• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:504c0dfce73a368c9029901d70791e52' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><ul>\n<li>\n<div>\n <img border=\"0\" width=\"440\" src=\"/files/u12957/1219064584.jpg\" height=\"320\" /> \n </div>\n</li>\n</ul>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong>เนื่องในวันที่ 18 สิงหาคมของทุกปีนั้นเป้นวันสำคัญที่เกิดขึ้นในวงการวงการวิทยาสาสตร์ วงการดาราศาสตร์ และวงการศึกาของไทย เพราะเมื่อปี พ.ศ.2411 เป็นที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว *พระบิดาแห่งวิทยาสาสตร์ไทย* ได้เสด็จไปทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวง ที่ตำบลหว้ากอ  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ หลังจากที่พระองค์ทรงคำนวณการเกิดนี้ไว้ล่วงหน้าแล้ว 2 ปี คณะรัฐมนตรีจึงตั้งวันที่ 18 สิงหาคมของทุกปีเป็น &quot;วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ&quot; </strong>\n</div>\n<div align=\"right\">\n<strong>อ้างอิง:www.kapook.com</strong>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div>\n<table border=\"0\" width=\"500\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"width: 375pt\" class=\"MsoNormalTable\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #f4f4f4; padding: 7.5pt\"><span><sup><sub><strong><span style=\"color: #ff0000\">อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)<o:p></o:p></span></strong></sub></sup></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> <strong>  </strong></span><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกำเนิดขึ้นมาแล้วไม่ต่ำกว่า </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">400 </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ล้านปี มีอยู่ประมาณ 300,00 ชนิด</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">มีหลักฐานหลาย</span><span style=\"font-size: 18pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">อย่าง</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ที่ทำให้เชื่อว่าพืชมีวิวัฒนาการมาจากสาหร่ายสีเขียว กลุ่ม</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> Charophytes </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">โดยมีการปรับตัวจากสภาพที่เคยอยู่ในน้ำขึ้นมาอยู่บนบก</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ด้วยการสร้างคุณสมบัติต่าง ๆ ที่เหมาะสมขึ้นมา เช่น มีการสร้างคิวติน (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">cutin) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ขึ้นมาปกคลุมผิวของลำต้นและใบเรียกว่า คิวทิเคิล ( </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">cuticle) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำ และการเกิด สโทมาตา (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">stomata) </span></strong><strong><span>เพื่อทำหน้าที่ระบายน้ำและแลกเปลี่ยนก๊าซ เป็นต้น <o:p></o:p>การจำแนกประเภทสามารถจำแนกได้<span>  </span>2<span>  </span>ประเภทใหญ่ๆคือ<o:p></o:p><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">    </span></span>พืชที่ไม่มีท่อลำเลียง เป็นพืชที่อยู่ในกลุ่มไบรโอไฟต์เป็นพืชสีเขียวขนาดเล็ก ขึ้นบริเวณแฉะ ในร่มได้แก่ มอส ลิเวอร์เวิร์ตและฮอร์นเวิร์ต<o:p></o:p><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">    </span></span>พืชที่ไม่มีท่อลำเลียง เป็นพืชที่สามารถปรับตัวและสามารถอาศัยอยู่บนบกได้ดี พืชในกลุ่มนี้จะสร้างเนื้อเยื่อท่อลำเลียงน้ำ และเกลือแร่ เรียกว่า ไซเลม <span> </span>และโฟเลม แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ<o:p></o:p><span>2.1<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">           </span></span>กลุ่มพวกเฟิน เป็นพืชไร้ดอกมีประมาณ<span>  </span>11,000 ชนิด<span>  </span>พบได้ในเขตร้อนและเขตชุ่มชื้น ได้แก่ ย่านลิเภา เฟินใบมะขาม หญ้าถอดปล้อง เป็นต้น<o:p></o:p><span>2.2<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">           </span></span>กลุ่มพวกเมล็ดไม่มีเปลือกหุ้มแข้ง หรือเมล็ดเปลือยเป็นพืชกลุ่มแรกๆที่สืบพันธุ์โดยใช้เมล็ดปัจจุบันอยู่ไม่ถึง 1,000 ชนิด เช่น พืชจำพวกปรงชนิดต่างๆสนสองใบ สนสามฉัตร เป้นต้น<o:p></o:p><span>2.3<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">           </span></span>กลุ่มพืชดอก เป็นกลุ่มของพืชที่มีมากที่สุดประมาณ 275,000 ชนิดลักษณะสำคัญ คือ สามารถปรับตัวได้ดีในทุกสภาพแวดล้อม มีวิวัฒนาการสูงสุด ส่วนใหญ่มีราก ลำต้น และใบที่แท้จริง มีท่อลำเลียง เจริญดีมาก มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ ที่เปลี่ยนแปลงมาจากลำต้นและใบ<span>  </span>มีการสืบพันธุ์ที่เรียกว่า ปฏิสนธิซ้อน<o:p></o:p><o:p> </o:p><br />\n ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช <br />\n </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">   </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พืชมีโครงสร้างที่ประกอบขึ้นด้วยหลายเซลล์ที่มารวมกลุ่มกันเป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่างเซลล์ของพืชมีผนังเซลล์ที่มีสารประกอบ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เซลลูโลส (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">cellulose) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เป็นองค์ประกอบที่พบเป็นส่วนใหญ่</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พืชทุกชนิดที่คุณสมบัติที่สามารถสร้างอาหารได้เองจากระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">โดยบทบาทของรงควัตถุคลอโรฟิลล์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">chlorophyll a &amp; b) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ที่อยู่ในคลอโรพลาสต์เป็นสำคัญ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">รงควัตถุหลักที่พบได้ในเซลล์พืชจะเหมือนกับพบในเซลล์ของสาหร่ายสีเขียว ได้แก่</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คลอโรฟิลล์ เอ คลอโรฟิลล์ บี และแคโรทีนอยด์ นอกจากนี้พืชยังสะสมอาหารในรูปของแป้ง</span></strong><span><strong> (starch)</strong> <o:p></o:p><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape o:spid=\"_x0000_i1026\" alt=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/images/pl_01.jpg\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"visibility: visible; width: 300pt; height: 183pt\" id=\"Picture_x0020_5\"><v:imagedata o:title=\"pl_01\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\jnet\\LOCALS~1\\Temp\\msohtmlclip1\\01\\clip_image001.jpg\"><strong></strong></v:imagedata></v:shape></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"><br />\n </span><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ภาพแสดงเซลล์พืช</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"><o:p> </o:p></span></strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"><v:shape o:spid=\"_x0000_i1025\" alt=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/images/pl_02.jpg\" type=\"#_x0000_t75\" style=\"visibility: visible; width: 300pt; height: 209.25pt\" id=\"Picture_x0020_6\"><v:imagedata o:title=\"pl_02\" src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\jnet\\LOCALS~1\\Temp\\msohtmlclip1\\01\\clip_image002.jpg\"><strong></strong></v:imagedata></v:shape></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"><br />\n </span><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ภาพแสดงการเปรียบเทียบเซลล์พืชกับเซลล์สัตว์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"><br />\n <strong>   </strong></span><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">วงชีวิต</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> (life cycle) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ของพืชเป็นวงชีวิตแบบสลับ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">Alternation of Generation) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คือ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ประกอบด้วยช่วงชีวิตที่เป็นสปอโรไฟต์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">sporophyte generation) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ทำหน้าที่สร้างสปอร์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> (spore) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สลับกับช่วงชีวิตที่เป็นแกมีโทไฟต์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">gametophyte generation) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ทำหน้าที่สร้างแกมีต ( </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">gamete) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ได้แก่ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรือสเปิร์ม (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">sperm) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">egg) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ซึ่งจะมารวมกันเพื่อให้ได้เป็นเซลล์ใหม่คือ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไซโกต (</span></strong><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">zygote) <br />\n    </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชประกอบขึ้นด้วยหลายเซลล์โดยมีเซลล์โดยมีเซลล์ที่เป็นหมัน</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> (sterile cell) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ห่อหุ้มอยู่รอบนอก</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การเจริญของพืชจากไซโกตไปเป็นสปอโรไฟต์จะต้องผ่านจะต้องผ่านระยะที่เป็นเอ็มบริโอ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> (embryo) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ก่อน คุณสมบัติทั้ง </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">2 </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ประการ ดังกล่าวนี้จะไม่พบในพวกสาหร่าย (</span></strong><span><strong>algae) <br />\n วงชีวิตแบบสลับ</strong></span><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> <br />\n    </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พืชส่วนใหญ่จะมีสปอโรไฟต์เด่น</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คือมีขนาดที่มองเห็นได้ชัดเจนทั่วไป</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ในขณะที่แกมีโทไฟต์มีขนาดเล็กแทบมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าในพืชบางกลุ่ม</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">แกมีโทไฟต์ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ที่เป็นโมโนพลอยด์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">n) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">จำนวนมากทำหน้าที่สร้างแกมีต</span></strong><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> <br />\n    </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สปอโรไฟต์ของพืชประกอบขึ้นด้วยเซลล์ที่เป็นดิพลอยด์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">2n) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ทำหน้าที่สร้างสปอร์จากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสของสปอร์มาเทอร์เซลล์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">spore mother cell) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ที่อยู่ภายในอับสปอร์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">sporangium) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สปอร์ ซึ่งเป็นเซลล์ที่เป็นเฮพลอยด์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">n) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">n) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ที่ทำหน้าที่สร้างแกมีตคือ สเปิร์ม และไข่</span></strong><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> <br />\n    </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การปฏิสนธิ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">fertilization) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คือ การรวมตัวกันของสเปิร์ม (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">n) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">และไข่ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">n) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">จะทำให้ได้เซลล์ใหม่ที่เป็นดิพลอยด์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">2n) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คือ ไซโกตเกิดขึ้นมา</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">และต่อจากนั้นไซโกตจะแบ่งเซลล์ได้เป็นเอ็มบริโอ ก่อนที่จะเจริญต่อไปเป็นสปอร์โรไฟต์</span></strong><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> <br />\n    </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ไซโกต คือ เซลล์เริ่มต้นของช่วงสปอโรไฟต์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">และสปอร์คือเซลล์เริ่มต้นของช่วงแกมีโทไฟต์</span></strong><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> <br />\n    </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ในพืชกลุ่มที่ไม่สร้างเมล็ดส่วนใหญ่จะมีการสร้างสปอร์เพียงชนิดเดียว</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> (homospore) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ซึ่ง</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สปอร์ดังกล่าวจะแบ่งตัวและเจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ที่ทำหน้าที่สร้างทั้งสเปิร์มและไข่บนต้นเดียวกัน</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">แต่สำหรับพืชที่มีการสร้างเมล็ดแล้วทุกชนิด จะสร้างสปอร์เป็น </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">2 </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ชนิด (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">heterospore) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ได้แก่ ไมโครสปอร์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">microspore) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">และ เมกะสปอร์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">megaspore) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ไมโครสปอร์จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็น ไมโครแกมีโทไฟต์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">microgametophyte) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">หรือแกมีโทไฟต์เพศผู้ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">male gametophyte) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ทำหน้าที่สร้างสเปิร์ม และเมกะสปอร์</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นเมกะแกมีโทไฟต์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">megagametophyte) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> (female gametophyte) </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ทำหน้าที่สร้างไข่ ต่อไป</span></strong><strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"> <br />\n </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\">9 </span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดิวิชัน คือ</span></strong><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'ms sans serif\',\'serif\'\"><strong> <br />\n    1. </strong><a href=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/bryophyta.htm\"><u><strong><span style=\"color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดิวิชันไบรโอไฟตา (</span><span style=\"color: #943634\">Division Bryophyta)</span></strong></u></a><strong> <br />\n    2. </strong><a href=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/psilophyta.htm\"><u><strong><span style=\"color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดิวิชันไซโลไฟตา (</span><span style=\"color: #943634\">Division Psilophyta)</span></strong></u></a><strong> <br />\n    3. </strong><a href=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/lycophyta.htm\"><u><strong><span style=\"color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดิวิชันไลโคไฟตา(</span><span style=\"color: #943634\">Division Lycophyta)</span></strong></u></a><strong> <br />\n    4. </strong><a href=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/sphenophyta.htm\"><u><strong><span style=\"color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดิวิชันสฟีโนไฟตา (</span><span style=\"color: #943634\">Division Sphenophyta)</span></strong></u></a><strong> <br />\n    5. </strong><a href=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/pterophyta.htm\"><u><strong><span style=\"color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดิวิชันเทอโรไฟตา (</span><span style=\"color: #943634\">Division Pterophyta)</span></strong></u></a><strong> <br />\n    6. </strong><a href=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/coniferophyta.htm\"><u><strong><span style=\"color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดิวิชันโคนิเฟอโรไฟตา (</span><span style=\"color: #943634\">Division Coniferophyta)</span></strong></u></a><strong> <br />\n    7. </strong><a href=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/cycadophyta.htm\"><u><strong><span style=\"color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดิวิชันไซแคโดไฟตา (</span><span style=\"color: #943634\">Division Cycadophyta)</span></strong></u></a><strong> <br />\n    8. </strong><a href=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/ginkophyta.htm\"><u><strong><span style=\"color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดิวิชันกิงโกไฟตา (</span><span style=\"color: #943634\">Division Ginkophyta)</span></strong></u></a><strong> <br />\n    9. </strong><a href=\"http://www.snr.ac.th/m4html/w4html/anthophyta.htm\"><u><strong><span style=\"color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดิวิชันอแนโทไฟตา (</span><span style=\"color: #943634\">Division Anthophyta)</span></strong></u></a><strong> </strong></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #943634; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"background-color: transparent; border: #f4f4f4; padding: 7.5pt\"><span style=\"font-size: 22pt; color: #943634; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><o:p><strong> อ้างอิง:<u>www.snr.ac.th/m4html/w4html/plantae.htm</u></strong></o:p></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n', created = 1729481961, expire = 1729568361, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:504c0dfce73a368c9029901d70791e52' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:800a32e26988dd99835446893b1ce62e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nเนื้อหาดีมาก\n</p>\n<p>\nอ่านง่าย\n</p>\n<p>\nช่วยไปเม้นคืนด้วย\n</p>\n<p>\n <a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/26163\" title=\"http://www.thaigoodview.com/node/26163\">http://www.thaigoodview.com/node/26163</a>\n</p>\n<p>\nฝนนะๆๆ\n</p>\n', created = 1729481961, expire = 1729568361, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:800a32e26988dd99835446893b1ce62e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2e839dd7fe008f121237cf078bae1d00' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n*ช่วยไป Comment บล๊อก ด้วยนะค่ะ ^^<br />\n<a href=\"http://www.thaigoodview.com/node/31363\" title=\"http://www.thaigoodview.com/node/31363\">http://www.thaigoodview.com/node/31363</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nสุโค่ย ๆ,\n</p>\n<p>\nขอขคุนสำหรับความรู้ ค่ะ ๆ ,\n</p>\n', created = 1729481961, expire = 1729568361, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2e839dd7fe008f121237cf078bae1d00' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fc59cd582d8dd8f194d2ddcac20127b4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nสุดยอดคับ อาณาจักของพืช  อิอิ\n</p>\n', created = 1729481961, expire = 1729568361, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fc59cd582d8dd8f194d2ddcac20127b4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:70fd761eca4b1903596ee943aaf7c188' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>ได้ความรู้มากมายค่ะ</p>\n<p>^^ </p>\n', created = 1729481961, expire = 1729568361, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:70fd761eca4b1903596ee943aaf7c188' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9e63fbcac9f1ab14fd497e1236f2b040' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nสุดยอดดดด\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nงามๆ\n</p>\n', created = 1729481961, expire = 1729568361, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9e63fbcac9f1ab14fd497e1236f2b040' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อาณาจักรพืช(Kingdom plantae)

  •  
เนื่องในวันที่ 18 สิงหาคมของทุกปีนั้นเป้นวันสำคัญที่เกิดขึ้นในวงการวงการวิทยาสาสตร์ วงการดาราศาสตร์ และวงการศึกาของไทย เพราะเมื่อปี พ.ศ.2411 เป็นที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว *พระบิดาแห่งวิทยาสาสตร์ไทย* ได้เสด็จไปทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวง ที่ตำบลหว้ากอ  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ หลังจากที่พระองค์ทรงคำนวณการเกิดนี้ไว้ล่วงหน้าแล้ว 2 ปี คณะรัฐมนตรีจึงตั้งวันที่ 18 สิงหาคมของทุกปีเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" 
อ้างอิง:www.kapook.com
อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)   พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีกำเนิดขึ้นมาแล้วไม่ต่ำกว่า 400 ล้านปี มีอยู่ประมาณ 300,00 ชนิด มีหลักฐานหลายอย่างที่ทำให้เชื่อว่าพืชมีวิวัฒนาการมาจากสาหร่ายสีเขียว กลุ่ม Charophytes โดยมีการปรับตัวจากสภาพที่เคยอยู่ในน้ำขึ้นมาอยู่บนบก ด้วยการสร้างคุณสมบัติต่าง ๆ ที่เหมาะสมขึ้นมา เช่น มีการสร้างคิวติน (cutin) ขึ้นมาปกคลุมผิวของลำต้นและใบเรียกว่า คิวทิเคิล ( cuticle) เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำ และการเกิด สโทมาตา (stomata) เพื่อทำหน้าที่ระบายน้ำและแลกเปลี่ยนก๊าซ เป็นต้น การจำแนกประเภทสามารถจำแนกได้  2  ประเภทใหญ่ๆคือ1.    พืชที่ไม่มีท่อลำเลียง เป็นพืชที่อยู่ในกลุ่มไบรโอไฟต์เป็นพืชสีเขียวขนาดเล็ก ขึ้นบริเวณแฉะ ในร่มได้แก่ มอส ลิเวอร์เวิร์ตและฮอร์นเวิร์ต2.    พืชที่ไม่มีท่อลำเลียง เป็นพืชที่สามารถปรับตัวและสามารถอาศัยอยู่บนบกได้ดี พืชในกลุ่มนี้จะสร้างเนื้อเยื่อท่อลำเลียงน้ำ และเกลือแร่ เรียกว่า ไซเลม  และโฟเลม แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ2.1           กลุ่มพวกเฟิน เป็นพืชไร้ดอกมีประมาณ  11,000 ชนิด  พบได้ในเขตร้อนและเขตชุ่มชื้น ได้แก่ ย่านลิเภา เฟินใบมะขาม หญ้าถอดปล้อง เป็นต้น2.2           กลุ่มพวกเมล็ดไม่มีเปลือกหุ้มแข้ง หรือเมล็ดเปลือยเป็นพืชกลุ่มแรกๆที่สืบพันธุ์โดยใช้เมล็ดปัจจุบันอยู่ไม่ถึง 1,000 ชนิด เช่น พืชจำพวกปรงชนิดต่างๆสนสองใบ สนสามฉัตร เป้นต้น2.3           กลุ่มพืชดอก เป็นกลุ่มของพืชที่มีมากที่สุดประมาณ 275,000 ชนิดลักษณะสำคัญ คือ สามารถปรับตัวได้ดีในทุกสภาพแวดล้อม มีวิวัฒนาการสูงสุด ส่วนใหญ่มีราก ลำต้น และใบที่แท้จริง มีท่อลำเลียง เจริญดีมาก มีดอกเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ ที่เปลี่ยนแปลงมาจากลำต้นและใบ  มีการสืบพันธุ์ที่เรียกว่า ปฏิสนธิซ้อน 
ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช
   พืชมีโครงสร้างที่ประกอบขึ้นด้วยหลายเซลล์ที่มารวมกลุ่มกันเป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่างเซลล์ของพืชมีผนังเซลล์ที่มีสารประกอบ เซลลูโลส (cellulose) เป็นองค์ประกอบที่พบเป็นส่วนใหญ่ พืชทุกชนิดที่คุณสมบัติที่สามารถสร้างอาหารได้เองจากระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยบทบาทของรงควัตถุคลอโรฟิลล์ (chlorophyll a & b) ที่อยู่ในคลอโรพลาสต์เป็นสำคัญ รงควัตถุหลักที่พบได้ในเซลล์พืชจะเหมือนกับพบในเซลล์ของสาหร่ายสีเขียว ได้แก่ คลอโรฟิลล์ เอ คลอโรฟิลล์ บี และแคโรทีนอยด์ นอกจากนี้พืชยังสะสมอาหารในรูปของแป้ง
(starch)
ภาพแสดงเซลล์พืช 
ภาพแสดงการเปรียบเทียบเซลล์พืชกับเซลล์สัตว์
   
วงชีวิต (life cycle) ของพืชเป็นวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) คือ ประกอบด้วยช่วงชีวิตที่เป็นสปอโรไฟต์ (sporophyte generation) ทำหน้าที่สร้างสปอร์ (spore) สลับกับช่วงชีวิตที่เป็นแกมีโทไฟต์ (gametophyte generation) ทำหน้าที่สร้างแกมีต ( gamete) ได้แก่ เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้หรือสเปิร์ม (sperm) และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่ (egg) ซึ่งจะมารวมกันเพื่อให้ได้เป็นเซลล์ใหม่คือ ไซโกต (zygote)
   
อวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชประกอบขึ้นด้วยหลายเซลล์โดยมีเซลล์โดยมีเซลล์ที่เป็นหมัน (sterile cell) ห่อหุ้มอยู่รอบนอก การเจริญของพืชจากไซโกตไปเป็นสปอโรไฟต์จะต้องผ่านจะต้องผ่านระยะที่เป็นเอ็มบริโอ (embryo) ก่อน คุณสมบัติทั้ง 2 ประการ ดังกล่าวนี้จะไม่พบในพวกสาหร่าย (
algae)
วงชีวิตแบบสลับ

   
พืชส่วนใหญ่จะมีสปอโรไฟต์เด่น คือมีขนาดที่มองเห็นได้ชัดเจนทั่วไป ในขณะที่แกมีโทไฟต์มีขนาดเล็กแทบมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าในพืชบางกลุ่ม แกมีโทไฟต์ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ที่เป็นโมโนพลอยด์ (n) จำนวนมากทำหน้าที่สร้างแกมีต

   
สปอโรไฟต์ของพืชประกอบขึ้นด้วยเซลล์ที่เป็นดิพลอยด์ (2n) ทำหน้าที่สร้างสปอร์จากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสของสปอร์มาเทอร์เซลล์ (spore mother cell) ที่อยู่ภายในอับสปอร์ (sporangium) สปอร์ ซึ่งเป็นเซลล์ที่เป็นเฮพลอยด์ (n) จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ (n) ที่ทำหน้าที่สร้างแกมีตคือ สเปิร์ม และไข่

   
การปฏิสนธิ (fertilization) คือ การรวมตัวกันของสเปิร์ม (n) และไข่ (n) จะทำให้ได้เซลล์ใหม่ที่เป็นดิพลอยด์ (2n) คือ ไซโกตเกิดขึ้นมา และต่อจากนั้นไซโกตจะแบ่งเซลล์ได้เป็นเอ็มบริโอ ก่อนที่จะเจริญต่อไปเป็นสปอร์โรไฟต์

   
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ไซโกต คือ เซลล์เริ่มต้นของช่วงสปอโรไฟต์ และสปอร์คือเซลล์เริ่มต้นของช่วงแกมีโทไฟต์

   
ในพืชกลุ่มที่ไม่สร้างเมล็ดส่วนใหญ่จะมีการสร้างสปอร์เพียงชนิดเดียว (homospore) ซึ่ง สปอร์ดังกล่าวจะแบ่งตัวและเจริญต่อไปเป็นแกมีโทไฟต์ที่ทำหน้าที่สร้างทั้งสเปิร์มและไข่บนต้นเดียวกัน แต่สำหรับพืชที่มีการสร้างเมล็ดแล้วทุกชนิด จะสร้างสปอร์เป็น 2 ชนิด (heterospore) ได้แก่ ไมโครสปอร์ (microspore) และ เมกะสปอร์ (megaspore) ไมโครสปอร์จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็น ไมโครแกมีโทไฟต์ (microgametophyte) หรือแกมีโทไฟต์เพศผู้ (male gametophyte) ทำหน้าที่สร้างสเปิร์ม และเมกะสปอร์ จะแบ่งตัวเจริญต่อไปเป็นเมกะแกมีโทไฟต์ (megagametophyte) หรือแกมีโทไฟต์เพศเมีย (female gametophyte) ทำหน้าที่สร้างไข่ ต่อไป

สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 9 ดิวิชัน คือ

   1.
ดิวิชันไบรโอไฟตา (Division Bryophyta)
   2.
ดิวิชันไซโลไฟตา (Division Psilophyta)
   3.
ดิวิชันไลโคไฟตา(Division Lycophyta)
   4.
ดิวิชันสฟีโนไฟตา (Division Sphenophyta)
   5.
ดิวิชันเทอโรไฟตา (Division Pterophyta)
   6.
ดิวิชันโคนิเฟอโรไฟตา (Division Coniferophyta)
   7.
ดิวิชันไซแคโดไฟตา (Division Cycadophyta)
   8.
ดิวิชันกิงโกไฟตา (Division Ginkophyta)
   9.
ดิวิชันอแนโทไฟตา (Division Anthophyta)
 อ้างอิง:www.snr.ac.th/m4html/w4html/plantae.htm

เนื้อหาดีมาก

อ่านง่าย

ช่วยไปเม้นคืนด้วย

http://www.thaigoodview.com/node/26163

ฝนนะๆๆ

รูปภาพของ knw32084

*ช่วยไป Comment บล๊อก ด้วยนะค่ะ ^^
http://www.thaigoodview.com/node/31363

 

สุโค่ย ๆ,

ขอขคุนสำหรับความรู้ ค่ะ ๆ ,

รูปภาพของ knw32075

สุดยอดคับ อาณาจักของพืช  อิอิ

รูปภาพของ knw32077

ได้ความรู้มากมายค่ะ

^^ 

สุดยอดดดด

 

งามๆ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 376 คน กำลังออนไลน์