbsp;&nbsp; ด.ญ. พรพระเทพ&nbsp;&nbsp; &nbsp;เลี่ยมชาญชัย&nbsp;&nbsp;เลขที่&nbsp; 24&nbsp;ชั้น ม. 3/1<br /> 3.&nbsp;&nbsp; ด.ญ. วิภาวรรณ&nbsp;เชื้อทอง&nbsp;&nbsp;เลขที่&nbsp; 25&nbsp;ชั้น ม. 3/1<br /> 4.&nbsp;&nbsp; ด.ญ. กิตติมา&nbsp;หว่างบุญ&nbsp;&nbsp;เลขที่&nbsp; 35&nbsp;ชั้น ม. 3/1<br /> <strong>สถานศึกษา</strong>&nbsp;โรงเรียนวัดราชาธิวาส&nbsp;&nbsp; สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1<br /> <strong>รายวิชา</strong>&nbsp;โครงงานวิทยาศาสตร์&nbsp; (ว 30203)&nbsp;&nbsp;&nbsp; ปีการศึกษา&nbsp; 2549</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; โครงงานวิทยาศาสตร์&nbsp; เรื่อง&nbsp; แผ่นปูนจากชานอ้อย&nbsp; จัดทำขึ้นเพื่อหาวัสดุทดแทนในการผลิตแผ่นปูนซีเมนต์&nbsp; เป็นการลดการใช้ทรัพยากรประเภท กรวด ทราย ซึ่งมีปริมาณลดน้อยลง&nbsp; อีกทั้งเป็นการนำวัสดุที่เหลือทิ้งกลับมาใช้ให้เป็นประโยชน์อีกครั้ง&nbsp; ในการทดลองครั้งนี้ได้นำชานอ้อย&nbsp;&nbsp;&nbsp; มาเป็นส่วนผสม&nbsp; โดยการตัดชานอ้อยแห้งออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ยาวประมาณครึ่งนิ้ว&nbsp; จากนั้นนำปูนซีเมนต์&nbsp; ชานอ้อย&nbsp; ทรายและน้ำ มาผสมในอัตราส่วนต่างๆ แล้วเทใส่บล็อก&nbsp; นำไปตากให้แห้ง&nbsp; ตรวจสอบคุณภาพของแผ่นปูนซีเมนต์ชานอ้อย&nbsp; พบว่าอัตราส่วนระหว่างปูนซีเมนต์&nbsp; ชานอ้อย&nbsp; ทรายและน้ำ ในอัตราส่วน&nbsp; 10 : 1&nbsp; :&nbsp; 5&nbsp; :&nbsp; 10&nbsp; เป็นอัตราส่วนที่ดีที่สุด&nbsp; ทนต่อแรงกระแทกขนาด 20 นิวตัน ในระดับความสูง 5 เมตรได้&nbsp; แผ่นปูนที่ได้มีลักษณะผิวค่อนข้างเรียบ&nbsp; ดังนั้นผลการทดลองไม่สนับสนุนสมมติฐานที่ว่า&nbsp; ถ้าอัตราส่วนของวัสดุที่ใช้ผสมมีผลต่อคุณภาพของแผ่นปูนซีเมนต์&nbsp; ดังนั้น อัตราส่วนที่ดีที่สุดคืออัตราส่วนที่มีส่วนผสมของวัสดุเท่าๆ กัน&nbsp; กล่าวคือ&nbsp; การทดลองที่ใช้ส่วนผสมในอัตราส่วนที่เท่าๆ กัน ปรากฏว่า&nbsp; เนื้อของแผ่นปูนไม่เรียบ&nbsp; สามารถใช้มือบิให้แตกออกจากกันได้&nbsp; ส่วนอัตราส่วนที่ดีที่สุดนั้นมีความแข็งแรงสามารถใช้ในการปูรองบนพื้นได้&nbsp; แต่ยังไม่แข็งแรงพอที่จะนำไปใช้ในการก่อสร้างผนังอาคาร&nbsp; และปัญหาที่เกิดขึ้น คือ ชานอ้อยจะดูดซับน้ำได้มาก&nbsp; ทำให้แผ่นปูนแห้งก่อนที่จะเกาะตัวกัน&nbsp; จึงต้องนำชานอ้อยแห้งแช่น้ำปูนซีเมนต์ก่อนที่จะทำการผสม&nbsp; ดังนั้นถ้าจะนำชานอ้อยไปใช้เป็นวัสดุทดแทน จึงต้องพัฒนาอัตราส่วนที่เหมาะสมต่อไป&nbsp; หรือหาวัสดุอื่นที่ไม่ดูดซับน้ำมาทดแทน</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\"><strong>4.&nbsp;กิตติกรรมประกาศ<br /> </strong></span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;เขียนบรรยายแสดงความขอบคุณผู้ที่ให้การสนับสนุน ให้คำปรึกษาและคำแนะนำต่าง ๆ ในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เช่น</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>กิตติกรรมประกาศ</strong><br /> ในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องแผ่นปูนซีเมนต์จากชานอ้อยในครั้งนี้&nbsp; คณะผู้จัดทำได้รับความอนุเคราะห์จากกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์&nbsp; ในการให้ยืมอุปกรณ์การทดลอง&nbsp; นักการภารโรงที่ช่วยต่อแบบพิมพ์ สำหรับหล่อแผ่นปูน&nbsp; และบุคคลที่ทำให้การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี&nbsp; สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำโครงงานได้&nbsp; อีกทั้งให้คำปรึกษาแนะนำในการทำโครงงานอย่างเป็นกันเอง คือ ครูจันทิมา&nbsp; สุขพัฒน์&nbsp; รวมทั้งผู้ปกครองของเพื่อนในกลุ่ม และคุณพ่อคุณแม่ของข้าพเจ้า&nbsp; ที่ให้การสนับสนุนในด้านของงบประมาณและการให้ข้อเสนอแนะต่างๆ&nbsp; คณะผู้จัดทำโครงงานจึงขอขอบพระคุณทุกท่านเป็นอย่างสูงมา&nbsp; ณ โอกาสนี้</p>\n<p><strong><span style=\"color: #0000ff;\">5.&nbsp;สารบัญ<br /> </span><span style=\"color: #0000ff;\">6.&nbsp;บทที่&nbsp; 1&nbsp; บทนำ</span></strong><br /> <span style=\"color: #0000ff;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span style=\"color: #000000;\">6.1&nbsp;ที่มาและความสำคัญของโครงงาน</span><br /> </span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อธิบายความสำคัญของโครงงาน&nbsp; เหตุผลที่เลือกทำโครงงานเรื่องนี้&nbsp; และหลักการหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงาน&nbsp; เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นเคยศึกษามาแกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แล้วถ้ามีได้ผลเป็นอย่างไร&nbsp; และเรื่องที่ทำนี้เป็นการขยายผลหรือปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทำไว้แล้วอย่างไรบ้าง<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.2&nbsp;จุดประสงค์ของโครงงาน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.3&nbsp;สมมติฐาน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.4&nbsp;ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 6.4.1&nbsp;นิยามเชิงปฏิบัติการ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;6.4.2&nbsp;ข้อจำกัดในการศึกษา / ทดลอง</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\"><strong>7.&nbsp;บทที่&nbsp; 2&nbsp;&nbsp; เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง<br /> </strong></span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เป็นการเขียนข้อสรุปที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงาน&nbsp; โดยการสรุปเป็นองค์ความรู้ของตนเอง&nbsp; หรือคัดลอกข้อความจากหนังสือ&nbsp; โดยถ้าเป็นการสรุปองค์ความรู้เป็นของตนเอง&nbsp; ต้องอ้างอิงเอกสารที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายเล่มรายงาน&nbsp; แต่ถ้าเป็นการคัดลอกข้อความนั้นมา โดยไม่เปลี่ยนแปลงเนื้อหา&nbsp; ให้อ้างอิงในการเขียนด้วย&nbsp; ซึ่งการอ้างอิงที่เป็นที่นิยมคือ การอ้างอิงแบบนาม – ปี&nbsp; และควรระบุเลขหน้าไว้ด้วย&nbsp; จากนั้นต้องอ้างอิงในเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายเล่มรายงานด้วยเช่นกัน<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\">ตัวอย่างการอ้างอิงแบบนาม – ปี เช่น</span></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พิมพันธ์&nbsp; เดชะคุปต์&nbsp; (2550 : 47)&nbsp; ได้ให้ความหมายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ไว้ว่า&nbsp; เป็นการศึกษาเพื่อค้นพบข้อความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ด้วยตัวของนักเรียนเอง และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีครูอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ให้คำปรึกษา</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\"><strong>8.&nbsp;บทที่&nbsp; 3&nbsp;&nbsp; วัสดุ – อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ<br /> </strong></span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;8.1&nbsp;วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; 8.2&nbsp;วิธีดำเนินการ / วิธีทดลอง&nbsp; <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อธิบายขั้นตอนการดำเนินการหรือขั้นตอนการทดลองโดยละเอียด</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\"><strong>9.&nbsp;บทที่&nbsp; 4&nbsp;&nbsp; ผลการสำรวจ / ศึกษา / ผลการทดลอง</strong></span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสำรวจรวบรวมข้อมูล&nbsp; หรือจากการทดลองต่าง ๆ ที่สังเกตรวบรวมได้&nbsp; รวมทั้งเสนอผลงานการวิเคราะห์ข้อมูลที่วิเคราะห์ได้ด้วย&nbsp;ซึ่งอาจนำเสนอในรูปแบบของตาราง&nbsp; แผนภาพ&nbsp; แผนภูมิต่างๆ ก็ได้</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\"><strong>10.&nbsp;บทที่&nbsp; 5&nbsp;&nbsp; อภิปรายผลและสรุปผลการสำรวจ<br /> </strong></span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>การอภิปรายผล</strong>&nbsp; เป็นการนำหลักการ ทฤษฎีที่ได้สืบค้นมาในบทที่ 2&nbsp; มาอธิบายสนับสนุนผลของการทดลองที่เกิดขึ้นว่าทำไมถึงเป็นอย่างนั้น&nbsp; ทำไมไม่เป็นอย่างนี้&nbsp; โดยการอภิปรายผลจากการวิเคราะห์&nbsp; มีความสมเหตุสมผล น่าเชื่อถือ&nbsp; แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องกับแนวคิด&nbsp; ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง&nbsp; อภิปรายถึงจุดอ่อนของการทำโครงงาน&nbsp; องค์ประกอบที่ไม่ได้ควบคุมที่มีอิทธิพลต่อผลการศึกษาในการทำโครงงาน&nbsp; และอภิปรายถึงความสำคัญของผลการศึกษา&nbsp; <br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <strong>การสรุปผล</strong>&nbsp; เป็นการสรุปผลตามวัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน&nbsp; ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุไว้ด้วยว่า&nbsp; ข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือไม่สนับสนุนสมมติฐานที่ตั้งไว้&nbsp; หรือยังสรุปไม่ได้&nbsp;</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\"><strong>11.&nbsp;เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรม</strong></span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เป็นการอ้างอิง&nbsp; อ้างถึงหนังสือและหรือเอกสารต่าง ๆ ที่ผู้ทำโครงงานใช้ในการค้นคว้าหาข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการทำโครงงานนี้</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff;\">ตัวอย่าง&nbsp; การเขียนรายการอ้างอิงหนังสือ</span><br /> พิมพันธ์&nbsp; เดชะคุปต์.&nbsp; การสอนคิดด้วยโครงงาน.&nbsp; ครั้งที่ 4.&nbsp; กรุงเทพฯ&nbsp; :&nbsp; โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,&nbsp; 2550.</p>\n', created = 1725879782, expire = 1725966182, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1f2062ee4ef273797c3261dd7196a9f3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การเขียนรายงานโครงงาน

การเขียนรายงานโครงงาน

        เป็นการนำเสนอผลของการศึกษาในรูปแบบของการเขียนรายงาน  ซึ่งแสดงถึงขั้นตอนวิธีการทำโครงงาน  ผลของการศึกษาและการอภิปรายสรุปผลการศึกษา  โดยรูปแบบของการเขียนรายงานประกอบด้วย

1. ปกหน้า

                                                     


2. ปกใน

                                                   

3. บทคัดย่อ
          อธิบายถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน  วัตถุประสงค์  วิธีดำเนินการ  และผลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปต่าง ๆ อย่างย่อ  เช่น 

 บทคัดย่อ
โครงงานวิทยาศาสตร์  เรื่อง  แผ่นปูนซีเมนต์จากชานอ้อย

คณะผู้จัดทำ
1.   ด.ญ. ขนิษฐา      อุทธา  เลขที่  23 ชั้น ม. 3/1
2.   ด.ญ. พรพระเทพ    เลี่ยมชาญชัย  เลขที่  24 ชั้น ม. 3/1
3.   ด.ญ. วิภาวรรณ เชื้อทอง  เลขที่  25 ชั้น ม. 3/1
4.   ด.ญ. กิตติมา หว่างบุญ  เลขที่  35 ชั้น ม. 3/1
สถานศึกษา โรงเรียนวัดราชาธิวาส   สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
รายวิชา โครงงานวิทยาศาสตร์  (ว 30203)    ปีการศึกษา  2549

          โครงงานวิทยาศาสตร์  เรื่อง  แผ่นปูนจากชานอ้อย  จัดทำขึ้นเพื่อหาวัสดุทดแทนในการผลิตแผ่นปูนซีเมนต์  เป็นการลดการใช้ทรัพยากรประเภท กรวด ทราย ซึ่งมีปริมาณลดน้อยลง  อีกทั้งเป็นการนำวัสดุที่เหลือทิ้งกลับมาใช้ให้เป็นประโยชน์อีกครั้ง  ในการทดลองครั้งนี้ได้นำชานอ้อย    มาเป็นส่วนผสม  โดยการตัดชานอ้อยแห้งออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ยาวประมาณครึ่งนิ้ว  จากนั้นนำปูนซีเมนต์  ชานอ้อย  ทรายและน้ำ มาผสมในอัตราส่วนต่างๆ แล้วเทใส่บล็อก  นำไปตากให้แห้ง  ตรวจสอบคุณภาพของแผ่นปูนซีเมนต์ชานอ้อย  พบว่าอัตราส่วนระหว่างปูนซีเมนต์  ชานอ้อย  ทรายและน้ำ ในอัตราส่วน  10 : 1  :  5  :  10  เป็นอัตราส่วนที่ดีที่สุด  ทนต่อแรงกระแทกขนาด 20 นิวตัน ในระดับความสูง 5 เมตรได้  แผ่นปูนที่ได้มีลักษณะผิวค่อนข้างเรียบ  ดังนั้นผลการทดลองไม่สนับสนุนสมมติฐานที่ว่า  ถ้าอัตราส่วนของวัสดุที่ใช้ผสมมีผลต่อคุณภาพของแผ่นปูนซีเมนต์  ดังนั้น อัตราส่วนที่ดีที่สุดคืออัตราส่วนที่มีส่วนผสมของวัสดุเท่าๆ กัน  กล่าวคือ  การทดลองที่ใช้ส่วนผสมในอัตราส่วนที่เท่าๆ กัน ปรากฏว่า  เนื้อของแผ่นปูนไม่เรียบ  สามารถใช้มือบิให้แตกออกจากกันได้  ส่วนอัตราส่วนที่ดีที่สุดนั้นมีความแข็งแรงสามารถใช้ในการปูรองบนพื้นได้  แต่ยังไม่แข็งแรงพอที่จะนำไปใช้ในการก่อสร้างผนังอาคาร  และปัญหาที่เกิดขึ้น คือ ชานอ้อยจะดูดซับน้ำได้มาก  ทำให้แผ่นปูนแห้งก่อนที่จะเกาะตัวกัน  จึงต้องนำชานอ้อยแห้งแช่น้ำปูนซีเมนต์ก่อนที่จะทำการผสม  ดังนั้นถ้าจะนำชานอ้อยไปใช้เป็นวัสดุทดแทน จึงต้องพัฒนาอัตราส่วนที่เหมาะสมต่อไป  หรือหาวัสดุอื่นที่ไม่ดูดซับน้ำมาทดแทน

4. กิตติกรรมประกาศ
            เขียนบรรยายแสดงความขอบคุณผู้ที่ให้การสนับสนุน ให้คำปรึกษาและคำแนะนำต่าง ๆ ในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เช่น

                                                                    กิตติกรรมประกาศ
ในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องแผ่นปูนซีเมนต์จากชานอ้อยในครั้งนี้  คณะผู้จัดทำได้รับความอนุเคราะห์จากกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ในการให้ยืมอุปกรณ์การทดลอง  นักการภารโรงที่ช่วยต่อแบบพิมพ์ สำหรับหล่อแผ่นปูน  และบุคคลที่ทำให้การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี  สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำโครงงานได้  อีกทั้งให้คำปรึกษาแนะนำในการทำโครงงานอย่างเป็นกันเอง คือ ครูจันทิมา  สุขพัฒน์  รวมทั้งผู้ปกครองของเพื่อนในกลุ่ม และคุณพ่อคุณแม่ของข้าพเจ้า  ที่ให้การสนับสนุนในด้านของงบประมาณและการให้ข้อเสนอแนะต่างๆ  คณะผู้จัดทำโครงงานจึงขอขอบพระคุณทุกท่านเป็นอย่างสูงมา  ณ โอกาสนี้

5. สารบัญ
6. บทที่  1  บทนำ

    6.1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
          อธิบายความสำคัญของโครงงาน  เหตุผลที่เลือกทำโครงงานเรื่องนี้  และหลักการหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงาน  เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นเคยศึกษามาแกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แล้วถ้ามีได้ผลเป็นอย่างไร  และเรื่องที่ทำนี้เป็นการขยายผลหรือปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทำไว้แล้วอย่างไรบ้าง
    6.2 จุดประสงค์ของโครงงาน
    6.3 สมมติฐาน
    6.4 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
          6.4.1 นิยามเชิงปฏิบัติการ
          6.4.2 ข้อจำกัดในการศึกษา / ทดลอง

7. บทที่  2   เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
          เป็นการเขียนข้อสรุปที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงาน  โดยการสรุปเป็นองค์ความรู้ของตนเอง  หรือคัดลอกข้อความจากหนังสือ  โดยถ้าเป็นการสรุปองค์ความรู้เป็นของตนเอง  ต้องอ้างอิงเอกสารที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายเล่มรายงาน  แต่ถ้าเป็นการคัดลอกข้อความนั้นมา โดยไม่เปลี่ยนแปลงเนื้อหา  ให้อ้างอิงในการเขียนด้วย  ซึ่งการอ้างอิงที่เป็นที่นิยมคือ การอ้างอิงแบบนาม – ปี  และควรระบุเลขหน้าไว้ด้วย  จากนั้นต้องอ้างอิงในเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายเล่มรายงานด้วยเช่นกัน
         

ตัวอย่างการอ้างอิงแบบนาม – ปี เช่น

          พิมพันธ์  เดชะคุปต์  (2550 : 47)  ได้ให้ความหมายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ไว้ว่า  เป็นการศึกษาเพื่อค้นพบข้อความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ด้วยตัวของนักเรียนเอง และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีครูอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ให้คำปรึกษา

8. บทที่  3   วัสดุ – อุปกรณ์และวิธีดำเนินการ
    8.1 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
    8.2 วิธีดำเนินการ / วิธีทดลอง 
          อธิบายขั้นตอนการดำเนินการหรือขั้นตอนการทดลองโดยละเอียด

9. บทที่  4   ผลการสำรวจ / ศึกษา / ผลการทดลอง
         นำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสำรวจรวบรวมข้อมูล  หรือจากการทดลองต่าง ๆ ที่สังเกตรวบรวมได้  รวมทั้งเสนอผลงานการวิเคราะห์ข้อมูลที่วิเคราะห์ได้ด้วย ซึ่งอาจนำเสนอในรูปแบบของตาราง  แผนภาพ  แผนภูมิต่างๆ ก็ได้

10. บทที่  5   อภิปรายผลและสรุปผลการสำรวจ
          การอภิปรายผล  เป็นการนำหลักการ ทฤษฎีที่ได้สืบค้นมาในบทที่ 2  มาอธิบายสนับสนุนผลของการทดลองที่เกิดขึ้นว่าทำไมถึงเป็นอย่างนั้น  ทำไมไม่เป็นอย่างนี้  โดยการอภิปรายผลจากการวิเคราะห์  มีความสมเหตุสมผล น่าเชื่อถือ  แสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องกับแนวคิด  ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง  อภิปรายถึงจุดอ่อนของการทำโครงงาน  องค์ประกอบที่ไม่ได้ควบคุมที่มีอิทธิพลต่อผลการศึกษาในการทำโครงงาน  และอภิปรายถึงความสำคัญของผลการศึกษา 
          การสรุปผล  เป็นการสรุปผลตามวัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน  ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุไว้ด้วยว่า  ข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือไม่สนับสนุนสมมติฐานที่ตั้งไว้  หรือยังสรุปไม่ได้ 

11. เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรม
          เป็นการอ้างอิง  อ้างถึงหนังสือและหรือเอกสารต่าง ๆ ที่ผู้ทำโครงงานใช้ในการค้นคว้าหาข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการทำโครงงานนี้

ตัวอย่าง  การเขียนรายการอ้างอิงหนังสือ
พิมพันธ์  เดชะคุปต์.  การสอนคิดด้วยโครงงาน.  ครั้งที่ 4.  กรุงเทพฯ  :  โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2550.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 545 คน กำลังออนไลน์