• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.16.137.251', 0, 'e6c4571ff8b6ef1fcdc8a95719cf5f65', 136, 1716826928) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ec5f2dbf5118dba9198c5ebab59f553d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><span style=\"color: #800080\"> </span> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800080\"><img height=\"45\" width=\"450\" src=\"http://learners.in.th/file/dawood/kapook_42412.gif\" border=\"0\" /></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\"><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 14pt\">โพรโทพลาซึม (Protoplasm)</span></span></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><strong>         </strong> เป็นส่วนของเซลล์ที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ทั้งหมด ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเจริญ และการดำรงชีวิตของเซลล์  โพระโทพลาซึมของเซลล์ต่างๆ จะประกอบด้วยธาตุที่คล้ายคลึงกันกัน 4 ธาตุหลัก คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และแนโตรเจน  ซ่งรวมกันถึงร้อยละ 90 ส่วนธาตุที่มีน้อย คือ ทองแดง สังกะสี อะลูมิเนียม โคบอลท์ แมงกานีส โมลิบดินัม และโบรอน  ธาตุต่างๆ เหล่านี้ จะรวมตัวกันเป็นสารประกอบต่างๆ  มีการจัดระบบการทำงานอย่างซับซ้อน ทำให้เกิดกระบวนการต่างๆ ทางเมแมบอลิซึม (metabolism)  ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของเซลล์และของชีวิต โพรโทลาซึม ประกอบด้วย  2 ส่วนด้วยกัน คือ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #993300\"><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 14pt\">       <img height=\"40\" width=\"40\" src=\"http://learners.in.th/file/dawood/pen3.gif\" border=\"0\" />  ไซโทพลาซึม  (Cytoplasm)</span></span></span> </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\"><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 14pt\"> </span></span></span><span style=\"color: #993300\"><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 14pt\">    <span style=\"color: #800080\">  <img height=\"40\" width=\"40\" src=\"http://learners.in.th/file/dawood/pen3.gif\" border=\"0\" />  นิวเคลียส  (Nucleus)</span></span></span></span><span style=\"color: #800080\"> </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\"><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 14pt\"></span></span></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"44\" width=\"374\" src=\"http://learners.in.th/file/dawood/bar-books.gif\" border=\"0\" style=\"width: 383px; height: 38px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #783d99\"><strong></strong></span></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 14pt\"><span style=\"color: #783d99\"><strong>       <img height=\"40\" width=\"40\" src=\"http://learners.in.th/file/dawood/pen3.gif\" border=\"0\" />  ไซโทพลาซึม  (Cytoplasm)</strong> </span> <span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #783d99\">เป็นส่วนของโพรโทพลา</span></span></span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #783d99\">ซึมที่อยู่นอกนิวเคลียส โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 2 ชั้น คือ</span></span></span> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 14pt\"></span></span><span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 14pt\"></span></span></p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #783d99\"><strong>          1) เอกโทพลาซึม (ectoplasm)</strong> เป็นส่วนของไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านนอกติดกับเยื่อหุ้มเซลล์ มีลักษณะใสบาง เพราะมีส่วนประกอบต่างๆ ของเซลล์อยู่น้อย ในพวกยูกลีนาชั้นนี้จะหนาและเหนียว เรียกว่า เยื่อเพลลิเคิล (pellicle)  ทำให้เซลล์ของยูกลีนาคงรูปอยู่ได้</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #783d99\"><strong>          2) เอนโดพลาซึม  (endoplasm)</strong>  เป็นชั้นของไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านในใกล้นิวเคลียส ชั้นนี้จึงมีลักษณะที่เข้มข้นกว่าเนื่องจากมี ออร์แกนเนลล์ (organelle) และอนุภาคต่างๆ ของสารอยู่มาก จึงเป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ของเซลล์มากด้วย</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #783d99\"><strong>          ไซโทซอล (cytosol)</strong> เป็นส่วนของไซโทพลาซึมที่มีลักษณะเป็นกึ่งเหลวกึ่งแข็ง และมีอยู่ประมาณร้อยละ 50-60 ของปริมาตรเซลล์ทั้งหมด และมักมีปริมาตรเป็น 3 เท่าของปริมาตรนิวเคลียส การไหลของไซโทพลาซึมไปรอบๆ  เซลล์ เรียกว่า ไซโคลซีส (cyclosis) ซึ่งเกิดจากการหดและคลายตัวของไมโครฟิลาเมนท์ บริเวณด้านในของไซโทซอลหรือเอนโดพลาซึม</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #783d99\"></span></span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img height=\"374\" width=\"550\" src=\"http://wiki.faithlutheranlv.org/groups/carmanbio/wiki/dabdb/images/43c77.jpg\" style=\"width: 474px; height: 266px\" /> </strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-size: small\">ไซโทซอล (cytosol) และออร์แกเนลล์ (organelles) </span>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #783d99\">          ไซโทพลาซึม นอกจากจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนแล้วยังมีส่วนประกอบที่สำคัญเป็น 2 ส่วน คือ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #783d99\">          <img height=\"400\" width=\"600\" src=\"http://learners.in.th/file/dawood/egg1.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 30px; height: 27px\" />  ออร์แกเนลล์ (organelles) เป็นส่วนที่มีชีวิต  ทำหน้าที่คล้ายๆ กับเป็นอวัยวะของเซลล์ ดังนี้ </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #3333ff\"><strong>          <img height=\"156\" width=\"144\" src=\"http://learners.in.th/file/dawood/fly3.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 34px; height: 34px\" /> 1. ร่างแหเอนโดพลาซึมหรือเอนโดพลาสมิก เรติคูลัม (endoplasmic reticulum : ER)</strong> เป็นออร์แกเนลล์ ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น มีความหนาน้อยกว่าเยื่อหุ้มเซลล์ มีลักษณะ เป็นท่อขดพับไปมาเป็นออร์แกเนลล์ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีนซึ่งไรโบโซมจะเกาะทางด้านไซโตซอลของเยื่อหุ้มโปรตีนถูกสังเคราะห์ข้ามเยื่อหุ้มของเอนโดพลาสมิก เรติคูลัม นอกจากจะเป็นที่ให้ไรโบโซมเกาะอยู่แล้วยังทำหน้าที่สังเคราะห์สาร และ phospholipids เป็นสารที่จำเป็นของทุกๆ เยื่อหุ้มเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมยังทำหน้าที่ขนถ่ายเอนไซม์ และโปรตีน เรียกว่า การหลั่งสารหรือกระบวนการขับสารออกนอกเซลล์ (secetion) ประกอบด้วยโครงสร้างระบบท่อที่มีการเชื่อมประสานกันทั้งเซลล์ส่วนของท่อยังติดต่อกับเยื่อหุ้มเซลล์เยื่อหุ้มนิวเคลียส และกอลจิบอดีด้วยภายในท่อมีของเหลวซึ่ง เรียกว่า ไฮยาโลพลาซึม (hyaloplasm) </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"color: #3333ff\"><br />\n</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333ff; font-size: 12pt\"><strong>         Rough endoplasmic reticulum : RER</strong> ทำหน้าที่ผลิตและสังเคราะห์โปรตีนของไรโบโซมที่เกาะอยู่ที่ผิวด้านนอก   โดยมีกอลจิบอดี (golgi body) เป็นตัวสะสมหรือทำให้มีขนาดพอเหมาะที่ส่งออกนอกเซลล์ลำเลียงสารซึ่งได้แก่ โปรตีนที่สร้างได้ และสารอื่นๆ เช่น ลิพิดชนิดต่างๆ ในเซลล์ที่เกิดใหม่พบว่ามี RER มากกว่า SER แต่เมื่เซลล์มีอายุมากขึ้น พบว่า SER มากกว่า RER เชื่อกันว่า RER จะเปลี่ยนเป็น SER เมื่อเซลล์มีอายุมากขึ้น</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"color: #008000\"><span style=\"font-size: 12pt\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333ff; font-size: 12pt\"></span></span></span><strong><img height=\"480\" width=\"640\" src=\"http://student.nu.ac.th/u46410288/endoplasmic_reticulum%5B1%5D.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 478px; height: 307px\" />  </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong>RER และ SER </strong></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333ff; font-size: 12pt\"><strong>Smooth endoplasmic reticulum : SER</strong>  เป็นชนิดที่ไม่มีไรโบโซมเกาะ  ทำหน้าท่ผลิตและลำเลียงไขมันและสเตรอยด์ พบมากในเซลล์ที่มีหน้าที่กำจัดสารพิษ และสร้างสารสเตอรอยด์  เช่น ในเซลล์ที่ต่อมหมวกไต ในอัณฑะ เซลล์รังไข่ และในเซลล์ของตับ และยังทำหน้าที่คือ ลำเลียงสารต่างๆ เช่น ลิพิด โปรตีน</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img height=\"53\" width=\"518\" src=\"http://i242.photobucket.com/albums/ff298/akapong999/dookdik/linepattern/linenew/312.gif\" align=\"left\" border=\"0\" /> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #3333ff; font-size: 12pt\"></span>\n</p>\n', created = 1716826938, expire = 1716913338, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ec5f2dbf5118dba9198c5ebab59f553d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

cell and organelles

รูปภาพของ wawa05

 

โพรโทพลาซึม (Protoplasm)

          เป็นส่วนของเซลล์ที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ทั้งหมด ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเจริญ และการดำรงชีวิตของเซลล์  โพระโทพลาซึมของเซลล์ต่างๆ จะประกอบด้วยธาตุที่คล้ายคลึงกันกัน 4 ธาตุหลัก คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และแนโตรเจน  ซ่งรวมกันถึงร้อยละ 90 ส่วนธาตุที่มีน้อย คือ ทองแดง สังกะสี อะลูมิเนียม โคบอลท์ แมงกานีส โมลิบดินัม และโบรอน  ธาตุต่างๆ เหล่านี้ จะรวมตัวกันเป็นสารประกอบต่างๆ  มีการจัดระบบการทำงานอย่างซับซ้อน ทำให้เกิดกระบวนการต่างๆ ทางเมแมบอลิซึม (metabolism)  ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของเซลล์และของชีวิต โพรโทลาซึม ประกอบด้วย  2 ส่วนด้วยกัน คือ

         ไซโทพลาซึม  (Cytoplasm)

         นิวเคลียส  (Nucleus)

         ไซโทพลาซึม  (Cytoplasm)  เป็นส่วนของโพรโทพลาซึมที่อยู่นอกนิวเคลียส โดยทั่วไปจะแบ่งเป็น 2 ชั้น คือ

          1) เอกโทพลาซึม (ectoplasm) เป็นส่วนของไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านนอกติดกับเยื่อหุ้มเซลล์ มีลักษณะใสบาง เพราะมีส่วนประกอบต่างๆ ของเซลล์อยู่น้อย ในพวกยูกลีนาชั้นนี้จะหนาและเหนียว เรียกว่า เยื่อเพลลิเคิล (pellicle)  ทำให้เซลล์ของยูกลีนาคงรูปอยู่ได้

          2) เอนโดพลาซึม  (endoplasm)  เป็นชั้นของไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านในใกล้นิวเคลียส ชั้นนี้จึงมีลักษณะที่เข้มข้นกว่าเนื่องจากมี ออร์แกนเนลล์ (organelle) และอนุภาคต่างๆ ของสารอยู่มาก จึงเป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ของเซลล์มากด้วย

          ไซโทซอล (cytosol) เป็นส่วนของไซโทพลาซึมที่มีลักษณะเป็นกึ่งเหลวกึ่งแข็ง และมีอยู่ประมาณร้อยละ 50-60 ของปริมาตรเซลล์ทั้งหมด และมักมีปริมาตรเป็น 3 เท่าของปริมาตรนิวเคลียส การไหลของไซโทพลาซึมไปรอบๆ  เซลล์ เรียกว่า ไซโคลซีส (cyclosis) ซึ่งเกิดจากการหดและคลายตัวของไมโครฟิลาเมนท์ บริเวณด้านในของไซโทซอลหรือเอนโดพลาซึม

 
ไซโทซอล (cytosol) และออร์แกเนลล์ (organelles)

 

          ไซโทพลาซึม นอกจากจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนแล้วยังมีส่วนประกอบที่สำคัญเป็น 2 ส่วน คือ

            ออร์แกเนลล์ (organelles) เป็นส่วนที่มีชีวิต  ทำหน้าที่คล้ายๆ กับเป็นอวัยวะของเซลล์ ดังนี้

           1. ร่างแหเอนโดพลาซึมหรือเอนโดพลาสมิก เรติคูลัม (endoplasmic reticulum : ER) เป็นออร์แกเนลล์ ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น มีความหนาน้อยกว่าเยื่อหุ้มเซลล์ มีลักษณะ เป็นท่อขดพับไปมาเป็นออร์แกเนลล์ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีนซึ่งไรโบโซมจะเกาะทางด้านไซโตซอลของเยื่อหุ้มโปรตีนถูกสังเคราะห์ข้ามเยื่อหุ้มของเอนโดพลาสมิก เรติคูลัม นอกจากจะเป็นที่ให้ไรโบโซมเกาะอยู่แล้วยังทำหน้าที่สังเคราะห์สาร และ phospholipids เป็นสารที่จำเป็นของทุกๆ เยื่อหุ้มเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมยังทำหน้าที่ขนถ่ายเอนไซม์ และโปรตีน เรียกว่า การหลั่งสารหรือกระบวนการขับสารออกนอกเซลล์ (secetion) ประกอบด้วยโครงสร้างระบบท่อที่มีการเชื่อมประสานกันทั้งเซลล์ส่วนของท่อยังติดต่อกับเยื่อหุ้มเซลล์เยื่อหุ้มนิวเคลียส และกอลจิบอดีด้วยภายในท่อมีของเหลวซึ่ง เรียกว่า ไฮยาโลพลาซึม (hyaloplasm) 


         Rough endoplasmic reticulum : RER ทำหน้าที่ผลิตและสังเคราะห์โปรตีนของไรโบโซมที่เกาะอยู่ที่ผิวด้านนอก   โดยมีกอลจิบอดี (golgi body) เป็นตัวสะสมหรือทำให้มีขนาดพอเหมาะที่ส่งออกนอกเซลล์ลำเลียงสารซึ่งได้แก่ โปรตีนที่สร้างได้ และสารอื่นๆ เช่น ลิพิดชนิดต่างๆ ในเซลล์ที่เกิดใหม่พบว่ามี RER มากกว่า SER แต่เมื่เซลล์มีอายุมากขึ้น พบว่า SER มากกว่า RER เชื่อกันว่า RER จะเปลี่ยนเป็น SER เมื่อเซลล์มีอายุมากขึ้น

 

RER และ SER

Smooth endoplasmic reticulum : SER  เป็นชนิดที่ไม่มีไรโบโซมเกาะ  ทำหน้าท่ผลิตและลำเลียงไขมันและสเตรอยด์ พบมากในเซลล์ที่มีหน้าที่กำจัดสารพิษ และสร้างสารสเตอรอยด์  เช่น ในเซลล์ที่ต่อมหมวกไต ในอัณฑะ เซลล์รังไข่ และในเซลล์ของตับ และยังทำหน้าที่คือ ลำเลียงสารต่างๆ เช่น ลิพิด โปรตีน

 

 

 

 

 

สร้างโดย: 
นางไวยุด๊ะ เหตุเหล๊าะ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 291 คน กำลังออนไลน์