• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:05b9c83b5bd6a901094787df7773d823' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000; font-family: Microsoft Sans Serif\"><strong>วิธีการกำเนิดเเรงดันไฟฟ้าแบบต่างๆ</strong></span><span style=\"font-size: x-small\"></span></p>\n<p><span style=\"font-family: Microsoft Sans Serif\">   <span style=\"color: #ff0000\">  โดยทั่วไปไฟฟ้าเกิดขึ้นได้หลายวิธีด้วยกัน แต่วิธีที่สำคัญซึ่งทำให้เกิดไฟฟ้าได้นั้น พอจะสรุปได้ เช่น เกิดจากการขัดสี<br />\nปฏิกิริยา ความร้อน แสงสว่าง แรงกดดัน และอำนาจแม่เหล็ก   ซึ่งลักษณะการเกิดไฟฟ้าในแต่ะวิธีดังนี้<br />\n</span><br />\n</span>\n</p>\n<hr width=\"50%\" />\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff\"><strong>ไฟฟ้าที่เกิดจากการขัดสี</strong></span></span></p>\n<p>   <span style=\"color: #00ccff\">  เกิดจากการที่วัตถุสองชนิดที่แตกต่างกันมาขัดสีกัน ทำให้วัตถุชนิดหนึ่งเสียอิเล็กตรอนให้แก่ วัตถุอีกชนิดหนึ่ง วัตถุที่<br />\nเสียอิเล็กตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก วัตถุที่ได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้นจะมีประจุไฟฟ้าลบ ไฟฟ้าเกิดจากการขัดสีนี้เรียกว่า<br />\nไฟฟ้าสถิต  วัตถุที่นำมาขัดสีให้เกิดประจุไฟฟ้าได้ง่าย เช่น แท่งแก้ว แท่งอำพัน แท่งยางแข็ง ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ ผ้าแพร <br />\nเป็นต้น</span></p>\n<p>    จากการทดลองเอาแท่งยางแข็งถูกับผ้าขนสัตว์ อิเล็กตรอนจะไหลออกมาจากผ้าขนสัตว์ไปสู่แท่งยางแข็งเกิดประจุไฟฟ้า<br />\nลบในแท่งยางแข็ง ถ้านำแท่งยางแข็งไปทดลองกับเครื่องมือตรวจไฟฟ้าสถิตที่เรียกว่า อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)<br />\nจะพบว่าแท่งยางแข็งมีประจุไฟฟ้าลบเกิดขึ้นตัวอย่างเช่น คนตกใจโดยกระทันหันเนื่องจากเดินด้วยเท้าเปล่าบนพรมซึ่งทำ<br />\nด้วยผ้าขนสัตว์ ทั้งนี้เพราะเกิดจากการขัดสีระหว่างเท้ากับพรม ทำให้เกิดประจุไฟฟ้าไหลเข้าสู่ตัวคน ตัวอย่างไฟฟ้าที่เกิด<br />\nขึ้นจากการ ขัดสี ตามปรากฏการณ์ธรรมชาติ ได้แก่ก้อนเมฆกับอากาศ ก้อนเมฆได้รับอิเล็กตรอนจากอากาศและสะสมไว้มาก<br />\nๆ อิเล็กตรอนจึงหาทางถ่ายเทไปให้ก้อนเมฆอื่นๆ ขณะถ่ายเทจะทำให้เห็นเป็นฟ้าแลบเกิดขึ้นหากอิเล็กตรอนถ่ายเทให้กับพื้น<br />\nดินก็จะทำให้เกิดฟ้าผ่า และถ้าอิเล็กตรอนที่ถ่ายเทจากก้อนเมฆผ่านลงมาถูกคน สัตว์ ต้นไม้ อาคาร หรือสถานที่ก็จะทำให้<br />\n้เกิดอันตรายแก่สิ่งที่อิเล็กตรอนนั้นผ่านได้\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #00ccff; font-family: Microsoft Sans Serif\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #00ccff; font-family: Microsoft Sans Serif\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #00ccff; font-family: Microsoft Sans Serif\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #00ccff; font-family: Microsoft Sans Serif\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong>ไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี</strong></span><br />\n</span><span style=\"font-size: x-small\"><br />\n<span style=\"color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif\">  <span style=\"color: #ff9900\">  ได้มาจากการทดลองที่เรียกว่า วอลเทอิก เซลล์ซึ่งประกอบด้วยแท่งทองแดงกับสังกกะสีจุ่มลงในกรดกำมะถัน หรือกรด<br />\nซัลฟิวริก ซึ่งใช้เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ โลหะสองชนิดนี้จะทำปฏิกิริยาเคมีกับกรดกำมะถัน เกิดไฟฟ้าขึ้นซึ่งเป็นกระแส<br />\nตรงโดยมีสังกะสีเป็นขั้วลบและทองแดงเป็นขั้วบวกสามารถนำไป ทดลองกับหลอด ไฟฟ้าเล็กๆ ซึ่งจะทำให้หลอดไฟติดได้ ต่อมาภายหลังวิวัฒนาการมา เป็น เซลล์แห้ง (ถ่านไฟฉาย ) กับ (แบตเตอรี่)</span></span></span></p>\n<p>    1. เซลล์แห้ง (Dry Cell ) <br />\n     ประกอบด้วยกระป๋องสังกะสีซึ่งใช้เป็นขั้วลบ และมีแท่งคาร์บอนอยู่กลางซึ่งเป็นขั้วบวก ส่วนสารละลายอิเล็ก โทรไลต์<br />\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif\"><span style=\"color: #ff9900\">จะใช้สารละลายของแอมโมเนียคลอไรด์ผสมแมงกานีสไดออกไชด์ ที่ก้นกระป๋องจะมียางมะตอยกับยาง กั้นไม่ให้แท่งคาร์<br />\n์บอนแตะกับก้นกระป๋องส่วนด้านบนใส่ขี้เลื่อยหรือยางมะตอยแล้วปิดฝาครอบแท่งคาร์บอน เมื่อใช้เซลล์แห้งจนหมดกระป๋อง<br />\nแสดงว่าสังกะสีกับอิเล็กโทรไลต์จะทำปฏิกิริยากันจนหมดไม่สามารถจะทำให้เกิด ปฏิกิริยาได้อีกจึงไม่มีไฟฟ้าเกิดขึ้น ดังนั้น<br />\nเซลล์แห้งจึงมีช่วงเวลาการใช้งานได้น้อย<br />\n     2. เซลล์ปฐมภูมิ (primary cell) <br />\n     จากการทดลองของวอลตา นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาเลียนพบว่า เมื่อนำโลหะสองชนิดที่แตกต่างกันเช่น สังกะสีกับทอง<br />\nแดงจุ่มลงในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ โดยอิเล็กตรอน(ประจุลบ) จากทองแดงจะถูกดูดเข้าไปยังขั้วของสังกะสีเมื่อทองแดง<br />\nขาดประจุลบจะเปลี่ยนความต่างศักย์ไฟฟ้าเป็นบวกทันทีเรียกว่าขั้วบวกส่วนสังกะสีจะเป็นขั้วลบตามความต่างศักย์ที่ปรากฏ<br />\nถ้าต่อวงจรไฟฟ้า ให้ครบวงจร การถ่ายเท อิเล็กตรอนก็จะเกิดขึ้น ซึ้งเรียกว่ามีการ ไหลของกระแสไฟฟ้านั่นเองและถ้าปล่อย<br />\nให้มีการไหลของกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นเช่นนั้นเลื่อยๆจะปรากฏว่าแท่งสังกะสีที่ เป็นขั้วลบจะเกิดการสึกกร่อนไปที่ละน้อยส่วน<br />\nที่แท่งทองแดงที่เป็นขั้วบวกจะมีฟองก๊าซอยุ่รอบๆและการทำงานนี้จะไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปไม่สามารถจะจ่ายกระแสไฟฟ้าออก<br />\nมาได้ เราเรียก วงจรแบบนี้ว่าเซลล์ตาย(Dead Cell) หรือ เซลล์ปฐมภูมิ (Primary  Cell) นั่นเอง<br />\n      3. เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary Cell)<br />\n       เป็นเซลล์ที่เมื่อใช้ไฟหมด แล้วสามารถอัดไฟได้ใหม่โดยทั่วไปจะมีพื้นที่ที่เป็นแผ่นโลหะใหญ่มาก เพื่อทำให้ปฏิกิริยา<br />\nเคมีเกิดขึ้นมากที่สุดดังนั้นกระแสไฟฟ้าที่เกิดก็จะมากด้วยตามพื้นที่โลหะระหว่างแผ่นและแผ่นบวกจะมีฉนวนกั้น ซึ่งอาจ<br />\nจะเป็นไม้หรือแก้วพรุนเพื่อให้สารละลายอิเล็กโทรไลต์ผ่านไปได้ขั้วบวกและขั้วลบจะต่อยืดกับฝายางที่กันกรดได้และยังมีรู สำหรับเติมน้ำกลั่นให้กับสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ได้อีกด้วย เพราะขณะที่ใช้สารละลายอิเล้กโทรไลต์จะระเหยไป นอกจาก<br />\nนี้ยังเป็นทางปล่อยให้ก๊าซที่เกิดจากแผ่นบวกออกไปสู่ภายนอกได้อีกด้วย<br />\n      4. แบตเตอรี่ (Battery) <br />\n       คือ เซลล์ทุติยภูมิตั้งแต่สองเซลล์ที่มาต่อเข้าด้วยกันเมื่อใช้ไฟหมดแล้วสามารถอัดไฟให้มีใหม่ได้อีกแบตเตอรี่ทั่วไป<br />\nมักจะใช้เซลล์สามช่องหรือหกช่องต่ออนุกรมกัน แต่ละช่องจะได้ไฟสองโวลต์ เช่นถ้าต่อ3 ช่องก็ได้ 6 โวลต์ ถ้าต่อ 6 ช่อง <br />\nได้ 12 โวลต์ อิเล็กทรอนิกส์จะทำงานได้ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้า เช่นเซลล์หรือแบตเตอรี่ซึ่งมีขนาดตั้งแต่เท่ากระดุมที่ใช้<br />\nกันในกล้องถ่ายรุปและเครื่องช่วยฟังโดยมีแรงดัน ประมาณ 1.3 โวลต์ จนถึงขนาดถ้วยแก้วที่ใช้ในห้องทดลอง เซลล์เปียก<br />\nหรือ แบตเตอรี่จะให้กระแสไฟฟ้า ได้สูงกว่าเซลล์แห้งจึงใช้ได้นานกว่า ด้วยเหตุนี้แบตเตอรี่ในรถยยนต์จึงสามารถใช้กับ<br />\nอุปกรณ์ทุกชนิด เช่นพัดลมละบายความร้อนมอเตอร์ปัดน้ำฝนมอเตอร์ เร่ง หรือมอเตอร์ฉุดหลอดไฟเป็นต้น แบตเตอรี่รถ<br />\nยนต์เป็น ชนิดกรด   แต่ยังมีอีกชนิดหนึ่งคือชนิดด่างซึ่งมีข้อดีบางอย่างที่ดีกว่าชนิดกรด เช่น  ไม่กัดแบตเตอรี่และตัวรถ<br />\nแบตเตอรี่ทั้งสองชนิดรวมกั้นเรียกว่าแบตเตอรี่เปียก หรือแอคูบูเลเตอร์ เมื่อใช้ไฟหมดแล้ว สามารถอัดไฟเข้าไปใหม่ได้</span> <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong>ไฟฟ้าที่เกิดจากความร้อน</strong></span><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"></span></span></p>\n<p>     <span style=\"color: #ff99cc\">เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองนี้เรียกว่าเทอร์โมคัปเปิลซึ่งประกอบด้วยทองแดงและแผ่นเหล็กส่วนหนึ่งของ โลหะ เหล็ก <br />\nทั้งสองนั้นใช้หมุดย้ำให้ติดแน่นเข้าด้วยกันตรงปลายของแท่ง โลหะทั้งสองมีสายต่อไปหาเครื่องมือวัดแรงดันไฟฟ้าหรือ<br />\nโวลต์มิเตอร์เมื่อใช้ความร้อนเผาอิเล็กตรอนจะไหลออกจาก ทองแดง แผ่นทองแดงผ่านโวลต์มิเตอร์กลับไปยังแผ่นเหล็กแล้ว<br />\nไหลวน เวียนเช่นเดิมตราบที่ยังร้อนอยู่ซึ่งสังเกต จากเข็มของโวลต์มิเตอร์ จะเบนขึ้นนั่นแสดงว่ามีแรงดันไฟฟ้าเกิดขึ้นใน<br />\nเทอร์โมคัปเปิล<br />\n</span><br />\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif\"></span></p>\n<hr width=\"50%\" />\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"font-size: small; color: #008000\"><strong>ไฟฟ้าเกิดจากแสงสว่าง</strong></span></span></p>\n<p>     <span style=\"color: #00ff00\">สารบางชนิดเมื่ออยู่ในที่มืดจะแสดงปฎิกิริยาใดๆออกมา แต่เมื่อถูกแสงแดดแล้วสารนั้นสามารถที่จะปล่อยอิเล็กตรอน<br />\nได้ เป็นเวลาหลายสิบปีนักวิทยาศาสตร์พยายามที่จะเปลี่ยนแปงพลังงานไฟฟ้าแต่ยังนำแสงสว่างมาใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก<br />\nเช่น อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า โฟโตวอลเทอิก เซลล์   ซึ่งประกอบด้วยวัตถุวางเป็นชั้นๆ เมื่อถูกกับแสงสว่างอิเล็กตรอน<br />\nที่เกิดขึ้นจะวิ่งจากด้านบนไป สู่โวลต์มิเตอร์แล้วไหลกลับมาชั้นล่างมื่อดูที่เข็มของโวลต์ โฟโต้เซลล์ มิเตอร์จะเห็นเได้อย่าง<br />\nชัดเจนว่ามีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น ยังมีหลอดอีกชนิดหนึ่งที่เรียกว่า โฟโต-วอลเทอิก เซลล์(อิเล็กตริกอาย หรือ พี.อี.เซลล์)ซึ่งใช้<br />\nมากในวงการอุตสาหกรรม เช่น ในกล้องถ่ายรูปที่มีเครื่องวัดแสงโดยอัตโนมัติ   ระบบไฟฟ้าอัตโนมัติหน้ารถยนต์ เครื่อง<br />\nฉายภาพยนตร์ เสียงสวิตช์ปิดเปิด ประตูอัตโนมัติ โดยจะมีหลักการทำงานแบบง่ายๆ เมื่อลำแสงมากระทบโฟโตเซลล์ก็จะ<br />\nเกิดอิเล็กตรอนไหลในวงจรนั้นๆได้<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"color: #00ff00\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"color: #00ff00\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"color: #00ff00\"><span style=\"color: #ff9900\"><strong>ไฟฟ้าที่เกิดจากแรงกดดัน</strong></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"></span></span></span></p>\n<p><span style=\"color: #000000\">    <span style=\"color: #ffcc00\"> เมื่อเราพูดไปในไมโครโฟนหรือโทรศัพท์แบบต่างๆคลื่นของความแรงกดดันของพลังงานเสียงจะทำให้แผ่นไดอะ<br />\nแฟรม เคลื่อนไหว ซึ่งแผ่นไดอะแฟรมจะทำให้ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กจึงทำให้เกิดพลังงานไฟฟ้าซึ่งถูกส่ง<br />\nไปตามสายจนถึงเครื่องรับ   บางทีไมโครโฟนที่ใช้กับเครื่องขยายเสียงหรือเครื่อง วิทยุก็ใช้หลักการเช่นนี้เหมือนกัน<br />\nอย่างไรก็ตามไมโครโฟนทุกชนิดมีหลักการทำงานที่เหมือนกัน คือใช้เปลี่ยนคลื่นแรงกดของเสียงให้เป็นไฟฟ้าโดยตรง<br />\nนั่นเอง ผลึกของวัตถุบางอย่างถ้า ถูกกรดจะทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นได้ เช่น หินเขี้ยวหนุมาน หินทูมาลีน และเกลือโรเลล์ <br />\nซึ่งแสดงให้ เห็นได้อย่างดีว่าแรงกดเป็นต้นกำเนิดไฟฟ้าถ้าเอาผลึกที่ทำจากวัสดุเหล่านี้สอดเข้าไประหว่างโลหะ ทั้งสอง<br />\nนั้นจะมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับแรงกดหรืออาจจะใช้ผลึกนี้เปลียนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลัง งานกลได้โดยจ่ายประจุ<br />\nเข้าที่แผ่นโลหะทั้งสองเพราะจะทำให้ผลึกนั้นหดตัวและขยายตัวออกได้ตาม ปริมาณของประจุ ต้นกำเนิดไฟฟ้าที่ใช้แรง<br />\nกดนี้นำไปใช้ได้แต่มีขอบเขตจำกัดคือ ใช้ได้เฉพาะกับอุปกรณ์ ที่ใช้กำลังต่ำมาก เช่น ไมโครโฟนชนิดแร่ หูฟังชนิดแร่ <br />\nหัวเข็มรับเครื่องเล่นจานเสียง และเครื่องโซน่าร์ซึ่งใช้ส่งคลื่นใต้น้ำ เหล่านี้ล้วนแต่ใช้ผลึกทำให้เกิดไฟฟ้าด้วยแรงกด<br />\nทั้งสิ้น ดังนั้นเวลากรอกเสียงพูดลงในไมโครโฟนหรือเครื่องโทรศัพท์ แผ่นไดอะแฟรมซึ่งเชื่อมโยงติดกับครีสตอลจะเกิด<br />\nแรงดันไฟฟ้ามากน้อยแล้วแต่จังหวะพูด ในขณะที่เสียงพูดกระทบแผ่นไดอะแฟรมก็จะถูกเปลี่ยนเป็นอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้า<br />\nไหลเข้าสู่เครื่องขยายเสียง เพื่อให้ออกมาเป็นเสียงดังทางลำโพงขยายเสียงต่อไป</span><br />\n <br />\n</span><br />\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"color: #00ff00\"></span></span></p>\n<hr width=\"50%\" />\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"color: #000080\"><strong><span style=\"font-size: small\">ไฟฟ้าที่เกิดจากอำนาจแม่เหล็ก</span><br />\n</strong></span><br />\n     <span style=\"color: #00ccff\">จากการทดลองของไมเคิล ฟาราเดย์นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษพบว่าเมื่อนำแท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่ผ่าน ขดลวดหรือนำ<br />\nขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้นในขดลวดนั้นและยังสรุปต่อไปได้อีกว่ากระแสไฟฟ้า<br />\nจะเกิดได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ</span></span><span style=\"color: #00ccff\"> </span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><br />\n<span style=\"color: #00ccff\">     1.จำนวนขดลวด ถ้าขดลวดมีจำนวนมากก็จะเกิดแรงดัน ไฟฟ้าเหนี่ยวนำมากด้วย<br />\n     2.จำนวนเส้นแรงแม่เหล็ก ถ้าเส้นแรงแม่มีจำนวนมากก็จะ เกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำมากด้วย<br />\n     3.ความเร็วในการเคลื่อนที่ของแม่เหล็ก ถ้าเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กเร็วขึ้นก็จะเกิดแรงดันไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ซึ่งต่อมาได้<br />\n        นำหลักการนี้มาคิดประดิษฐ์เป็นเครื่องกำเนิด ไฟฟ้าหรือเยนเนอเรเตอร</span></span><span style=\"color: #00ccff\">์<br />\n</span><br />\n \n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><table border=\"0\" width=\"100%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"174\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: small; color: #902493; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><strong>ผลที่ได้รับจากกระแสไฟฟ้า</strong></span><span style=\"font-size: x-small; color: #000000; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"></span></td></tr></tbody></table></p>\n<p>      <span style=\"color: #e64be6\">ทราบมาแล้วว่าการทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้านั้นทำได้<br />\n หลายวิธี เช่น จากปฏิกิริยาเคมี  แรงกดดัน    ความร้อน<br />\n แสงสว่าง อำนาจแม่เหล็กเป็นต้นและในทำนองเดียวกัน<br />\n เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านวัตถุใดๆก็ตามอาจทำให้เกิด<br />\n ผลต่างๆขึ้นได้ดังต่อไปนี้คือ </span>\n<!-- InstanceEndEditable --><!-- InstanceEndEditable -->\n<tr>\n<!-- InstanceBeginEditable name=\"Edit4\" --><!-- InstanceBeginEditable name=\"Edit4\" --><td height=\"377\" colSpan=\"3\" vAlign=\"top\"><span style=\"font-size: small; color: #8a2d8a; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><strong>กระแสไฟฟ้าทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี</strong></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"></span></td></tr></p>\n<p> <span style=\"color: #e64be6\">     เนื่องจากแรงระหว่างประจุไฟฟ้าเป็นแรงยึดเหนี่ยวทางเคมีของสารประกอบกระแสไฟฟ้าสามารถแยกสารประกอบออก<br />\n มาในสภาวะปกติ เรียกว่าการอิเล็กโตรไลซิสและนำหลักการนี้ไป ใช้ในการชุบโลหะเช่นการชุบโครเมียม นิกเกิล หรือเงินวัตถุ<br />\n ที่ต้องการชุบต้องทำความสะอาดให้หมดไขมันเพื่อให้ผิวโลหะจะเคลือบติดแน่น วิธีทำคือ เอาวัตถุที่ต้องการชุบแช่ในน้ำยา<br />\n โดยที่น้ำยาต้องมีส่วนประกอบของโลหะชนิดเดียวกับโลหะที่วัตถุจะสลายตัวออกมาหรือโลหะที่จะเคลือบ เช่น ชุบทองแดง <br />\n ใช้สารละลายทองแดงซัลเฟตเป็นน้ำยา และวัตถุที่จะชุบจะต้องแขวนไว้ที่ขั้วลบของวงจรไฟฟ้าเสมอ สำหรับขั้วบวกจะเป็น<br />\n โลหะ ที่จะสลายตัวออกมา</span></p>\n<p> <span style=\"color: #e64be6\"></span></p>\n<hr width=\"50%\" />\n <span style=\"color: #e64be6\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"font-size: small; color: #8a2d8a\"><strong>กระแสไฟฟ้าทำให้เกิดแรงดัน</strong></span>\n<p>     แรงกดดันที่ไปกระทำกับผลึกสามารถทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าได้ในทางกับกันเมื่อป้อนแรงดัน ไฟฟ้าให้กับผลึกก็จะทำให้<br />\n ผลึกเกิดการบิดงอได้  เช่นป้อนแรงดันคร่อมชิ้นบางๆของผลึกเกลือ รอซเซล แรงเนื่องจากไฟฟ้าจะทำให้เกิดแรงกระทำต่อ<br />\n โครงสร้างของอะตอมและเปลี่ยนรูปร่างของผลึกแผ่นไดอะแฟรมจะเกิดการสั่นทำให้เกิดคลื่นเสียงหูสามารถรับฟังได้</p></span>\n<hr width=\"50%\" />\n </span><span style=\"color: #e64be6\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"font-size: small; color: #8a2d8a\"><strong>กระแสไฟฟ้าทำให้เกิดความร้อน</strong></span>\n<p>     จะเห็นได้ว่าเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทานจะเกิดความร้อนขึ้นความร้อนจะมากหรือ น้อยจะขึ้นอยุ่กับค่า<br />\n ความต้านทานโลหะที่เป็นตัวนำที่เลวจะมีค่าความต้านทานมากเช่นนิโครมเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไปจะเกิดความ<br />\n ร้อนขึ้นทำให้ร้อนและแดงหลักการนี้นำไปใช้ทำ เตารีดไฟฟ้า เตาไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ความร้อนต่างๆ เช่น  เครื่องอบผ้า<br />\n เครื่องปิ้งขนมปังเป็นต้น</p>\n<p> </p></span>\n<hr width=\"50%\" />\n </span><span style=\"color: #e64be6\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"font-size: small; color: #8a2d8a\"><strong>กระแ สไฟฟ้าทำให้เกิดแสงสว่าง</strong></span>\n<p>     เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทานจนมีความร้อนมากก็สามารถเปล่งแสงออกมาได้การ เปล่งของแสงจะมีความ<br />\n ร้อนเกิดขึ้นด้วยนี่คือหลักการทำงานของหลอดไส้ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันตามบ้าน และยังนำหลักการทำงานเช่นนี้มาดัดแปลง<br />\n เพื่อสร้างหลอดไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง มากๆได้ เช่น หลอดนีออน หลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็นต้น ฟลูออเรสเซนต์เป็นหลอด<br />\n ที่ให้แสงนวล  ภายในหลอดมีไอปรอทอยู่ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านก็จะแตกตัวเป็นไอออนและปล่อยแสงอุลตราไวโอเลต<br />\n ซึ่งแสงนี้จะไปกระทบกับสารพวกฟอสเฟอร์ที่เคลือบผิวของหลอดไฟฟ้าทำให้แสงออกมาเป็นสีนวล</p>\n<p> </p></span>\n<hr width=\"50%\" />\n </span><span style=\"color: #e64be6\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #8a2d8a\"><strong>กระแสไฟฟ้าที่ทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็ก</strong></span><br />\n </span><br />\n     เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ตัวนำไฟฟ้าจะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้นรอบๆ ตัวนำนั้นถ้าขดตัวนำให้เป็นขดอยู่รอบแกนเหล็กก็<br />\n จะทำให้แกนเหล็กอันนั้นเป็นแม่เหล็กขึ้นมาได้ จากหลักการนี้สามารถนำไปสร้าง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ประโยชน์ได้มากมาย<br />\n เช่น มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ กระดิ่งไฟฟ้า  และอุปกรณ์ควบคุมวงจรต่างๆเป็นต้น</span>\n<p> </p></span>\n\n\n\n\n<p></p>\n', created = 1729568132, expire = 1729654532, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:05b9c83b5bd6a901094787df7773d823' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แหล่งกำเนิดไฟฟ้า

รูปภาพของ knw32345

วิธีการกำเนิดเเรงดันไฟฟ้าแบบต่างๆ

     โดยทั่วไปไฟฟ้าเกิดขึ้นได้หลายวิธีด้วยกัน แต่วิธีที่สำคัญซึ่งทำให้เกิดไฟฟ้าได้นั้น พอจะสรุปได้ เช่น เกิดจากการขัดสี
ปฏิกิริยา ความร้อน แสงสว่าง แรงกดดัน และอำนาจแม่เหล็ก   ซึ่งลักษณะการเกิดไฟฟ้าในแต่ะวิธีดังนี้


ไฟฟ้าที่เกิดจากการขัดสี

     เกิดจากการที่วัตถุสองชนิดที่แตกต่างกันมาขัดสีกัน ทำให้วัตถุชนิดหนึ่งเสียอิเล็กตรอนให้แก่ วัตถุอีกชนิดหนึ่ง วัตถุที่
เสียอิเล็กตรอนจะมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก วัตถุที่ได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้นจะมีประจุไฟฟ้าลบ ไฟฟ้าเกิดจากการขัดสีนี้เรียกว่า
ไฟฟ้าสถิต  วัตถุที่นำมาขัดสีให้เกิดประจุไฟฟ้าได้ง่าย เช่น แท่งแก้ว แท่งอำพัน แท่งยางแข็ง ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ ผ้าแพร
เป็นต้น

    จากการทดลองเอาแท่งยางแข็งถูกับผ้าขนสัตว์ อิเล็กตรอนจะไหลออกมาจากผ้าขนสัตว์ไปสู่แท่งยางแข็งเกิดประจุไฟฟ้า
ลบในแท่งยางแข็ง ถ้านำแท่งยางแข็งไปทดลองกับเครื่องมือตรวจไฟฟ้าสถิตที่เรียกว่า อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
จะพบว่าแท่งยางแข็งมีประจุไฟฟ้าลบเกิดขึ้นตัวอย่างเช่น คนตกใจโดยกระทันหันเนื่องจากเดินด้วยเท้าเปล่าบนพรมซึ่งทำ
ด้วยผ้าขนสัตว์ ทั้งนี้เพราะเกิดจากการขัดสีระหว่างเท้ากับพรม ทำให้เกิดประจุไฟฟ้าไหลเข้าสู่ตัวคน ตัวอย่างไฟฟ้าที่เกิด
ขึ้นจากการ ขัดสี ตามปรากฏการณ์ธรรมชาติ ได้แก่ก้อนเมฆกับอากาศ ก้อนเมฆได้รับอิเล็กตรอนจากอากาศและสะสมไว้มาก
ๆ อิเล็กตรอนจึงหาทางถ่ายเทไปให้ก้อนเมฆอื่นๆ ขณะถ่ายเทจะทำให้เห็นเป็นฟ้าแลบเกิดขึ้นหากอิเล็กตรอนถ่ายเทให้กับพื้น
ดินก็จะทำให้เกิดฟ้าผ่า และถ้าอิเล็กตรอนที่ถ่ายเทจากก้อนเมฆผ่านลงมาถูกคน สัตว์ ต้นไม้ อาคาร หรือสถานที่ก็จะทำให้
้เกิดอันตรายแก่สิ่งที่อิเล็กตรอนนั้นผ่านได้

ไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี

    ได้มาจากการทดลองที่เรียกว่า วอลเทอิก เซลล์ซึ่งประกอบด้วยแท่งทองแดงกับสังกกะสีจุ่มลงในกรดกำมะถัน หรือกรด
ซัลฟิวริก ซึ่งใช้เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ โลหะสองชนิดนี้จะทำปฏิกิริยาเคมีกับกรดกำมะถัน เกิดไฟฟ้าขึ้นซึ่งเป็นกระแส
ตรงโดยมีสังกะสีเป็นขั้วลบและทองแดงเป็นขั้วบวกสามารถนำไป ทดลองกับหลอด ไฟฟ้าเล็กๆ ซึ่งจะทำให้หลอดไฟติดได้ ต่อมาภายหลังวิวัฒนาการมา เป็น เซลล์แห้ง (ถ่านไฟฉาย ) กับ (แบตเตอรี่)

    1. เซลล์แห้ง (Dry Cell )
     ประกอบด้วยกระป๋องสังกะสีซึ่งใช้เป็นขั้วลบ และมีแท่งคาร์บอนอยู่กลางซึ่งเป็นขั้วบวก ส่วนสารละลายอิเล็ก โทรไลต์
จะใช้สารละลายของแอมโมเนียคลอไรด์ผสมแมงกานีสไดออกไชด์ ที่ก้นกระป๋องจะมียางมะตอยกับยาง กั้นไม่ให้แท่งคาร์
์บอนแตะกับก้นกระป๋องส่วนด้านบนใส่ขี้เลื่อยหรือยางมะตอยแล้วปิดฝาครอบแท่งคาร์บอน เมื่อใช้เซลล์แห้งจนหมดกระป๋อง
แสดงว่าสังกะสีกับอิเล็กโทรไลต์จะทำปฏิกิริยากันจนหมดไม่สามารถจะทำให้เกิด ปฏิกิริยาได้อีกจึงไม่มีไฟฟ้าเกิดขึ้น ดังนั้น
เซลล์แห้งจึงมีช่วงเวลาการใช้งานได้น้อย
     2. เซลล์ปฐมภูมิ (primary cell)
     จากการทดลองของวอลตา นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาเลียนพบว่า เมื่อนำโลหะสองชนิดที่แตกต่างกันเช่น สังกะสีกับทอง
แดงจุ่มลงในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ โดยอิเล็กตรอน(ประจุลบ) จากทองแดงจะถูกดูดเข้าไปยังขั้วของสังกะสีเมื่อทองแดง
ขาดประจุลบจะเปลี่ยนความต่างศักย์ไฟฟ้าเป็นบวกทันทีเรียกว่าขั้วบวกส่วนสังกะสีจะเป็นขั้วลบตามความต่างศักย์ที่ปรากฏ
ถ้าต่อวงจรไฟฟ้า ให้ครบวงจร การถ่ายเท อิเล็กตรอนก็จะเกิดขึ้น ซึ้งเรียกว่ามีการ ไหลของกระแสไฟฟ้านั่นเองและถ้าปล่อย
ให้มีการไหลของกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นเช่นนั้นเลื่อยๆจะปรากฏว่าแท่งสังกะสีที่ เป็นขั้วลบจะเกิดการสึกกร่อนไปที่ละน้อยส่วน
ที่แท่งทองแดงที่เป็นขั้วบวกจะมีฟองก๊าซอยุ่รอบๆและการทำงานนี้จะไม่เกิดขึ้นอีกต่อไปไม่สามารถจะจ่ายกระแสไฟฟ้าออก
มาได้ เราเรียก วงจรแบบนี้ว่าเซลล์ตาย(Dead Cell) หรือ เซลล์ปฐมภูมิ (Primary  Cell) นั่นเอง
      3. เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary Cell)
       เป็นเซลล์ที่เมื่อใช้ไฟหมด แล้วสามารถอัดไฟได้ใหม่โดยทั่วไปจะมีพื้นที่ที่เป็นแผ่นโลหะใหญ่มาก เพื่อทำให้ปฏิกิริยา
เคมีเกิดขึ้นมากที่สุดดังนั้นกระแสไฟฟ้าที่เกิดก็จะมากด้วยตามพื้นที่โลหะระหว่างแผ่นและแผ่นบวกจะมีฉนวนกั้น ซึ่งอาจ
จะเป็นไม้หรือแก้วพรุนเพื่อให้สารละลายอิเล็กโทรไลต์ผ่านไปได้ขั้วบวกและขั้วลบจะต่อยืดกับฝายางที่กันกรดได้และยังมีรู สำหรับเติมน้ำกลั่นให้กับสารละลายอิเล็กโทรไลต์ ได้อีกด้วย เพราะขณะที่ใช้สารละลายอิเล้กโทรไลต์จะระเหยไป นอกจาก
นี้ยังเป็นทางปล่อยให้ก๊าซที่เกิดจากแผ่นบวกออกไปสู่ภายนอกได้อีกด้วย
      4. แบตเตอรี่ (Battery)
       คือ เซลล์ทุติยภูมิตั้งแต่สองเซลล์ที่มาต่อเข้าด้วยกันเมื่อใช้ไฟหมดแล้วสามารถอัดไฟให้มีใหม่ได้อีกแบตเตอรี่ทั่วไป
มักจะใช้เซลล์สามช่องหรือหกช่องต่ออนุกรมกัน แต่ละช่องจะได้ไฟสองโวลต์ เช่นถ้าต่อ3 ช่องก็ได้ 6 โวลต์ ถ้าต่อ 6 ช่อง
ได้ 12 โวลต์ อิเล็กทรอนิกส์จะทำงานได้ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้า เช่นเซลล์หรือแบตเตอรี่ซึ่งมีขนาดตั้งแต่เท่ากระดุมที่ใช้
กันในกล้องถ่ายรุปและเครื่องช่วยฟังโดยมีแรงดัน ประมาณ 1.3 โวลต์ จนถึงขนาดถ้วยแก้วที่ใช้ในห้องทดลอง เซลล์เปียก
หรือ แบตเตอรี่จะให้กระแสไฟฟ้า ได้สูงกว่าเซลล์แห้งจึงใช้ได้นานกว่า ด้วยเหตุนี้แบตเตอรี่ในรถยยนต์จึงสามารถใช้กับ
อุปกรณ์ทุกชนิด เช่นพัดลมละบายความร้อนมอเตอร์ปัดน้ำฝนมอเตอร์ เร่ง หรือมอเตอร์ฉุดหลอดไฟเป็นต้น แบตเตอรี่รถ
ยนต์เป็น ชนิดกรด   แต่ยังมีอีกชนิดหนึ่งคือชนิดด่างซึ่งมีข้อดีบางอย่างที่ดีกว่าชนิดกรด เช่น  ไม่กัดแบตเตอรี่และตัวรถ
แบตเตอรี่ทั้งสองชนิดรวมกั้นเรียกว่าแบตเตอรี่เปียก หรือแอคูบูเลเตอร์ เมื่อใช้ไฟหมดแล้ว สามารถอัดไฟเข้าไปใหม่ได้

ไฟฟ้าที่เกิดจากความร้อน

     เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองนี้เรียกว่าเทอร์โมคัปเปิลซึ่งประกอบด้วยทองแดงและแผ่นเหล็กส่วนหนึ่งของ โลหะ เหล็ก
ทั้งสองนั้นใช้หมุดย้ำให้ติดแน่นเข้าด้วยกันตรงปลายของแท่ง โลหะทั้งสองมีสายต่อไปหาเครื่องมือวัดแรงดันไฟฟ้าหรือ
โวลต์มิเตอร์เมื่อใช้ความร้อนเผาอิเล็กตรอนจะไหลออกจาก ทองแดง แผ่นทองแดงผ่านโวลต์มิเตอร์กลับไปยังแผ่นเหล็กแล้ว
ไหลวน เวียนเช่นเดิมตราบที่ยังร้อนอยู่ซึ่งสังเกต จากเข็มของโวลต์มิเตอร์ จะเบนขึ้นนั่นแสดงว่ามีแรงดันไฟฟ้าเกิดขึ้นใน
เทอร์โมคัปเปิล


ไฟฟ้าเกิดจากแสงสว่าง

     สารบางชนิดเมื่ออยู่ในที่มืดจะแสดงปฎิกิริยาใดๆออกมา แต่เมื่อถูกแสงแดดแล้วสารนั้นสามารถที่จะปล่อยอิเล็กตรอน
ได้ เป็นเวลาหลายสิบปีนักวิทยาศาสตร์พยายามที่จะเปลี่ยนแปงพลังงานไฟฟ้าแต่ยังนำแสงสว่างมาใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก
เช่น อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า โฟโตวอลเทอิก เซลล์   ซึ่งประกอบด้วยวัตถุวางเป็นชั้นๆ เมื่อถูกกับแสงสว่างอิเล็กตรอน
ที่เกิดขึ้นจะวิ่งจากด้านบนไป สู่โวลต์มิเตอร์แล้วไหลกลับมาชั้นล่างมื่อดูที่เข็มของโวลต์ โฟโต้เซลล์ มิเตอร์จะเห็นเได้อย่าง
ชัดเจนว่ามีกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น ยังมีหลอดอีกชนิดหนึ่งที่เรียกว่า โฟโต-วอลเทอิก เซลล์(อิเล็กตริกอาย หรือ พี.อี.เซลล์)ซึ่งใช้
มากในวงการอุตสาหกรรม เช่น ในกล้องถ่ายรูปที่มีเครื่องวัดแสงโดยอัตโนมัติ   ระบบไฟฟ้าอัตโนมัติหน้ารถยนต์ เครื่อง
ฉายภาพยนตร์ เสียงสวิตช์ปิดเปิด ประตูอัตโนมัติ โดยจะมีหลักการทำงานแบบง่ายๆ เมื่อลำแสงมากระทบโฟโตเซลล์ก็จะ
เกิดอิเล็กตรอนไหลในวงจรนั้นๆได้

ไฟฟ้าที่เกิดจากแรงกดดัน

     เมื่อเราพูดไปในไมโครโฟนหรือโทรศัพท์แบบต่างๆคลื่นของความแรงกดดันของพลังงานเสียงจะทำให้แผ่นไดอะ
แฟรม เคลื่อนไหว ซึ่งแผ่นไดอะแฟรมจะทำให้ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กจึงทำให้เกิดพลังงานไฟฟ้าซึ่งถูกส่ง
ไปตามสายจนถึงเครื่องรับ   บางทีไมโครโฟนที่ใช้กับเครื่องขยายเสียงหรือเครื่อง วิทยุก็ใช้หลักการเช่นนี้เหมือนกัน
อย่างไรก็ตามไมโครโฟนทุกชนิดมีหลักการทำงานที่เหมือนกัน คือใช้เปลี่ยนคลื่นแรงกดของเสียงให้เป็นไฟฟ้าโดยตรง
นั่นเอง ผลึกของวัตถุบางอย่างถ้า ถูกกรดจะทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นได้ เช่น หินเขี้ยวหนุมาน หินทูมาลีน และเกลือโรเลล์
ซึ่งแสดงให้ เห็นได้อย่างดีว่าแรงกดเป็นต้นกำเนิดไฟฟ้าถ้าเอาผลึกที่ทำจากวัสดุเหล่านี้สอดเข้าไประหว่างโลหะ ทั้งสอง
นั้นจะมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับแรงกดหรืออาจจะใช้ผลึกนี้เปลียนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลัง งานกลได้โดยจ่ายประจุ
เข้าที่แผ่นโลหะทั้งสองเพราะจะทำให้ผลึกนั้นหดตัวและขยายตัวออกได้ตาม ปริมาณของประจุ ต้นกำเนิดไฟฟ้าที่ใช้แรง
กดนี้นำไปใช้ได้แต่มีขอบเขตจำกัดคือ ใช้ได้เฉพาะกับอุปกรณ์ ที่ใช้กำลังต่ำมาก เช่น ไมโครโฟนชนิดแร่ หูฟังชนิดแร่
หัวเข็มรับเครื่องเล่นจานเสียง และเครื่องโซน่าร์ซึ่งใช้ส่งคลื่นใต้น้ำ เหล่านี้ล้วนแต่ใช้ผลึกทำให้เกิดไฟฟ้าด้วยแรงกด
ทั้งสิ้น ดังนั้นเวลากรอกเสียงพูดลงในไมโครโฟนหรือเครื่องโทรศัพท์ แผ่นไดอะแฟรมซึ่งเชื่อมโยงติดกับครีสตอลจะเกิด
แรงดันไฟฟ้ามากน้อยแล้วแต่จังหวะพูด ในขณะที่เสียงพูดกระทบแผ่นไดอะแฟรมก็จะถูกเปลี่ยนเป็นอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้า
ไหลเข้าสู่เครื่องขยายเสียง เพื่อให้ออกมาเป็นเสียงดังทางลำโพงขยายเสียงต่อไป

 


ไฟฟ้าที่เกิดจากอำนาจแม่เหล็ก

     จากการทดลองของไมเคิล ฟาราเดย์นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษพบว่าเมื่อนำแท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่ผ่าน ขดลวดหรือนำ
ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้นในขดลวดนั้นและยังสรุปต่อไปได้อีกว่ากระแสไฟฟ้า
จะเกิดได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ

     1.จำนวนขดลวด ถ้าขดลวดมีจำนวนมากก็จะเกิดแรงดัน ไฟฟ้าเหนี่ยวนำมากด้วย
     2.จำนวนเส้นแรงแม่เหล็ก ถ้าเส้นแรงแม่มีจำนวนมากก็จะ เกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำมากด้วย
     3.ความเร็วในการเคลื่อนที่ของแม่เหล็ก ถ้าเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กเร็วขึ้นก็จะเกิดแรงดันไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ซึ่งต่อมาได้
        นำหลักการนี้มาคิดประดิษฐ์เป็นเครื่องกำเนิด ไฟฟ้าหรือเยนเนอเรเตอร


 

 

 

 

 

ผลที่ได้รับจากกระแสไฟฟ้า

     ทราบมาแล้วว่าการทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้านั้นทำได้
หลายวิธี เช่น จากปฏิกิริยาเคมี  แรงกดดัน    ความร้อน
แสงสว่าง อำนาจแม่เหล็กเป็นต้นและในทำนองเดียวกัน
เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านวัตถุใดๆก็ตามอาจทำให้เกิด
ผลต่างๆขึ้นได้ดังต่อไปนี้คือ
กระแสไฟฟ้าทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี

     เนื่องจากแรงระหว่างประจุไฟฟ้าเป็นแรงยึดเหนี่ยวทางเคมีของสารประกอบกระแสไฟฟ้าสามารถแยกสารประกอบออก
มาในสภาวะปกติ เรียกว่าการอิเล็กโตรไลซิสและนำหลักการนี้ไป ใช้ในการชุบโลหะเช่นการชุบโครเมียม นิกเกิล หรือเงินวัตถุ
ที่ต้องการชุบต้องทำความสะอาดให้หมดไขมันเพื่อให้ผิวโลหะจะเคลือบติดแน่น วิธีทำคือ เอาวัตถุที่ต้องการชุบแช่ในน้ำยา
โดยที่น้ำยาต้องมีส่วนประกอบของโลหะชนิดเดียวกับโลหะที่วัตถุจะสลายตัวออกมาหรือโลหะที่จะเคลือบ เช่น ชุบทองแดง
ใช้สารละลายทองแดงซัลเฟตเป็นน้ำยา และวัตถุที่จะชุบจะต้องแขวนไว้ที่ขั้วลบของวงจรไฟฟ้าเสมอ สำหรับขั้วบวกจะเป็น
โลหะ ที่จะสลายตัวออกมา


กระแสไฟฟ้าทำให้เกิดแรงดัน

    แรงกดดันที่ไปกระทำกับผลึกสามารถทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าได้ในทางกับกันเมื่อป้อนแรงดัน ไฟฟ้าให้กับผลึกก็จะทำให้
ผลึกเกิดการบิดงอได้  เช่นป้อนแรงดันคร่อมชิ้นบางๆของผลึกเกลือ รอซเซล แรงเนื่องจากไฟฟ้าจะทำให้เกิดแรงกระทำต่อ
โครงสร้างของอะตอมและเปลี่ยนรูปร่างของผลึกแผ่นไดอะแฟรมจะเกิดการสั่นทำให้เกิดคลื่นเสียงหูสามารถรับฟังได้


กระแสไฟฟ้าทำให้เกิดความร้อน

    จะเห็นได้ว่าเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทานจะเกิดความร้อนขึ้นความร้อนจะมากหรือ น้อยจะขึ้นอยุ่กับค่า
ความต้านทานโลหะที่เป็นตัวนำที่เลวจะมีค่าความต้านทานมากเช่นนิโครมเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไปจะเกิดความ
ร้อนขึ้นทำให้ร้อนและแดงหลักการนี้นำไปใช้ทำ เตารีดไฟฟ้า เตาไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ความร้อนต่างๆ เช่น  เครื่องอบผ้า
เครื่องปิ้งขนมปังเป็นต้น


กระแ สไฟฟ้าทำให้เกิดแสงสว่าง

    เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทานจนมีความร้อนมากก็สามารถเปล่งแสงออกมาได้การ เปล่งของแสงจะมีความ
ร้อนเกิดขึ้นด้วยนี่คือหลักการทำงานของหลอดไส้ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันตามบ้าน และยังนำหลักการทำงานเช่นนี้มาดัดแปลง
เพื่อสร้างหลอดไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง มากๆได้ เช่น หลอดนีออน หลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็นต้น ฟลูออเรสเซนต์เป็นหลอด
ที่ให้แสงนวล  ภายในหลอดมีไอปรอทอยู่ เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านก็จะแตกตัวเป็นไอออนและปล่อยแสงอุลตราไวโอเลต
ซึ่งแสงนี้จะไปกระทบกับสารพวกฟอสเฟอร์ที่เคลือบผิวของหลอดไฟฟ้าทำให้แสงออกมาเป็นสีนวล


กระแสไฟฟ้าที่ทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็ก

    เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ตัวนำไฟฟ้าจะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้นรอบๆ ตัวนำนั้นถ้าขดตัวนำให้เป็นขดอยู่รอบแกนเหล็กก็
จะทำให้แกนเหล็กอันนั้นเป็นแม่เหล็กขึ้นมาได้ จากหลักการนี้สามารถนำไปสร้าง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ประโยชน์ได้มากมาย
เช่น มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ กระดิ่งไฟฟ้า  และอุปกรณ์ควบคุมวงจรต่างๆเป็นต้น

รูปภาพของ ssspoonsak

1. การคัดลอกข้อมูลจากไฟล์ word หรือจากเว็บไซต์มาใส่เลยไม่ถูกต้อง
2. ต้องอ้างอิงแหล่งข้อมูลทั้งข้อความและรูปภาพให้ถูกต้อง มิฉะนั้นจะถูกฟ้องร้องได้
3. หากข้อมูลเป็นของตนเองก็บอกด้วยว่าเป็นของใคร

ขอเป็นกำลังใจให้นะครับ

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 462 คน กำลังออนไลน์