• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:350553d52ca13dd4e53a84401f02b459' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><i><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #808080\"><u><span style=\"color: #ff0000\">รั</span>ฐ<span style=\"color: #ff0000\">ป</span>ร<span style=\"color: #ff0000\">ะ</span>ห<span style=\"color: #ff0000\">า</span>ร <span style=\"color: #ff0000\">2</span>5<span style=\"color: #ff0000\">0</span>0</u></span></span></i></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><b><i><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\"></span></i></b><b><i><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p></o:p></span></i></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\'\" lang=\"TH\">  <sub>   <span style=\"color: #0000ff\">  <span style=\"background-color: #00ffff\">   สถาบันพระปกเกล้า การรัฐประหาร </span></span></sub></span><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\'\"><span style=\"background-color: #00ffff\"><span style=\"color: #ff0000\"><sub><span style=\"color: #0000ff\">16 <span lang=\"TH\">กันยายน </span>2500 <span lang=\"TH\">เป็นการรัฐประหารครั้งสำคัญ ที่ทำให้กลุ่มผู้นำรัฐบาลที่เคยมาจากคณะราษฎรสิ้นสุดลงอย่างสิ้นเชิงพร้อมกับเจตนารมณ์ของการปฏิวัติ</span> 2475 <span lang=\"TH\">การรัฐประหารครั้งนี้ เป็นจุดเริ่มต้นของการฟื้นฟูสถานภาพของกลุ่มอนุรักษ์นิยมภายหลังการปฏิวัติทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรมให้กลับมาสูงเด่นจนสามารถกลายเป็นอุดมการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในการเมืองไทยในปัจจุบัน สถานการณ์การเมืองไทยในช่วงปลายทศวรรษที่ </span>2490 <span lang=\"TH\">นั้นเป็นห้วงเวลาที่ความขัดแย้งระหว่าง การเมืองสามเส้า ระหว่างรัฐบาล ตำรวจและกองทัพ หรือการเมือง </span>3 <span lang=\"TH\">เส้า (</span>The Triumvirate) <span lang=\"TH\">ซึ่งจอมพล ป. พิบูลสงคราม-นายกรัฐมนตรี ได้ใช้ทั้ง </span>2 <span lang=\"TH\">กลุ่มคานอำนาจระหว่างกันตลอดมาในรอบหลายปีเพื่อรักษาเสถียรภาพของรัฐบาล ดังนั้น ทางออกจากปัญหาการเมืองสามเส้า ในความคิดของจอมพล ป. คือการทำให้คู่แข่งขันทั้งหมด คือ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และพลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ เดินไปบนเส้นทางการแข่งขันทางการเมืองด้วยกระบวนการเลือกตั้งให้ประชาชนตัดสินใจและลดการใช้กำลังรัฐประหารลง เนื่องจากอาจเป็นทางเลือกเดียวที่ดีที่สุด สำหรับจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีที่ไม่มีอำนาจในการสั่งการกองทัพหรือตำรวจอย่างเต็มที่ ในขณะที่การต่อสู้ระหว่างการเมืองสามเส้าดำเนินไป กลุ่มอนุรักษ์นิยมเริ่มทวีบทบาทมากขึ้นอีกจนสามารถก้าวขึ้นมาเป็นกลุ่มการเมืองสำคัญได้ ภายหลังการเดินทางกลับจากการเยือนต่างประเทศในปี </span>2498 <span lang=\"TH\">จอมพล ป. ได้เริ่มต้นโครงการพัฒนาประชาธิปไตยขึ้น ด้วยการอนุญาตให้มีการเปิดการปราศรัยหรือ</span> “<span lang=\"TH\">การไฮด์ปาร์ค</span>” <span lang=\"TH\">ที่ท้องสนามหลวงและตามจังหวัดต่างๆทั่วประเทศ จากนั้นได้มีการตราพระราชบัญญัติพรรคการเมือง </span>2498 <span lang=\"TH\">ขึ้นเพื่อให้มีการจัดตั้งพรรคการเมืองแข่งขันกัน พรรคการเมืองสำคัญๆ เช่น พรรคเสรีมนังคศิลา พรรคประชาธิปัตย์ พรรคเศรษฐกร พรรคเสรีประชาธิปไตย พรรคขบวนการไฮด์ปาร์ค พรรคชาตินิยม ฯลฯ จากนั้น รัฐบาลได้จัดการเลือกตั้ง </span>26 <span lang=\"TH\">กุมภาพันธ์ </span>2500 <span lang=\"TH\">การเลือกตั้งครั้งนี้ จอมพล ป. ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นครั้งแรกด้วย ผลการเลือกตั้งรวมทั้งประเทศ ปรากฏว่า พรรคเสรีมนังคศิลา ได้รับการสนับสนุนมากที่สุดถึง </span>83 <span lang=\"TH\">ที่นั่ง พรรคประชาธิปัตย์ </span>28 <span lang=\"TH\">ที่นั่ง พรรคเสรีประชาธิปไตย </span>11 <span lang=\"TH\">ที่นั่ง พรรคธรรมาธิปัตย์ </span>10 <span lang=\"TH\">ที่นั่ง พรรคเศรษฐกร </span>8 <span lang=\"TH\">ที่นั่ง พรรคชาตินิยม </span>3 <span lang=\"TH\">ที่นั่ง พรรคขบวนการไฮด์ปาร์ค </span>2 <span lang=\"TH\">ที่นั่ง พรรคอิสระ </span>2 <span lang=\"TH\">ที่นั่ง และ ผู้สมัครอิสระไม่สังกัดพรรค </span>13 <span lang=\"TH\">ที่นั่ง รวม </span>160 </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">ที่นั่ง</span> </span><o:p></o:p></sub></span></span></span></span><span style=\"background-color: #00ffff\"><span style=\"color: #ff0000\"><sub><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Cordia New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </sub></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #00ffff\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span>สร้างโดย: นายวุฒิไกร ธรรมมา ชั้นม.6/1 เลขที่ 15\n</p>\n<p>\nแหล่งอ้างอิง: <a href=\"http://www.valuba.com/story/view/537407.html\" title=\"http://www.valuba.com/story/view/537407.html\">http://www.valuba.com/story/view/537407.html</a>\n</p>\n', created = 1718498945, expire = 1718585345, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:350553d52ca13dd4e53a84401f02b459' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รัฐประหาร 16 กันยายน 2500 (การเมือง)

รูปภาพของ sila15039

รั2500

          สถาบันพระปกเกล้า การรัฐประหาร 16 กันยายน 2500 เป็นการรัฐประหารครั้งสำคัญ ที่ทำให้กลุ่มผู้นำรัฐบาลที่เคยมาจากคณะราษฎรสิ้นสุดลงอย่างสิ้นเชิงพร้อมกับเจตนารมณ์ของการปฏิวัติ 2475 การรัฐประหารครั้งนี้ เป็นจุดเริ่มต้นของการฟื้นฟูสถานภาพของกลุ่มอนุรักษ์นิยมภายหลังการปฏิวัติทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรมให้กลับมาสูงเด่นจนสามารถกลายเป็นอุดมการณ์ทางการเมืองที่สำคัญในการเมืองไทยในปัจจุบัน สถานการณ์การเมืองไทยในช่วงปลายทศวรรษที่ 2490 นั้นเป็นห้วงเวลาที่ความขัดแย้งระหว่าง การเมืองสามเส้า ระหว่างรัฐบาล ตำรวจและกองทัพ หรือการเมือง 3 เส้า (The Triumvirate) ซึ่งจอมพล ป. พิบูลสงคราม-นายกรัฐมนตรี ได้ใช้ทั้ง 2 กลุ่มคานอำนาจระหว่างกันตลอดมาในรอบหลายปีเพื่อรักษาเสถียรภาพของรัฐบาล ดังนั้น ทางออกจากปัญหาการเมืองสามเส้า ในความคิดของจอมพล ป. คือการทำให้คู่แข่งขันทั้งหมด คือ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และพลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ เดินไปบนเส้นทางการแข่งขันทางการเมืองด้วยกระบวนการเลือกตั้งให้ประชาชนตัดสินใจและลดการใช้กำลังรัฐประหารลง เนื่องจากอาจเป็นทางเลือกเดียวที่ดีที่สุด สำหรับจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีที่ไม่มีอำนาจในการสั่งการกองทัพหรือตำรวจอย่างเต็มที่ ในขณะที่การต่อสู้ระหว่างการเมืองสามเส้าดำเนินไป กลุ่มอนุรักษ์นิยมเริ่มทวีบทบาทมากขึ้นอีกจนสามารถก้าวขึ้นมาเป็นกลุ่มการเมืองสำคัญได้ ภายหลังการเดินทางกลับจากการเยือนต่างประเทศในปี 2498 จอมพล ป. ได้เริ่มต้นโครงการพัฒนาประชาธิปไตยขึ้น ด้วยการอนุญาตให้มีการเปิดการปราศรัยหรือการไฮด์ปาร์คที่ท้องสนามหลวงและตามจังหวัดต่างๆทั่วประเทศ จากนั้นได้มีการตราพระราชบัญญัติพรรคการเมือง 2498 ขึ้นเพื่อให้มีการจัดตั้งพรรคการเมืองแข่งขันกัน พรรคการเมืองสำคัญๆ เช่น พรรคเสรีมนังคศิลา พรรคประชาธิปัตย์ พรรคเศรษฐกร พรรคเสรีประชาธิปไตย พรรคขบวนการไฮด์ปาร์ค พรรคชาตินิยม ฯลฯ จากนั้น รัฐบาลได้จัดการเลือกตั้ง 26 กุมภาพันธ์ 2500 การเลือกตั้งครั้งนี้ จอมพล ป. ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นครั้งแรกด้วย ผลการเลือกตั้งรวมทั้งประเทศ ปรากฏว่า พรรคเสรีมนังคศิลา ได้รับการสนับสนุนมากที่สุดถึง 83 ที่นั่ง พรรคประชาธิปัตย์ 28 ที่นั่ง พรรคเสรีประชาธิปไตย 11 ที่นั่ง พรรคธรรมาธิปัตย์ 10 ที่นั่ง พรรคเศรษฐกร 8 ที่นั่ง พรรคชาตินิยม 3 ที่นั่ง พรรคขบวนการไฮด์ปาร์ค 2 ที่นั่ง พรรคอิสระ 2 ที่นั่ง และ ผู้สมัครอิสระไม่สังกัดพรรค 13 ที่นั่ง รวม 160 ที่นั่ง  

สร้างโดย: นายวุฒิไกร ธรรมมา ชั้นม.6/1 เลขที่ 15

แหล่งอ้างอิง: http://www.valuba.com/story/view/537407.html

รูปภาพของ silavacharee

Kiss

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 1082 คน กำลังออนไลน์