• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0a962ef203520617f13730a5d63ec54f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong>ความหมายและความสำคัญของการออกแบบเขียนแบบ </strong>\n</p>\n<p>\n        งานขีดเขียนได้เกิดขึ้นมาบนโลกนี้เป็นเวลานานกว่า  50,000  ปีแล้ว  มนุษย์ในสมัยโบราณ  ตั้งแต่ยุคมนุษย์ถ้ำ  ได้ใช้วิธีการทำเครื่องหมายต่างๆ  บนพื้นดิน  ก้อนหิน  ผนังถ้ำ  และผืนหนังสัตว์  เพื่อใช้ในการบันทึกความคิดและการติดต่อสื่อสารต่าง ๆ\n</p>\n<p>\n        การวาดภาพเทคนิคยุคแรกที่มีอยู่ คือ  การเขียนแบบแปลนกำแพงเมืองซึ่ง  ซาลเดน  เอนจิเนีย  กูดัว  (Chaldean Engineer Gudea)  เป็นผู้เขียนและจารึกไว้บนแผ่นหิน  ดังรูปที่ 1.1  จะสังเกตเห็นว่ามีความคล้ายคลึงกับการเขียนแผนผังของสถาปนิกที่ทำกันในปัจจุบัน  อย่างไรก็ตามการเขียนแบบนี้ได้มีขึ้นเมื่อประมาณ  1,000  ปี  ก่อนที่จะมีการผลิตกระดาษขึ้นมาใช้  \n</p>\n<p>\n       ในสมัยโบราณมนุษย์ได้เขียนภาพแสดงสิ่งที่เขาคิดไว้หรือเป็นภาพแสดงงานก่อสร้าง  ซึ่งจะให้ความสะดวกแก่ผู้สร้างมากขึ้น  การเขียนนั้นจะเป็นการร่างภาพหยาบ ๆ  ลงบนโต๊ะ  พื้นดิน  หรือแผ่นหิน  ชาวเมโสโปเตเมียรู้จักการใช้วัสดุและเครื่องมือในการเขียนแบบมามากกว่า  2,200  ปี  ก่อนคริสตกาล\n</p>\n<p>\n        สรุปได้ว่า  งานเขียนแบบนั้นได้เริ่มต้นมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์  หรือมีควบคู่กันมากับการเกิดของมนุษย์เลยก็ว่าได้   เพราะมนุษย์ทุกชาติทุกเผ่าพันธุ์ต้องมีการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน  ดังนั้นงานขีดเขียนที่ค้นพบในที่ต่าง ๆ   จึงเป็นหลักฐานได้ว่าการขีดเขียนเหล่านั้นเป็นสื่อที่ทำให้เกิดความเข้าใจในสารที่ต้องการแจ้งให้คนที่พบเห็นในภายหลังได้เข้าใจความหมายของงานเหล่านั้น ในปัจจุบัน เทคโนโลยีใหม่ ๆ  ได้เข้ามามีบทบาทต่องานอุตสาหกรรมของเมืองไทยเป็นอย่างมากไม่ว่าจำเป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ก็ตาม  บทบาทที่สำคัญในการดำเนินการผลิตชิ้นส่วนหรือสินค้าที่ต้องการผลิตออกจำหน่ายนั้นต้องขึ้นอยู่กับตลาด  ภาพแบบของสินค้าที่ผลิตออกจำหน่ายส่วนใหญ่ได้แนวความคิดที่เป็นนามธรรมจากผู้ออกแบบ  แล้วจึงดำเนินการให้เป็นรูปธรรม  โดยการขีดเขียนภาพตามแนวความคิดที่คิดไว้  การที่มีการขีดเขียนภาพตามแนวความคิดนั้น  เราเรียกว่า  “แบบงาน”  โดยผู้ที่ขีดเขียนเป็นครั้งแรกเราเรียกว่า  “ผู้ออกแบบ” และแบบนี้จะถูกแก้ไขปรับปรุงจนมีความสมบูรณ์และเหมาะสม  จากการที่ผู้ออกแบบได้ออกแบบไว้อย่างคร่าว ๆ   ยังเป็นแบบที่ไม่สมบูรณ์ก็จำเป็นจะต้องมีผู้เขียนแบบให้สมบูรณ์อีกครั้งหนึ่ง  ผู้ที่เขียนแบบให้สมบูรณ์เราเรียกว่า “ช่างเขียนแบบ” ในส่วนแบบงานนั้นเราเรียกว่า “งานเขียนแบบ” <br />\nงานออกแบบเขียนแบบ เป็นงานที่แสดงออกให้เห็นถึงความคิดที่สร้างสรรค์ออกมาเป็นแบบในด้านต่าง ๆ   เช่น สถาปัตยกรรม วิศวกรรม ศิลปกรรม รวมทั้งแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของอารยธรรมในแต่ละยุคแต่ละสมัยอีกด้วย ในประเทศไทยสามารถพบเห็นสถาปัตยกรรมต่าง ๆ  ได้จากโบราณสถาน หรือโบราณวัตถุต่าง ๆ   เป็นต้น ซึ่งเป็นผลงานที่ได้จากการออกแบบเขียนแบบ ออกมาจากความคิดและจินตนาการของผู้ออกแบบแล้วจึงนำไปสร้างหรือผลิตเป็นชิ้นงาน โดยนำมาประยุกต์ร่วมกับความรู้วิชาการสาขาอื่น ๆ   จนสำเร็จ\n</p>\n<p>\n        การออกแบบเขียนแบบ เป็นวิชาหนึ่งซึ่งเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์อยู่ในตัวเอง  ซึ่งเป็นเครื่องมือชี้นำทางสำหรับช่างในการสร้างหรือผลิตชิ้นงานให้ถูกต้อง เพราะแบบจะเป็นตัวแสดงรายละเอียดหรือข้อกำหนดต่าง ๆ   ของงาน  ให้ช่างหรือผู้ปฏิบัติงานมีความเข้าใจตรงกันกับผู้ออกแบบ  สามารถอ่านแบบได้ถูกต้อง ปฏิบัติตามรูปแบบรายการที่กำหนดไว้ นำไปสร้างหรือผลิตชิ้นงานต่อไป\n</p>\n<p>\nการแบ่งอาชีพงานเขียนแบบนั้น  จะเป็นการแบ่งตามลักษณะวิชาหลัก ๆ  โดยจะยึดพื้นฐานอาชีพทางด้านช่างอุตสาหกรรมเป็นหลัก  ดังนั้นจึงขอสรุปอาชีพของงานเขียนแบบออกได้ดังนี้\n</p>\n<p>\n                1.  เขียนแบบเครื่องกล\n</p>\n<p>\n                2.  เขียนแบบสถาปัตยกรรม\n</p>\n<p>\n                3.  เขียนแบบไฟฟ้า - อิเล็กทรอนิกส์ <br />\n   \n</p>\n<p>\n                4.  เขียนแบบลายเส้นหรือเขียนแบบทางศิลปะ            \n</p>\n<p>\n        การออกแบบ  หมายถึง การทำต้นแบบ การทำแผนผังของแบบเพื่อสนองความคิดและความต้องการของผู้ออกแบบในรูปแบบของความคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ  โดยคำนึงถึงความสวยงามประโยชน์การใช้สอย  ประเภทของการออกแบบยังรวมถึงการปรับปรุงแก้ไขสิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วให้เกิดความเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงขณะนั้น  องค์ประกอบในการออกแบบเบื้องต้น มีดังนี้\n</p>\n<p>\n                1. เส้น (Line) คือ สิ่งที่เชื่อมโยงระหว่างจุดสองจุดหรือจุดที่ต่อเนื่องกัน ทำให้เกิดรูปร่าง รูปทรง และโครงสร้าง  เส้นที่ใช้ในการออกแบบ  เช่น  เส้นตรง เส้นนอน เส้นตั้ง เส้นทแยง และเส้นโค้ง เป็นต้น                     \n</p>\n<p>\n                2. รูปร่าง (shape)คือ รูป 2 มิติ ที่มีความกว้าง   ความยาว  โดยมีเส้นเป็นส่วนประกอบ  มีทั้งรูปร่างเรขาคณิต และรูปร่างอิสระ\n</p>\n<p>\n                3. รูปทรง (Form)คือ รูปลักษณะด้านสามด้าน หรือรูปสามมิติ ที่มีความกว้าง  ความยาว และความสูง  มีเนื้อที่ภายในขอบเขต  เช่น  รูปทรงเรขาคณิต  รูปทรงอิสระ  เป็นต้น\n</p>\n<p>\n                4. สัดส่วน (Proportion)คือ ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้าง  ความยาว  และความสูง ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ  เป็นสัดส่วนต่อกันช่วยให้ส่วนประกอบของรูปทรงมีความสัมพันธ์กันในลักษณะกลมกลืนกัน หรือขัดแย้งกัน\n</p>\n<p>\n                5. วัสดุและพื้นผิว (Material and Texture)คือ วัตถุดิบที่จะนำมาใช้ในการออกแบบ มีลักษณะของพื้นผิวที่แตกต่างกัน สามารถรับรู้ได้จากการมองเห็นหรือการสัมผัส เพื่อที่จะนำมาใช้ในการออกแบบได้อย่างถูกต้อง\n</p>\n<p>\n                6. สี (Color)  สีที่ให้ความรู้สึกที่ปรากฏให้เห็นด้วยคลื่นแสง  สีช่วยทำให้งานออกแบบมีความรู้สึกและได้อารมณ์มากยิ่งขึ้น\n</p>\n<p>\n        การนำเอาหลักการทั้งหมดขององค์ประกอบในการออกแบบมาสร้างหรือผลิตชิ้นงานทางช่าง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความต้องการของผู้ออกแบบ  ที่จะจัดองค์ประกอบต่าง ๆ  ผสมผสานกัน จนเป็นผลงานที่มีความสมบูรณ์ออกมา <br />\n        การเขียนแบบ หมายถึง การนำเอาความคิดสร้างสรรค์มาเขียนหรือแสดงออกเป็นรูปแบบ โดยการใช้เส้น  รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ พร้อมรายการประกอบแบบ เป็นการแสดงให้เห็นรูปลักษณะที่เหมือนของจริง  สามารถนำไปใช้สร้างหรือผลิตชิ้นงานได้จริง เป็นการแสดงโครงสร้าง  รูปด้าน รูปลักษณะภายในของสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ   ซึ่งแบบที่ใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่  รูปแปลน (Plan)  รูปด้าน (Elevation)  รูปตัด (Section)  และรูปขยาย (Detail)\n</p>\n<p>\n         โดยปกติทั่วไป สามารถมองเห็นว่าวัตถุทั้งหลายล้วนประกอบด้วยด้าน 6 ด้าน คือ ด้านบน ด้านล่าง  ด้านหน้า  ด้านหลัง  ด้านซ้าย  และด้านขวา    แต่ในวิชาเขียนแบบ  วัตถุที่นำไปเขียนจะประกอบด้วย  รูปแปลน  รูปด้านหน้า  รูปด้านข้าง  และรูปด้านหลัง  ซึ่งแต่ละรูปมีความหมายดังนี้\n</p>\n<p>\n                1) รูปแปลน (Plan) หมายถึง รูปที่มองเห็นจากด้านบนลงมา ประกอบด้วยส่วนกว้าง และส่วนยาว\n</p>\n<p>\n                2) รูปด้านหน้า (Front Elevation) หมายถึง  รูปที่มองเห็นจากด้านหน้าเข้าไป   ซึ่งประกอบด้วยส่วนกว้างและส่วนยาว\n</p>\n<p>\n                3) รูปด้านข้าง (Side Elevation) หมายถึง  รูปที่มองเห็นจากด้านซ้ายหรือด้านขวาไป ประกอบด้วยส่วนยาวและส่วนสูง\n</p>\n<p>\n                4) รูปด้านหลัง (Rear Elevation) หมายถึง  รูปที่มองเห็นจากส่วนด้านหลังเข้ามา ประกอบด้วยส่วนกว้างและส่วนสูง\n</p>\n<p>\n                5) รูปตัด (Section) เป็นการตัดสิ่งที่ต้องการทราบในส่วนที่มองไม่เห็นหรืออยู่ภายใน  ซึ่งไม่สามารถแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนในรูปอื่น ๆ ดังนั้น จึงต้องมีการเขียนภาพตัดเพื่อแสดงรายละเอียดของส่วนสำคัญต่าง ๆ  ให้เข้าใจและนำไปใช้งานได้ ภาพตัดจะมีการเติมสัญลักษณ์การตัด   แสดงขอบเขต  ตำแหน่งและทิศทางที่ถูกตัด  พร้อมมีอักษรกำกับไว้ เพื่อให้สะดวกแก่การทำความเข้าใจ\n</p>\n<p>\n                6) รูปขยาย (Detail) เป็นการเขียนแบบส่วนรายละเอียดของชิ้นงานเฉพาะจุดให้ชัดเจนด้วยการขยายมาตราส่วนให้ใหญ่ขึ้นกว่าเดิม  เช่น 2 : 1 หรือ 5 :1  เป็นต้น\n</p>\n<p>\n             <strong>  สรุป <br />\n</strong>                จากความเป็นมาดังกล่าว  งานเขียนแบบมีบทบาทสำคัญมาตั้งแต่อดีตกาลจนถึงปัจจุบัน  อาชีพงานเขียนแบบได้แตกแขนงออกไปอย่างมากมาย   จนสามารถกำหนดเป็นลักษณะวิชาชีพงานเขียนแบบได้  เช่น  ช่างเขียนแบบเครื่องกล  ช่างเขียนแบบสถาปัตยกรรม  ช่างเขียนแบบไฟฟ้า  อิเลคทรอนิกส์  เป็นต้น\n</p>\n<p>\n                ในส่วนของผู้เริ่มต้นการศึกษาวิชาเขียนแบบนั้น  จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาพื้นฐานต่าง  ๆ  เป็นอย่างดีก่อนที่จะศึกษารายละเอียดหรือรูปแบบวิธีการเขียนแบบต่าง  ๆ  ต่อไป  ดังนั้น  เพื่อเป็นการฝึกพื้นฐานของงานออกแบบเขียนแบบ  จึงขอให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติตามแบบฝึกให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง  ตลอดจนศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ  ตำรา  และคำแนะนำจากผู้รู้  เพื่อเป็นการพัฒนาตนเอง ให้มีความรู้ความเข้าใจ  และมีทักษะในการเขียนแบบมากขึ้นอีกด้วย <br />\n \n</p>\n', created = 1715672727, expire = 1715759127, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0a962ef203520617f13730a5d63ec54f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การออกแบบเขียนแบบ

ความหมายและความสำคัญของการออกแบบเขียนแบบ

        งานขีดเขียนได้เกิดขึ้นมาบนโลกนี้เป็นเวลานานกว่า  50,000  ปีแล้ว  มนุษย์ในสมัยโบราณ  ตั้งแต่ยุคมนุษย์ถ้ำ  ได้ใช้วิธีการทำเครื่องหมายต่างๆ  บนพื้นดิน  ก้อนหิน  ผนังถ้ำ  และผืนหนังสัตว์  เพื่อใช้ในการบันทึกความคิดและการติดต่อสื่อสารต่าง ๆ

        การวาดภาพเทคนิคยุคแรกที่มีอยู่ คือ  การเขียนแบบแปลนกำแพงเมืองซึ่ง  ซาลเดน  เอนจิเนีย  กูดัว  (Chaldean Engineer Gudea)  เป็นผู้เขียนและจารึกไว้บนแผ่นหิน  ดังรูปที่ 1.1  จะสังเกตเห็นว่ามีความคล้ายคลึงกับการเขียนแผนผังของสถาปนิกที่ทำกันในปัจจุบัน  อย่างไรก็ตามการเขียนแบบนี้ได้มีขึ้นเมื่อประมาณ  1,000  ปี  ก่อนที่จะมีการผลิตกระดาษขึ้นมาใช้  

       ในสมัยโบราณมนุษย์ได้เขียนภาพแสดงสิ่งที่เขาคิดไว้หรือเป็นภาพแสดงงานก่อสร้าง  ซึ่งจะให้ความสะดวกแก่ผู้สร้างมากขึ้น  การเขียนนั้นจะเป็นการร่างภาพหยาบ ๆ  ลงบนโต๊ะ  พื้นดิน  หรือแผ่นหิน  ชาวเมโสโปเตเมียรู้จักการใช้วัสดุและเครื่องมือในการเขียนแบบมามากกว่า  2,200  ปี  ก่อนคริสตกาล

        สรุปได้ว่า  งานเขียนแบบนั้นได้เริ่มต้นมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์  หรือมีควบคู่กันมากับการเกิดของมนุษย์เลยก็ว่าได้   เพราะมนุษย์ทุกชาติทุกเผ่าพันธุ์ต้องมีการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน  ดังนั้นงานขีดเขียนที่ค้นพบในที่ต่าง ๆ   จึงเป็นหลักฐานได้ว่าการขีดเขียนเหล่านั้นเป็นสื่อที่ทำให้เกิดความเข้าใจในสารที่ต้องการแจ้งให้คนที่พบเห็นในภายหลังได้เข้าใจความหมายของงานเหล่านั้น ในปัจจุบัน เทคโนโลยีใหม่ ๆ  ได้เข้ามามีบทบาทต่องานอุตสาหกรรมของเมืองไทยเป็นอย่างมากไม่ว่าจำเป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ก็ตาม  บทบาทที่สำคัญในการดำเนินการผลิตชิ้นส่วนหรือสินค้าที่ต้องการผลิตออกจำหน่ายนั้นต้องขึ้นอยู่กับตลาด  ภาพแบบของสินค้าที่ผลิตออกจำหน่ายส่วนใหญ่ได้แนวความคิดที่เป็นนามธรรมจากผู้ออกแบบ  แล้วจึงดำเนินการให้เป็นรูปธรรม  โดยการขีดเขียนภาพตามแนวความคิดที่คิดไว้  การที่มีการขีดเขียนภาพตามแนวความคิดนั้น  เราเรียกว่า  “แบบงาน”  โดยผู้ที่ขีดเขียนเป็นครั้งแรกเราเรียกว่า  “ผู้ออกแบบ” และแบบนี้จะถูกแก้ไขปรับปรุงจนมีความสมบูรณ์และเหมาะสม  จากการที่ผู้ออกแบบได้ออกแบบไว้อย่างคร่าว ๆ   ยังเป็นแบบที่ไม่สมบูรณ์ก็จำเป็นจะต้องมีผู้เขียนแบบให้สมบูรณ์อีกครั้งหนึ่ง  ผู้ที่เขียนแบบให้สมบูรณ์เราเรียกว่า “ช่างเขียนแบบ” ในส่วนแบบงานนั้นเราเรียกว่า “งานเขียนแบบ”
งานออกแบบเขียนแบบ เป็นงานที่แสดงออกให้เห็นถึงความคิดที่สร้างสรรค์ออกมาเป็นแบบในด้านต่าง ๆ   เช่น สถาปัตยกรรม วิศวกรรม ศิลปกรรม รวมทั้งแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของอารยธรรมในแต่ละยุคแต่ละสมัยอีกด้วย ในประเทศไทยสามารถพบเห็นสถาปัตยกรรมต่าง ๆ  ได้จากโบราณสถาน หรือโบราณวัตถุต่าง ๆ   เป็นต้น ซึ่งเป็นผลงานที่ได้จากการออกแบบเขียนแบบ ออกมาจากความคิดและจินตนาการของผู้ออกแบบแล้วจึงนำไปสร้างหรือผลิตเป็นชิ้นงาน โดยนำมาประยุกต์ร่วมกับความรู้วิชาการสาขาอื่น ๆ   จนสำเร็จ

        การออกแบบเขียนแบบ เป็นวิชาหนึ่งซึ่งเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์อยู่ในตัวเอง  ซึ่งเป็นเครื่องมือชี้นำทางสำหรับช่างในการสร้างหรือผลิตชิ้นงานให้ถูกต้อง เพราะแบบจะเป็นตัวแสดงรายละเอียดหรือข้อกำหนดต่าง ๆ   ของงาน  ให้ช่างหรือผู้ปฏิบัติงานมีความเข้าใจตรงกันกับผู้ออกแบบ  สามารถอ่านแบบได้ถูกต้อง ปฏิบัติตามรูปแบบรายการที่กำหนดไว้ นำไปสร้างหรือผลิตชิ้นงานต่อไป

การแบ่งอาชีพงานเขียนแบบนั้น  จะเป็นการแบ่งตามลักษณะวิชาหลัก ๆ  โดยจะยึดพื้นฐานอาชีพทางด้านช่างอุตสาหกรรมเป็นหลัก  ดังนั้นจึงขอสรุปอาชีพของงานเขียนแบบออกได้ดังนี้

                1.  เขียนแบบเครื่องกล

                2.  เขียนแบบสถาปัตยกรรม

                3.  เขียนแบบไฟฟ้า - อิเล็กทรอนิกส์
   

                4.  เขียนแบบลายเส้นหรือเขียนแบบทางศิลปะ            

        การออกแบบ  หมายถึง การทำต้นแบบ การทำแผนผังของแบบเพื่อสนองความคิดและความต้องการของผู้ออกแบบในรูปแบบของความคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ  โดยคำนึงถึงความสวยงามประโยชน์การใช้สอย  ประเภทของการออกแบบยังรวมถึงการปรับปรุงแก้ไขสิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้วให้เกิดความเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงขณะนั้น  องค์ประกอบในการออกแบบเบื้องต้น มีดังนี้

                1. เส้น (Line) คือ สิ่งที่เชื่อมโยงระหว่างจุดสองจุดหรือจุดที่ต่อเนื่องกัน ทำให้เกิดรูปร่าง รูปทรง และโครงสร้าง  เส้นที่ใช้ในการออกแบบ  เช่น  เส้นตรง เส้นนอน เส้นตั้ง เส้นทแยง และเส้นโค้ง เป็นต้น                     

                2. รูปร่าง (shape)คือ รูป 2 มิติ ที่มีความกว้าง   ความยาว  โดยมีเส้นเป็นส่วนประกอบ  มีทั้งรูปร่างเรขาคณิต และรูปร่างอิสระ

                3. รูปทรง (Form)คือ รูปลักษณะด้านสามด้าน หรือรูปสามมิติ ที่มีความกว้าง  ความยาว และความสูง  มีเนื้อที่ภายในขอบเขต  เช่น  รูปทรงเรขาคณิต  รูปทรงอิสระ  เป็นต้น

                4. สัดส่วน (Proportion)คือ ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้าง  ความยาว  และความสูง ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ  เป็นสัดส่วนต่อกันช่วยให้ส่วนประกอบของรูปทรงมีความสัมพันธ์กันในลักษณะกลมกลืนกัน หรือขัดแย้งกัน

                5. วัสดุและพื้นผิว (Material and Texture)คือ วัตถุดิบที่จะนำมาใช้ในการออกแบบ มีลักษณะของพื้นผิวที่แตกต่างกัน สามารถรับรู้ได้จากการมองเห็นหรือการสัมผัส เพื่อที่จะนำมาใช้ในการออกแบบได้อย่างถูกต้อง

                6. สี (Color)  สีที่ให้ความรู้สึกที่ปรากฏให้เห็นด้วยคลื่นแสง  สีช่วยทำให้งานออกแบบมีความรู้สึกและได้อารมณ์มากยิ่งขึ้น

        การนำเอาหลักการทั้งหมดขององค์ประกอบในการออกแบบมาสร้างหรือผลิตชิ้นงานทางช่าง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความต้องการของผู้ออกแบบ  ที่จะจัดองค์ประกอบต่าง ๆ  ผสมผสานกัน จนเป็นผลงานที่มีความสมบูรณ์ออกมา 
        การเขียนแบบ หมายถึง การนำเอาความคิดสร้างสรรค์มาเขียนหรือแสดงออกเป็นรูปแบบ โดยการใช้เส้น  รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ พร้อมรายการประกอบแบบ เป็นการแสดงให้เห็นรูปลักษณะที่เหมือนของจริง  สามารถนำไปใช้สร้างหรือผลิตชิ้นงานได้จริง เป็นการแสดงโครงสร้าง  รูปด้าน รูปลักษณะภายในของสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ   ซึ่งแบบที่ใช้กันโดยทั่วไป ได้แก่  รูปแปลน (Plan)  รูปด้าน (Elevation)  รูปตัด (Section)  และรูปขยาย (Detail)

         โดยปกติทั่วไป สามารถมองเห็นว่าวัตถุทั้งหลายล้วนประกอบด้วยด้าน 6 ด้าน คือ ด้านบน ด้านล่าง  ด้านหน้า  ด้านหลัง  ด้านซ้าย  และด้านขวา    แต่ในวิชาเขียนแบบ  วัตถุที่นำไปเขียนจะประกอบด้วย  รูปแปลน  รูปด้านหน้า  รูปด้านข้าง  และรูปด้านหลัง  ซึ่งแต่ละรูปมีความหมายดังนี้

                1) รูปแปลน (Plan) หมายถึง รูปที่มองเห็นจากด้านบนลงมา ประกอบด้วยส่วนกว้าง และส่วนยาว

                2) รูปด้านหน้า (Front Elevation) หมายถึง  รูปที่มองเห็นจากด้านหน้าเข้าไป   ซึ่งประกอบด้วยส่วนกว้างและส่วนยาว

                3) รูปด้านข้าง (Side Elevation) หมายถึง  รูปที่มองเห็นจากด้านซ้ายหรือด้านขวาไป ประกอบด้วยส่วนยาวและส่วนสูง

                4) รูปด้านหลัง (Rear Elevation) หมายถึง  รูปที่มองเห็นจากส่วนด้านหลังเข้ามา ประกอบด้วยส่วนกว้างและส่วนสูง

                5) รูปตัด (Section) เป็นการตัดสิ่งที่ต้องการทราบในส่วนที่มองไม่เห็นหรืออยู่ภายใน  ซึ่งไม่สามารถแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนในรูปอื่น ๆ ดังนั้น จึงต้องมีการเขียนภาพตัดเพื่อแสดงรายละเอียดของส่วนสำคัญต่าง ๆ  ให้เข้าใจและนำไปใช้งานได้ ภาพตัดจะมีการเติมสัญลักษณ์การตัด   แสดงขอบเขต  ตำแหน่งและทิศทางที่ถูกตัด  พร้อมมีอักษรกำกับไว้ เพื่อให้สะดวกแก่การทำความเข้าใจ

                6) รูปขยาย (Detail) เป็นการเขียนแบบส่วนรายละเอียดของชิ้นงานเฉพาะจุดให้ชัดเจนด้วยการขยายมาตราส่วนให้ใหญ่ขึ้นกว่าเดิม  เช่น 2 : 1 หรือ 5 :1  เป็นต้น

               สรุป
                จากความเป็นมาดังกล่าว  งานเขียนแบบมีบทบาทสำคัญมาตั้งแต่อดีตกาลจนถึงปัจจุบัน  อาชีพงานเขียนแบบได้แตกแขนงออกไปอย่างมากมาย   จนสามารถกำหนดเป็นลักษณะวิชาชีพงานเขียนแบบได้  เช่น  ช่างเขียนแบบเครื่องกล  ช่างเขียนแบบสถาปัตยกรรม  ช่างเขียนแบบไฟฟ้า  อิเลคทรอนิกส์  เป็นต้น

                ในส่วนของผู้เริ่มต้นการศึกษาวิชาเขียนแบบนั้น  จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาพื้นฐานต่าง  ๆ  เป็นอย่างดีก่อนที่จะศึกษารายละเอียดหรือรูปแบบวิธีการเขียนแบบต่าง  ๆ  ต่อไป  ดังนั้น  เพื่อเป็นการฝึกพื้นฐานของงานออกแบบเขียนแบบ  จึงขอให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติตามแบบฝึกให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง  ตลอดจนศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ  ตำรา  และคำแนะนำจากผู้รู้  เพื่อเป็นการพัฒนาตนเอง ให้มีความรู้ความเข้าใจ  และมีทักษะในการเขียนแบบมากขึ้นอีกด้วย
 

สร้างโดย: 
ครูวิชาญ ฤทธิเดช

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 447 คน กำลังออนไลน์