• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:02ec72f217dbc86d8cf12941cb8288c9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #333300; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #9933cc; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3300cc; font-size: 12pt\"> </span></span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #333300; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #9933cc; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3300cc; font-size: 12pt\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #333300; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #9933cc; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3300cc; font-size: 12pt\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #333300; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #9933cc; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3300cc; font-size: 12pt\"><img height=\"32\" width=\"470\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/linepattern/linenew/313.gif\" border=\"0\" /></span></span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #333300; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #9933cc; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3300cc; font-size: 12pt\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #333300; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #9933cc; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3300cc; font-size: 12pt\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #333300; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #9933cc; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3300cc; font-size: 12pt\"><strong>       <img height=\"156\" width=\"144\" src=\"http://learners.in.th/file/dawood/fly3.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 34px; height: 34px\" />   </strong></span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\"><strong>ไลโซโซม (lysosome)</strong> ผู้ขนส่งเอนไซม์ เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มเพียงชั้นเดียว พบครั้งแรกโดย คริสเตียน เดอ ดูฟ (Christian de Duve) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\">          ลักษณะรูปร่างกลมรี เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.15-0.8 ไมครอน พบเฉพาะในเซลล์สัตว์เท่านั้น โดยพบมากในฟาโกไซทิกเซลล์ (phagocytic cell) เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาว และเซลล์ในระบบเรติคูโลเอนโดลิทียม (reticuloendothelial system) เช่น ตับ ม้าม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\">          นอกจากนี้ยังพบไลโซโซมจำนวนมากในเซลล์ที่ได้รับบาดเจ็บหรือการสลายตัวเอง เช่น เซลล์ส่วนหางของลูกอ๊อด เป็นต้น ไลโซโซมมีเอนไซม์หลายชนิด จึงสามารถย่อยสลายสารต่างๆ ภายในเซลล์ได้ดี จึงมีหน้าที่สำคัญคือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\">      1) ย่อยสลายอนุภาคและโมเลกุลของสารอาหารภายในเซลล์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\">      2) ยอยหรือทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ที่เข้าสู่ร่างกายหรือเซลล์ เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาวกินและย่อยสลายเซลล์แบคทีเรีย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\">      3) ทำลายเซลล์ที่ต่ยแล้ว หรือเซลล์ที่มีอายุมากโดยเยื่อของไลโซโซมจะฉีกขาดได้ง่าย แล้วปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยสลายเซลล์ดังกล่าว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\">     4) ย่อยสลายโครงสร้างต่างๆ ของเซลล์ในระยะที่เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงและมีเมตามอร์ฟอซีส (metamorphosis) เช่น เซลล์ส่วนหางของลูกอ๊อด</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #996600; font-size: 12pt\"> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #996600; font-size: 12pt\"> <img height=\"300\" width=\"375\" src=\"http://www.nstlearning.com/~km/wp-content/uploads/2008/03/lysosome.jpg\" border=\"0\" /></span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #996600; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\">ไลโซโซม (lysosome)</span></span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #996600; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #996600; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #996600; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\"><img height=\"17\" width=\"426\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/linepattern/line/105.gif\" border=\"0\" /></span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #996600; font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #ff6600; font-size: 12pt\"></span></span>\n</p>\n', created = 1718639969, expire = 1718726369, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:02ec72f217dbc86d8cf12941cb8288c9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

cell and organelles

รูปภาพของ wawa05

 

          ไลโซโซม (lysosome) ผู้ขนส่งเอนไซม์ เป็นออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มเพียงชั้นเดียว พบครั้งแรกโดย คริสเตียน เดอ ดูฟ (Christian de Duve)

          ลักษณะรูปร่างกลมรี เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.15-0.8 ไมครอน พบเฉพาะในเซลล์สัตว์เท่านั้น โดยพบมากในฟาโกไซทิกเซลล์ (phagocytic cell) เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาว และเซลล์ในระบบเรติคูโลเอนโดลิทียม (reticuloendothelial system) เช่น ตับ ม้าม

          นอกจากนี้ยังพบไลโซโซมจำนวนมากในเซลล์ที่ได้รับบาดเจ็บหรือการสลายตัวเอง เช่น เซลล์ส่วนหางของลูกอ๊อด เป็นต้น ไลโซโซมมีเอนไซม์หลายชนิด จึงสามารถย่อยสลายสารต่างๆ ภายในเซลล์ได้ดี จึงมีหน้าที่สำคัญคือ

      1) ย่อยสลายอนุภาคและโมเลกุลของสารอาหารภายในเซลล์

      2) ยอยหรือทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ที่เข้าสู่ร่างกายหรือเซลล์ เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาวกินและย่อยสลายเซลล์แบคทีเรีย

      3) ทำลายเซลล์ที่ต่ยแล้ว หรือเซลล์ที่มีอายุมากโดยเยื่อของไลโซโซมจะฉีกขาดได้ง่าย แล้วปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยสลายเซลล์ดังกล่าว

     4) ย่อยสลายโครงสร้างต่างๆ ของเซลล์ในระยะที่เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงและมีเมตามอร์ฟอซีส (metamorphosis) เช่น เซลล์ส่วนหางของลูกอ๊อด  

 

 

 

ไลโซโซม (lysosome)

 

 

สร้างโดย: 
นางไวยุด๊ะ เหตุเหล๊าะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 562 คน กำลังออนไลน์