• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:98dc104f2ca76bedc199a4dd37f08345' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; <br /></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk)</b></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </font></p>\n<div align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u10919/ata.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/ata.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"211\" border=\"\" height=\"177\" hspace=\"\" /></font></div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมต่างๆ ของคอมพิวเตอร์<br />\nโดยฮาร์ดดิสค์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอก เป็นโลหะแข็ง<br />\nและมีแผงวงจรสำหรับการควบคุมการทำงานประกบอยู่ที่ด้านล่าง<br />\nพร้อมกับช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง<br />\nส่วนประกอบภายในจะถูกปิดผนึกไว้อย่างมิดชิด<br />\nโดยฮาร์ดดิสค์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยแผ่นจานแม่เหล็ก(platters)<br />\nสองแผ่นหรือมากกว่ามาจัด เรียงอยู่บนแกนเดียวกันเรียก Spindle<br />\nทำให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อม ๆ กัน จากการขับเคลื่อนของมอเตอร์<br />\nแต่ละหน้าของแผ่นจานจะมีหัวอ่านเขียนประจำเฉพาะ<br />\nโดยหัวอ่านเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคล้ายหวี<br />\nสามารถเคลื่อนเข้าออกระหว่างแทร็กต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว<br />\nซึ่งอินเตอร์เฟสของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ในปัจจุบัน มีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; <b>- IDE (Integrated Drive Electronics)</b><br /><br />\n&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เป็นระบบของ ฮาร์ดดิสก์อินเตอร์เฟสที่ใช้กันมากในปัจจุบันนี้<br />\nการต่อไดร์ฟฮาร์ดดิสก์แบบ IDE จะต่อผ่านสายแพรและคอนเน็คเตอร์จำนวน 40<br />\nขาที่มีอยู่บนเมนบอร์ด ส่วนใหญ่แล้วใน 1 คอนเน็คเตอร์<br />\nจะสามารถต่อฮาร์ดดิสก์ได้ 2 ตัวและบนเมนบอร์ด</font> </p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </font></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u10919/ide.gif\" mce_src=\"/files/u10919/ide.gif\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"224\" border=\"\" height=\"186\" hspace=\"\" /></font></div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Harddisk แบบ IDE</b></font> </p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp; &nbsp; </font></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u10919/ide_cable.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/ide_cable.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"233\" border=\"\" height=\"179\" hspace=\"\" /></font></div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br />\n<b>IDE Cable</b></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp; <b>- SCSI (Small Computer System Interface)</b><br /><br />\nเป็นอินเตอร์เฟสที่แตกต่างจากอินเตอร์เฟสแบบอื่น ๆ มาก โดยจะอาศัย<br />\nController Card ที่มี Processor<br />\nอยู่ในตัวเองทำให้เป็นส่วนเพิ่มขยายกับแผงวงจรใหม่โดยจะสนับสนุนการต่อ<br />\nอุปกรณ์ได้ถึง 8 ตัว แต่การ์ดบางรุ่นอาจจะได้ถึง 14 ตัวทีเดียว<br />\nโดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้งานในรูปแบบ Server<br />\nเพราะมีราคาแพงแต่มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูง</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; </font></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u10919/scsi.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/scsi.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"203\" border=\"\" height=\"152\" hspace=\"\" /></font></div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<br />\n<b>Harddisk แบบ SCSI</b></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; </font></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u10919/scsi_controller.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/scsi_controller.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"206\" border=\"\" height=\"175\" hspace=\"\" /></font></div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;<br />\n<b>SCSI controller</b></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp; <b>- Serial ATA (Advanced Technology Attachment)</b><br /><br />\nเป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC<br />\nExpo ใน New York มีความเร็วในเข้าถึงข้อมูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที<br />\nและให้ผลตอบสนองในการทำงานได้เร็วมากในส่วนของ extreme application เช่น<br />\nGame Home Video และ Home Network Hub โดยเป็นอินเตอร์เฟสที่จะมาแทนที่ของ<br />\nIDE ในปัจจุบัน</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; <img mce_tsrc=\"\" mce_src=\"\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"\" align=\"\" border=\"\" height=\"\" hspace=\"\" /></font></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u10919/ata.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/ata.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"211\" border=\"\" height=\"177\" hspace=\"\" /></font></div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;<br />\n<b>Harddisk แบบ Serial ATA</b></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp; </font></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u10919/ata_cable.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/ata_cable.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"240\" border=\"\" height=\"196\" hspace=\"\" /></font></div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; <b>Serial ATA Cable</b></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">ข้อมูลและภาพประกอบจาก <a href=\"http://www.kapook.com/\">www.kapook.com</a></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>CPU&nbsp; </b><b>(ไมโครโปรเซสเซอร์)</b></font></p>\n<div align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b><b><br />\n </b></b></font></div>\n<table class=\"mceVisualAid\" width=\"100%\" align=\"center\">\n<tbody>\n<tr align=\"center\">\n<td class=\"mceVisualAid\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.bcoms.net/hardware/images/cpu_intel.jpg\" width=\"150\" height=\"119\" /></font></td>\n<td class=\"mceVisualAid\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.bcoms.net/hardware/images/cpu_amd.jpg\" width=\"150\" height=\"150\" /></font></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>ประวัติความเป็นมาของไมโครโปรเซสเซอร์</b></font>\n </p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ไมโคร<br />\nโปรเซสเซอร์กำเนิดขึ้นมาในช่วงต้นทศวรรษที่ 1970 โดยเกิดจากการนำเทคโนโลยี<br />\n2<br />\nอย่างมาพัฒนาร่วมกันซึ่งก็คือเทคโนโลยีทางด้านดิจิตอลคอมพิวเตอร์และ<br />\nเทคโนโลยี ทางดัานโซลิดสเตต(solidstate) </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมที่เราป้อนเข้าไปโดยโปรแกรมเป็นตัวบอกคอมพิวเตอร์<br />\n ว่าจะทำการเคลื่อนย้ายและประมวลผลข้อมูลอย่างไรการที่มันจะทำงานได้นั้นก็ต้องมีวงจรคำนวณ<br />\n หน่วยความจำ และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต(input/output)<br />\n เป็นส่วนประกอบซึ่งรูปแบบในการนำสิ่ง ที่กล่าวมานี้รวมเข้าด้วยกันเราเรียกว่าสถาปัตยกรรม<br />\n (architecture)<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ไมโครโปรเซสเซอร์มีสถาปัตยกรรมคล้ายกับดิจิตอลคอมพิวเตอร์หรือพูดอีกนัยหนึ่งได้ว่า<br />\n ไมโครโปรเซสเซอร์ก็เหมือนกับดิจิตอลคอมพิวเตอร์เพราะสิ่งทั้งสองนี้ทำงานภายใต้การควบคุม<br />\n ของโปรแกรมเหมือนกันฉะนั้นการศึกษาประวัติความเป็นมาของดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะช่วยให้เ<br />\n เราเข้าใจ การทำงานของไมโครโปรเซสเซอร์ และการศึกษาประวัติความเป็นามาของ<br />\n วงจรโซลิดสเตตก็จะช่วยให้เราเข้าใจไมโครโปรเซสเซอร์มากยิ่งขึ้นเพราะไมโครโปรเซสเซอร์ก็<br />\n คือวงจรโซลิดสเตตนั่นเอง<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ช่วง<br />\nสงครามโลกครั้งที่ 2<br />\nดิจิตอลคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานทางก้านการทหาร<br />\nในช่วงกลางทศวรรษที่1940ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานในด้าน<br />\nวิทยาศาสตร์ และธุรกิจ<br />\nในช่วงสงครามนี้ได้มีการศึกษาการทำงานของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็ว<br />\nสูง (มีชื่อว่า วงจรแบบพัลส์ (pulse circuit) ที่ใช้ในเรดาร์)<br />\nทำให้เราเข้าใจดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากขึ้น<br />\nภายหลังสงครามได้มีการค้นคว้าเกี่ยวกับคูณสมบัติทางกายภายของโซลิดสเตตอย่าง<br />\nมากจนกระทั่งในปี ค.ศ. 1948 นักวิทยาศาสตร์ที่ห้องเบลล์แล็บ (Bell<br />\nlaboratory) ได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ที่ทำจากโซลิดสเตต </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 เริ่มมีการผลิตดิจิตอลคอมพิวเตอร์ขึ้นเพื่อใช้งานโดยทั่ว<br />\n ๆ ไป ซึ่งทำมาจากหลอดสูญญากาศหลอดสูญญากาศเหล่านี้เป็นส่วนประกอบสำคัญ<br />\n ของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ซึ่งเราจะนำไปสร้างเป็นวงจรพื้นฐาน<br />\n เช่น เกต (gate) แปละฟลิปฟลอป (flip-flop) โดยเราจะนำเกตและฟลิปฟลอปหลาย<br />\n ๆ อันมารวมกันเพื่อใช้ในการสร้างวงจรคำนวณ หน่วยความจำ<br />\n และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุตของดิจิตอลคอมพิวเตอร์<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่ง ๆ จะมีวงจรต่าง<br />\n ๆ อยู่มากมาย ในช่วงแรกวงจรต่าง ๆจะสร้างขึ้นจาก หลอดสูญญากาศ<br />\n จึงทำให้ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ในช่วงแรก ๆมีขนาดใหญ่และเนื่องจาก<br />\n หลอดสูญญากาศ นี้เมื่อใช้งานนานๆจะร้อนดังนั้นเราจึงต้องติดตั้งระบบระบายความร้อน<br />\n เข้าไปด้วย ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสูญญากาศนี้มักเชื่อถือไม่ค่อยได้<br />\n เมื่อเทียบกับมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันการใช้หลอดสูญญากาศนี้เป็นส่วนประกอบ<br />\n ของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ทำให้ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ช่วงแรกมีราคาแพงและยากต่อการดูแลรักษา<br />\n ข้อเสียต่าง ๆ ของหลอดสูญญากาศนี้ทำให้เราพัฒนาดิจิตอลคอมพิวเตอร์ในช่วงแรงไปได้ช้ามาก<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">คอมพิวเตอร์<br />\nช่วงแรก ๆ ยังไม่มีที่สำหรับเก็บโปรแกรม<br />\nแต่จะมีที่ไว้สำหรับเก็บข้อมูลเท่านั้น ซึ่งในช่วงปลายทศวรรษที่ 1940<br />\nจนถึงต้นทศวรรษที่ 1950<br />\nการใช้งานคอมพิวเตอร์จะทำการโปรแกรมโดยวิธีที่เรียกว่า พาตช์คอร์ด (patch<br />\n- cord)<br />\nซึ่งโปรแกรมเมอร์จะต้องเป็นผู้นำสายต่อเข้ากับเครื่องเพื่อบอกให้เครื่องรู้<br />\nว่าจะต้องทำการ ประมวลผลข้อมูลอย่างไร<br />\nโดยหน่วยความจำของเครื่องจะมีไว้สำหรับเก็บข้อมูลเท่านั้น </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">คอมพิวเตอร์ในช่วงหลัง ๆ จะมีที่สำหรับเก็บโปรแกรม<br />\n ซึ่งก็หมายความว่า ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์จะถูกจัดเก็บอยู่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ด้วย<br />\n การที่เราจะทราบว่าข้อมูลในตำแหน่งใดเป็นขั้นตอนการทำงานหรือเป็นข้อมูลที่มีไว้สำหรับประมวลผล<br />\n ก็โดยการตรวจสอบดูข้อมูลนั้นว่าอยู่ที่ตำแหน่งใด (ซึ่งเราจะต้องทราบว่าเราเก็บข้อมูลต่าง<br />\n ๆ ที่ตำแหน่งใดและเก็บโปรแกรมที่ตำแหน่งใด) ความคิดเกี่ยวกับที่เก็บโปรแกรมนี้เป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก<br />\n รวมทั้งเป็นพื้นฐานที่สำคัญตัวหนึ่งในสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ในช่วงทศวรรษที่ 1950 ได้มีการค้นคว้าและทดลองโซลิดสเตตกันอย่างจริงจัง<br />\n ทำให้ได้รู้จักสารกึ่งตัวนำมากยิ่งขึ้น ได้มีการนำสารซิลิคอนมาทดแทนสารเจอร์เมเนียม<br />\n ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ (semiconductor)<br />\n ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิตลงเนื่องจากสารซิลิคอนหาได้ง่ายกว่าสารเจอร์เมเนียม<br />\n และการผลิตทรานซิสเตอร์ (transistor) ที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำจำนวนมากก็จะช่วยทำให้หาง่าย<br />\n และมีราคาถูกลง<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1950 นักออกแบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์ได้นำทรานซิสเตอร์มาใช้แทนหลอดสูญญากาศ<br />\n โดยวงจรต่าง ๆ ก็ยังคงใช้ทรานซิสเตอร์หลายตัวในการทำงาน<br />\n แต่คอมพิวเตอร์ที่ทำจากทรานซิสเตอร์นี้จะมีขนาดเล็กกว่า<br />\n เย็นกว่า และน่าเชื่อถือมากกว่าคอมพิวเตอร์ที่ทำจากหลอดสูญญากาศ<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 แนวทางการสร้างคอมพิวเตอร์จากโซลิดสเตตได้แยกออกเป็น<br />\n 2 แนวทาง แนวทางหนึ่งคือ การสร้างคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ต้องอยู่ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ<br />\n ซึ่งสร้างโดยบริษัทยักษ์ใหญ่ เช่น บริษัท IBM,Burroughs<br />\n และ Honeywell เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้สามารถประมวลผลได้ทีละมาก<br />\n ๆ และจะถูกนำไปใช้งานทางด้านการพาณิชย์และด้านวิทยาศาสตร์<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เหล่านี้จะมีคราคาแพงมาก<br />\n เพื่อที่จะให้คุ้มกับราคาจึงต้องใช้งานมันตลอดเวลา มีวิธีการอยู่<br />\n 2 วิธีในการที่จะใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อย่างคุ้มค่าที่สุด<br />\n นั่นก็คือวิธีแบตช์โหมด (batch mode) และไทม์แชริ่งโหมด<br />\n (timesharing mode) วิธีแบตช์โหมดคือการที่งานขนาดใหญ่เพียง<br />\n 1 ชิ้นจะถูกทำในทีเดียว และงานชิ้นต่อไปจะถูกทำทันทีเมื่องานชิ้นนี้เสร็จ<br />\n ส่วนวิธีไทม์แชริ่งโหมดคือการทำงานหลาย ๆ ชิ้นพร้อมกัน<br />\n โดยแบ่งงานนั้นออกเป็นส่วน ๆ และผลัดกันทำทีละส่วน<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">อีกแนวทางหนึ่งคือ การสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่า<br />\n โดยมีขนาดเท่าโต๊ะ เรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)<br />\n ซึ่งมีความสามารถไม่เท่ากับเครื่องขนาดใหญ่แต่มีราคาถูกกว่า<br />\n และสามารถทำงานที่มีประโยชน์ได้มาก ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ถูกนำไปใช้งานในห้องแล็บ<br />\n นักวิทยาศาสตร์จะใช้ดีดิเคตคอมพิวเตอร์ (dedicated computer)ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์<br />\n ที่ทำงานได้อย่างเดียวแทนที่จะใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถทำงานที่แตกต่างกันได้หลายอย่าง<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">โซลิดสเตตยังคงถูกพัฒนาต่อไปควบคู่กับดิจิตอลคอมพิวเตอร์<br />\n แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีทั้งสองนี้ มีความเกี่ยวดองกันมากขึ้น<br />\n การที่คอมพิวเตอร์มีวงจรพื้นฐานที่คล้ายกันจึงทำให้อุตสาหกรรม<br />\n ด้านสารกึ่งตัวนำทำการผลิตวงจรที่สามารถนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์พื้นฐานเดียวกันได้<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ใน<br />\nช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 ได้มีการนำทรานซิสเตอร์หลาย ๆ<br />\nตัวมาบรรจุลงในซิลิคอนเพียงตัวเดียว<br />\nโดยทรานซิสเตอร์แต่ละตัวจะถูกเชื่อมต่อกันโดยโลหะขนาดเล็กเพื่อสร้างเป็น<br />\nวงจรแบบต่าง ๆ เช่น เกต ฟลิปฟลอป รีจิสเตอร์ วงจรบวก<br />\nวงจรที่สร้างจากเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์แบบใหม่นี้เรียกว่า ไอซี<br />\n(integrated circuit : IC) </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1960 ได้มีการผลิตไอซีพื้นฐานที่เป็นแบบ<br />\n small และ medium scale integration (SSI และ MSI) ทำให้นักออกแบบสามารถเลือกใช้งานไอซีได้หลายแบบ<br />\n เทคโนโลยีไดซีนี้ถูกแลักดันออก 2 แนวทางคือ การพัฒนาทางด้านเทคนิคเพื่อลดต้นทุนการผลิต<br />\n และอีกแนวทางหนึ่งก็คือการเพิ่มความซับซ้อนให้กับวงจร<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">การนำไอซีมาใช้ในมินิคอมพิวเตอร์ทำให้มีความสามารถสูงขึ้น<br />\n มินิคอมพิวเตอร์ขนาดเท่าโต๊ะ ในช่วงทศวรรษที่ 1960 นั้นมีประสิทธิภายพอ<br />\n กับคอมพิวเตอร์ขน่าดเท่าห้องในช่วงปลายทศวรรษ ที่ 1950<br />\n และมินิคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ขนาดเท่าลิ้นชักราคา 10,000<br />\n ดอลลาร์ มีประสิทธิภาพพอ ๆ กับมินิคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าขนาดเท่าโต๊ะที่มีราคาถึง<br />\n 100,000 ดอลลาร์<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">จาก<br />\nที่กล่าวมาแล้วว่าเทคโนโลยีไอซีมีการพัฒนามาตั้งแต่กลางทศวรรษที่<br />\n1960โดยในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 1960 และต้นทศวรรษที่ 1970<br />\nได้เริ่มนำเอาวงจรดิจิตอลมาสร้างรวมกัน<br />\nและบรรจุอยู่ในไอซีเพียงตัวเดียวเราเรียกไอซีตัวนี้ว่า large-scale<br />\nintegration (LSI)<br />\nและในช่วงทศวรรษที่1980ได้มีการนำเอาทรานซิสเตอร์มากกว่า100,000ตัวมาใส่ลง<br />\nใน ไอซีเพียงตัวเดียว เราเรียกไอซีตัวนี้ว่า very large-scale integration<br />\n(VLSI) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">วงจร LSI<br />\nในตอนแรกนั้นถูกผลิตขึ้นเพื่อใช้กับงานเฉพาะอย่าง แต่ก็มีวงจร LSI<br />\nบางชนิดที่ถูกผลิตขึ้น เพื่อใช้กับงานทั่ว ๆ ไป เราจะเห็นการพัฒนาของวงจร<br />\nLSI ได้อย่างชัดเจน โดยดูได้จากการพัฒนา ของเครื่องคิดเลข<br />\nโดยเครื่องคิดเลขเริ่มแรกจะใช้ไอซีจำนวน 75 ถึง 100 ตัว ต่อมาวงจร LSI<br />\nชนิดพิเศษได้ถูกนำมาแทนที่ไอซีเหล่านี้ โดยใช้วงจร LSI นี้เพียง 5 ถึง 6<br />\nตัว และต่อมาช่วงกลางทศวรรษที่ 1970 วงจร LSI เพียงตัวเดียวก็สามารถ<br />\nใช้แทนการทำงานทั้งหมดของเครื่องคิดเลขได้<br />\nหลังจากที่วงจรคำนวณได้ถูกลดขนาดลง<br />\nสถาปัตยกรรมของคอมพิวเตอร์ก็ถูกลดขนาดลงด้วย<br />\nโดยเหลือเป็นไอซีเพียงตัวเดียว และเราเรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์<br />\n(microprocessor)<br />\nเราสามารถโปรแกรมไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อให้มันทำงานเฉพาะอย่างได้<br />\nดังนั้นมันจึงถูกนำไปใช้เป็น ส่วนประกอบที่สำคัญในสินค้า เช่น<br />\nในเตาอบไมโครเวฟ เครื่องโทรศัพท์ ระบบควบคุมอัตโนมัติ<br />\nเป็นต้นตั้งแต่ช่วงต้นทศวรรษที่ 1970<br />\nได้มีการปรับปรุงสถาปัตยกรรมของไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อเพิ่มความเร็ว<br />\nและเพิ่มประสิทธิภาพในการคำนวณ<br />\nไมโครโปรเซสเซอร์ช่วงแรกจะประมวลผลข้อมูลทีละ 4บิต<br />\nหรือเรียกว่าใช้เวิร์ดข้อมูลขนาด 4<br />\nบิตซึ่งทำงานได้ช้าแต่ต่อมาได้มีการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ใหม่<br />\nที่ทำงานได้เร็วขึ้น ซึ่งก็คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 8 บิต<br />\nและพัฒนาจนเป็นไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 16 บิต และ 32 บิตในที่สุด </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ชุดคำสั่ง (instruction set) ในไมโครโปรเซสเซอร์จะมีขนาดเพิ่มขึ้น<br />\n และมีความซับซ้อนมากขึ้น เมื่อจำนวนบิตของไมโครโปรเซสเซอร์เพิ่มขึ้น<br />\n ไมโครโปรเซสเซอร์บางตัวจะมีความสามารถพอ ๆ กับหรือเหนือกว่ามินิคอมพิวเตอร์ทั่วไป<br />\n ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 ได้มีการพัฒนาระบบไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด<br />\n 8 บิตที่มีหน่วยความจำ และมีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร<br />\n ระบบนี้มีชื่อเรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)<br />\n หรือไมโครโปรเซสเซอร์ชิปเดี่ยว ซึ่งได้มีการนำไปใช้อย่างแพร่หลาย<br />\n เพื่อควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น คีย์บอร์ด<br />\n เครื่องเล่นวีดีโอเทป โทรทัศน์ เตาอบไมโครเวฟ โทรศัพทื์ที่มีความสามารถสูง<br />\n และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในด้านอุตสาหกรรม<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>ถ้า<br />\nเปรียบเทียบกับร่างกายของมนุษย์โพรเซสเซอร์ก็น่าจะเปรียบเทียบเป็นเหมือน<br />\nสมองของมนุษย์นั่งเอง ซึ่งคอยคิดควบคุมการทำงานส่วนต่างๆของร่างกาย<br />\nดังนั้นถ้าจัดระดับความสำคัญแล้วโพรเซสเซอร์ก็น่าจะมีความสำคัญเป็นอันดับ<br />\nแรก</b></font>\n </p>\n<p align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.bcoms.net/hardware/images/processor.gif\" width=\"541\" height=\"558\" /></font></p>\n<p align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>บล็อกไดอะแกรมของโพรเซสเซอร์</b></font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>ส่วนประกอบของโพรเซสเซอร์มีดังนี้</b></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> Bus Interface<br />\n Unit (BIU) (Cbox) คือส่วนที่เชื่อมต่อระหว่าง address<br />\n bus, control bus และ data bus กับภายนอกเช่น หน่วยความจำหลัก<br />\n (main memory) และอุปกรณ์ภายนอก (peripherals) <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> Memory Management<br />\n Unit (MMU) (Mbox) คือส่วนที่ควบคุมโพรเซสเซอร์ในการใช้งานแคช<br />\n (cache) และหน่วยความจำ (memory) โดย MMU ยังช่วยในการทำ<br />\n virtual memory และ paging ซึ่งแปลง virtual addresses<br />\n ไปเป็น physical addresses โดยใช้ Translation Look-aside<br />\n Buffer (TLB) <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> Integrated<br />\n on-chip cache เป็นส่วนสำหรับเก็บข้อมูลที่ใช้งานบ่อยๆใน<br />\n Synchronous RAM (SRAM) เพื่อให้การทำงานของโพรเซสเซอร์มีประสิทธิภาพสูงสุด<br />\n ใช้งานได้ทั้ง L1 และ L2 on chip cache <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> Prefetch<br />\n Unit (part of Ibox) คือส่วนที่ดึงข้อมูลและคำสั่งจาก<br />\n instruction cache และ data cache หรือ main memory<br />\n based เมื่อ Prefetch Unit อ่านข้อมูลและคำสั่งมาแล้วก็จะส่งข้อมูลและคำสั่งเหล่านี้ต่อไปให้<br />\n Decode Unit <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> Decode Unit<br />\n or Instruction Unit (part of Ibox) คือส่วนที่แปลความหมาย<br />\n ถอดรหัส หรือแปลคำสั่ง ให้เป็นรูปแบบที่ ALU และ registers<br />\n เข้าใจ <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> Branch Target<br />\n Buffer (BTB) คือส่วนที่บรรจุคำสั่งเก่าๆที่เข้ามาสู่โพรเซสเซอร์<br />\n ซึ่ง BTB นั้นเป็นส่วนหนึ่งของ Prefetch Unit <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> Control<br />\n Unit or Execution Unit คือส่วนที่เป็นศูนย์กลางคอยควบคุมการทำงานในโพรเซสเซอร์ดังนี้<br />\n <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n อ่านและแปลความหมายของคำสั่งตามลำดับ <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n ควบคุม Arithmetic and Logic Unit (ALU), registers<br />\n และส่วนประกอบอื่นๆของโพรเซสเซอร์ ตามคำสั่ง <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n ควบคุมการเคลื่อนย้ายของข้อมูลที่รับ-ส่งจาก primary<br />\n memory และอุปกรณ์ I/O <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> ALU (Ebox)<br />\n คือส่วนที่ปฎิบัติตามคำสั่งและเปรียบเทียบ operands<br />\n ในบางโพรเซสเซอร์มีการแยก ALU ออกเป็น 2 ส่วนดังนี้<br />\n <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n Arithmetic Unit (AU) <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n Logic Unit (LU) <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n operation ที่ ALU ปฎิบัติตามเช่น <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n Arithmetic operations (+, -, *, และ /) <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n Comparisons (&lt;, &gt;, และ =) <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n Logic operations (and, or) <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> Floating-Point<br />\n Unit (FPU) (Fbox) คือส่วนที่ทำการคำนวณเกี่ยวกับจำนวนตัวเลขที่เป็นจุดทศนิยม<br />\n <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> Registers<br />\n (part of Ibox, Fbox, และ Ebox) คือส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลสำหรับการคำนวณในโพรเซสเซอร์<br />\n <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n Data register set เก็บข้อมูลที่ใช้งานโดย ALU เพื่อใช้สำหรับการคำนวณที่ได้รับการควบคุมจาก<br />\n Control Unit ซึ่งข้อมูลนี้อาจส่งมาจาก data cache,<br />\n main memory, หรือ Control Unit ก็ได้ <br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>•</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n Instruction register set เก็บคำสั่งที่กำลังทำงานอยู่<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>หน่วยประมวลผลกลาง<br />\n (Central Processing Unit : CPU)</b></font> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู<br />\n เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ<br />\n ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ ที่มีความสำคัญมากที่สุด<br />\n ของฮาร์ดแวร์เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน<br />\n เข้ามาทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน<br />\n หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนประสำคัญ 3 ส่วน คือ<br />\n </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>1. หน่วยคำนวณและตรรกะ<br />\n (Arithmetic &amp; Logical Unit : ALU)</b></font> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><br />\n&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;หน่วยคำนวณตรรกะ<br />\nทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทำงานเกี่ยวข้อง<br />\nกับ การคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร<br />\nนอกจากนี้หน่วยคำนวณและตรรกะของคอมพิวเตอร์<br />\nยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคำนวณธรรมดาไม่มี คือ<br />\nความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง<br />\nความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์<br />\nเพื่อให้ได้คำตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ เช่น<br />\nเปรียบเทียบมากว่า น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน ของจำนวน 2 จำนวน เป็นต้น<br />\nซึ่งการเปรียบเทียบนี้มักจะใช้ในการเลือกทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์<br />\nจะทำตามคำสั่งใดของโปรแกรมเป็น คําสั่งต่อไป </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>2. หน่วยควบคุม<br />\n (Control Unit)</b></font> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><br />\n&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;หน่วยควบคุมทำหน้าที่คงบคุมลำดับขั้นตอนการการประมวลผลและการทำงานของ<br />\nอุปกรณ์ต่างๆ ภายใน หน่วยประมวลผลกลาง<br />\nและรวมไปถึงการประสานงานในการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง<br />\nกับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจำสำรองด้วย<br />\nเมื่อผู้ใช้ต้องการประมวลผล ตามชุดคำสั่งใด<br />\nผู้ใช้จะต้องส่งข้อมูลและชุดคำสั่งนั้น ๆ เข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์เสียก่อน<br />\nโดยข้อมูล และชุดคำสั่งดังกล่าวจะถูกนำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลักก่อน<br />\nจากนั้นหน่วยควบคุมจะดึงคำสั่งจาก<br />\nชุดคำสั่งที่มีอยู่ในหน่วยความจำหลักออกมาทีละคำสั่งเพื่อทำการแปล<br />\nความหมายว่าคำสั่งดังกล่าวสั่งให้ ฮาร์ดแวร์ส่วนใด<br />\nทำงานอะไรกับข้อมูลตัวใด เมื่อทราบความหมายของ คำสั่งนั้นแล้ว<br />\nหน่วยควบคุมก็จะส่ง สัญญาณคำสั่งไปยังฮาร์แวร์ ส่วนที่ทำหน้าที่<br />\nในการประมวลผลดังกล่าว ให้ทำตามคำสั่งนั้น ๆ เช่น ถ้าคำสั่ง<br />\nที่เข้ามานั้นเป็นคำสั่งเกี่ยวกับการคำนวณ หน่วยควบคุมจะส่งสัญญาณ<br />\nคำสั่งไปยังหน่วยคำนวณและตรรกะ ให้ทำงาน<br />\nหน่วยคำนวณและตรรกะก็จะไปทำการดึงข้อมูลจาก หน่วยความจำหลักเข้ามาประมวลผล<br />\nตามคำสั่งแล้วนำผลลัพธ์ที่ได้ไปแสดงยังอุปกรณ์แสดงผล<br />\nหน่วยคงบคุมจึงจะส่งสัญญาณคำสั่งไปยัง อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์<br />\nที่กำหนดให้ดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ออกไปแสดงให้เห็นผลลัพธ์ดังกล่าว<br />\nอีกต่อหนึ่ง </font></p>\n<p align=\"justify\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>3. หน่วยความจำหลัก<br />\n (Main Memory)</b></font> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;คอมพิวเตอร์จะสามารถทำงานได้เมื่อมีข้อมูล<br />\n และชุดคำสั่งที่ใช้ในการประมวลผลอยู่ในหน่วยความ จำหลักเรียบร้อยแล้วเท่านั้น<br />\n และหลักจากทำการประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งเรียบร้อบแล้ว<br />\n ผลลัพธ์ที่ได้ จะถูกนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก และก่อนจะถูกนำออกไปแสดงที่อุปกรณ์แสดงผล<br />\n </font></p>\n<p> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><br />\n ข้อมูลจาก</font><font style=\"\" color=\"#000000\"> <a href=\"http://www.sanambin.com/\" target=\"_blank\">www.sanambin.com</a></font>\n</p><p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>แรม( RAM )</b></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ย่อมาจากคำว่า Random Access Memory </b>เป็นหน่วยความจำหลัก<br /><br />\nประเภทไม่ถาวร คือ สามารถบันทึกคำสั่งและข้อมูลไปเก็บไว้ในแรมได้<br />\nแต่หากไฟฟ้าดับหรือกระพริบ คำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้นั้นจะหายไปในทันที<br />\nหน่วยความจำชนิดนี้ใช้สำหรับทำงานโดยทั่วไป จึงต้องมีขนาดใหญ่มากพอ<br />\nถ้าเป็นเครื่องมินิคอมพิวเตอร์หน่วยความจำแรมอาจจะต้องมีขนาดใหญ่มากถึงขนาด<br />\n32 เมกะไบต์ เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันต้องมีขนาด 4<br />\nเมกะไบต์เป็นอย่างต่ำ <br /><br /><b>หลักการทำงาน</b><br /><br />\n หน่วยความจำ(แรม) ทำหน้าที่เก็บชุดคำสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กำลัง<br /><br />\nทำงานอยู่ไม่ว่าจะเป็นการนำเข้าข้อมูล ( Input ) หรือ การนำออกข้อมูล ( Output ) โดย<br /><br />\nเนื้อที่ของหน่วยความจำหลักแบบแรมนี้ได้ถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ<br /><i> 1. Input Storage Area</i><br />\nเป็นส่วนที่เก็บข้อมูลนำเข้าที่ได้รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเข้า เช่น<br />\nข้อมูลที่ได้มาจากคีย์บอร์ด เป็นต้น<br />\nโดยข้อมูลนี้จะถูกนำไปใช้ในการประมวลผลต่อไป<br /><i> 2. Working Storage Area</i> เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในระหว่างการประมวลผล<br /><i> 3. Output Storage Area</i> เป็นส่วนที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ตามความ<br /><br />\nต้องการของผู้ใช้ เพื่อรอที่จะถูกส่งไปแสดงออกยังหน่วยแสดงผลอื่นที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น<br /><br />\nจอภาพ เป็นต้น<br /><i> 4. Program Storage Area </i>เป็น<br />\nส่วนที่ใช้เก็บชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจะส่งเข้ามา<br />\nเพื่อใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคำสั่ง ชุดดังกล่าว<br />\nหน่วยควบคุมจะทำหน้าที่ดึงคำสั่งจากส่วนนี้ทีละคำสั่งเพื่อทำการแปลความหมาย<br />\nว่าคำสั่งนั้นสั่งให้ทำอะไร จากนั้น<br /><br />\nหน่วยควบคุม จะไปควบคุมฮาร์ดแวร์ที่ต้องการทำงานดังกล่าวให้ทำงานตามคำสั่งนั้น ๆ<br /><br />\nหน่วยความจำจะจัดอยู่ในลักษณะแถวแนวตั้ง ( CAS : Column Address Strobe ) และ<br /><br />\nแถวแนวนอน ( RAS : Row Address Strobe ) เป็นโครงสร้างแบบเมทริกซ์ (<br />\nMatrix ) โดยจะมีวงจรควบคุมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวงจรในชิปเซต ( Chipset )<br />\nควบคุมอยู่ โดยวงจรเหล่านี้จะส่งสัญญาณกำหนดแถวแนวตั้ง<br />\nและสัญญาณแถวแนวนอนไปยังหน่วยความจำ<br />\nเพื่อกำหนดตำแหน่งของข้อมูลในหน่วยความจำที่จะใช้งาน <br /><br />\nในการเข้าถึงข้อมูลในหน่วยความจำของซีพียู<br />\nสิ่งแรกที่ซีพียูได้รับในการเข้าถึงข้อมูล ก็คือ ซีพียูจะได้รับสัญญาณ RAS<br />\nแล้วหลังจากนั้นซีพียูจะต้องใช้เวลาสักครู่เพื่อรอรับสัญญาณ CAS<br />\nซึ่งช่วงนี้ได้ถูกเรียกว่า RAS to CAS Delay จะใช้เวลาประมาณ 2-3<br />\nสัญญาณนาฬิกา และในไบออส ( BIOS )<br />\nจะเปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถปรับค่านี้ได้ เช่น ปรับจาก 3 สัญญาณนาฬิกา<br />\nให้เหลือ 2<br />\nสัญญาณนาฬิกาซึ่งจะทำให้การเข้าถึงข้อมูลในหน่วยความจำเร็วขึ้นแต่มีโอกาส<br />\nเกิดความผิดพลาดได้สูง โดยสัญญาณทั้ง 2<br />\nแบบนี้จะเป็นเหมือนที่อยู่หรือตำแหน่งเก็บข้อมูลที่ทำให้ซีพียูสามารถค้นหา<br />\nข้อมูลในหน่วยความจำได้อย่างถูกต้อง<br /><br />\nในการคิดความเร็วของแรม ที่ตัว Memorychipจะมี เลขรหัส เช่น HM411000-70<br />\nตัวเลขหลัง (-) คือ ตัวเลขที่บอก ความเร็วของ RAM ตัวเลขนี้ เรียกว่า<br />\nAccesstime คือ เวลาที่เสียไป ในการที่จะเข้าถึงข้อมูล หรือ<br />\nเวลาที่แสดงว่า ข้อมูลจะถูก ส่งออกไปทาง Data busได้เร็วแค่ไหน ยิ่ง<br />\nAccess time น้อยๆ แสดงว่า RAM ตัวนั้นเร็วมาก<br /><br /><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3295.jpg\" alt=\"3295\" /><br /><br /> ความเร็วของแรมนั้นเรียกว่า Cycle time ซึ่งมีหน่วยเป็น ns โดย Cycle<br />\ntime เท่ากับ Read/Write cycle time (เวลาที่ในการส่งสัญญาณติดต่อ<br />\nว่าจะอ่าน/เขียน RAM) รวมกับ Access time และ Refresh time โดยทั่วไป RAM<br />\nจะต้องทำการตอบสนองซีพียู ได้ในเวลา 2 clock cycle หรือ 2 คาบ<br />\nหากแรมตอบสนองไม่ทันแรมจะส่งสัญญาณ /WAIT บอกซีพียูให้คอย คือ<br />\nการที่ซีพียูเพิ่ม clock cycle ซึ่งช่วงเวลานี้เรียกว่า WAIT STATE<br />\nและในส่วนของการเรียกใช้งานหน่วยความจำนั้น แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ<br />\nลักษณะแรกเป็นแบบ Asynchronous<br />\nเป็นหน่วยความจำที่ไม่ทำงานที่ความเร็วเดียวกับสัญญาณนาฬิกา<br />\nซึ่งจะพบได้ในหน่วยความจำ FPM และ EDO รุ่นเก่า<br />\nซึ่งใช้ชิปหน่วยความจำที่สามารถทำงานได้ที่ความเร็วเดียวกันกับความเร็วบัส<br />\nส่วนลักษณะที่สองเป็นแบบ Synchronous<br />\nเป็นหน่วยความจำที่ทำงานที่ความเร็วเดียวกับสัญญาณนาฬิกาของเครื่อง<br />\nคอมพิวเตอร์ พบได้ใน SDRAM<br />\nซึ่งสามารถทำงานได้ที่ความเร็วเดียวกันกับความเร็วบัส <br /><br /></font></p>\n<div style=\"font-size: 16px; color: rgb(0, 0, 255); font-weight: bold;\" id=\"P2\">\n <font style=\"\" color=\"#000000\">ประเภทของแรม </font></div>\n<div style=\"border-bottom: 1px dotted rgb(102, 102, 102); color: rgb(204, 204, 204); font-size: 12px; margin-bottom: 5px; padding-bottom: 5px;\">\n</div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"></font></p>\n<p> โดยปกติหน่วยความจำหลักของระบบคอมพิวเตอร์ จะเป็นหน่วยความจำแบบแรมซึ่ง<br /><br />\nสามารถเขียนข้อมูลได้ตลอดเวลา แรมนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ด้วยกันคือ<br /><b> 1. Static Random Access Memory ( SRAM )<br /><br />\n 2. Dynamic Random Access Memory ( DRAM ) </b><br /><br /><br />\n1. SRAM แบบสแตติกหรือเรียกสั้น ๆ ว่า SRAM เป็นหน่วยความจำที่ทำงานได้เร็วกว่า<br /><br />\nแบบ DRAM และไม่ต้องการวงจรไฟฟ้าสำหรับการ Refresh<br />\nข้อมูลที่เก็บไว้ภายในหน่วยความจำ ในขณะที่หน่วยความจำแบบ DRAM<br />\nนั้นต้องการวงจร Refresh แต่เนื่องจากหน่วยความจำแบบ SRAM นั้นมีราคาแพง<br />\nทำให้ผู้ผลิตไม่ได้ใช้ SRAM<br />\nมาทำเป็นหน่วยความจำมาตรฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี<br />\nการใช้งานส่วนใหญ่ของหน่วยความจำประเภทนี้จะถูกจำกัดไว้เฉพาะการเป็นหน่วย<br />\nความจำแคช ( Cache )<br />\nซึ่งมีขนาดเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับหน่วยความจำทั้งหมดที่ติดตั้งอยู่ใน<br />\nเครื่องคอมพิวเตอร์<br /><br /><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3296.jpg\" alt=\"3296\" /><br /><br /><br />\n2. DRAM แบบไดนามิกหรือเรียกสั้น ๆ ว่า DRAM เป็นหน่วยความจำที่ถูกนำมาใช้ผลิต<br /><br />\nแรมเพื่อใช้ติดตั้งลงในเครื่องคอมพิวเตอร์<br />\nซึ่งหน่วยความจำนี้ได้รับความนิยมสูง อันเนื่องมาจากมีความจุสูง<br />\nกินไฟน้อยและราคาถูกกว่าหน่วยความจำ SRAM<br />\nแต่ข้อเสียก็คือมีความยุ่งยากในการออกแบบเพื่อการนำไปใช้งาน เนื่องจาก<br />\nDRAM จะทำการเก็บข้อมูลไว้ในตัวเก็บประจุ (Capaciter)<br />\nซึ่งจำเป็นจะต้องมีการ refresh<br />\nข้อมูลอยู่ตลอดตามระยะเวลาที่กำหนดไว้เพื่อเก็บข้อมูลให้คงอยู่ไม่ให้ข้อมูล<br />\nสูญหายไปและเป็นการเติมไฟฟ้าเข้าไปเพื่อให้ข้อมูลที่กำลังจางหายไปมีความ<br />\nเข้มขึ้น โดยการ refresh นี้ทำให้เกิดช่วงเวลาขึ้นในการเข้าถึงข้อมูล<br />\nและที่ต้อง refresh ตัวเองอยู่ตลอดเวลาจึงเป็นเหตุให้ได้ชื่อว่า Dynamic<br />\nRandom Access Memory<br /><br /><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3297.jpg\" alt=\"3297\" /><br /><br /></p>\n<div style=\"border-bottom: 1px dotted rgb(102, 102, 102); color: rgb(204, 204, 204); font-size: 12px; margin-bottom: 5px; padding-bottom: 5px;\">\n</div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"></font></p>\n<p> การผลิตหน่วยความจำขึ้นใช้งานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ มีรูปแบบของหน่วยความจำหลายรูปแบบด้วยกัน ดังนี้<br /><br /><b>DIP ( Dual In-Line Package )</b><br /><br /><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3298.jpg\" alt=\"3298\" /><br /><br /><br />\n ในยุคเริ่มแรกที่คอมพิวเตอร์เริ่มใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ส่วนมากมักเป็น<br /><br />\nคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ( PC : Personal Computer ) ใช้ซีพียู 8088 หรือ<br />\n80286 หน่วยความจำ DRAM ถูกออกแบบให้บรรจุอยู่ในแพ็คเกจแบบ DIP<br />\nเป็นแรมที่อยู่ในรูปแบบของ IC ( Integrated Circuit ) หรือชิปแรม ( Memory<br />\nChip ) ซึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีขาเรียงกันเหมือนตะขาบทั้ง 2 ข้าง<br />\nการใช้งานหรือติดตั้งแรมชนิดนี้ทำได้โดยการติดลงบนซ็อกเก็ตของ DIP Socket<br />\nซึ่งอยู่บนเมนบอร์ด<br />\nและในการติดตั้งชิปหน่วยความจำแบบนี้จะต้องระมัดระวังด้วย เพราะขา ( Pin )<br />\nของชิปบอบบาง งอง่าย หักง่าย<br /><br /><b>SIPP ( Single In-line Pin Package )</b><br /><br />\nช่วยลดความยุ่งยากของการติดตั้ง RAM แบบ DIP<br />\nลงได้มากเพราะจะมีการติดตั้งชิปหน่วยความจำเรียงกันเป็นแถวลงบน PCB (<br />\nPrinted Circuit Board ) เสียก่อน ทำให้มีลักษณะเป็นแผง และรูปแบบ SIPP<br />\nนี้จะมีขาเพียงแถวเดียวเรียงไปตามแนวยาวของแผ่น PCB<br />\nใช้ติดตั้งลงบนซ็อกเก็ตยาว ๆ บนเมนบอร์ด ซึ่งจะติดตั้งได้ง่ายกว่า DIP มาก<br />\nและเป็นแบบที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน<br /><br /><b>SIMM ( Single In-line Memory Module )</b><br /><br /><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3299.jpg\" alt=\"3299\" /><br /><br /><br />\nเริ่มต้นมีช่องทางเดินข้อมูล ( Datapath ) ขนาด 8 บิต เป็นการ์ดขนาดเล็กที่มีความจุ 1, 2<br /><br />\nหรือ 4 MB มีขา 30 Pin เป็นแบบ Edge Connector (<br />\nเป็นลายวงจรเรียงกันเป็นซี่ตามขอบ PCB ในแนวยาว ) ในการติดตั้ง SIMM<br />\nจะไม่มีการใช้เสียบลงไปตรง ๆ เหมือนการ์ดทั่วไป แต่จะเสียบลงแบบเอียง ๆ<br />\nแล้วดัน SIMM ไปด้านข้างเพื่อให้กลไกบนซ็อกเก็ตทำการล็อค SIMM เอาไว้<br />\nการใช้ Edge Connector ใน SIMM ก็เพื่อตัดปัญหาเรื่องหน้าสัมผัสของ Pin<br />\nกับซ็อกเก็ต สำหรับ SIMM ที่ถูกผลิตออกมาจะแบ่งได้เป็นชนิดต่าง ๆ<br />\nตามความกว้างของข้อมูลของ SIMM แต่ละโมดูล คือชนิด 8 บิต, 16 บิต, 32 บิต<br />\nการจัดวางลำดับของ Edge Connector<br />\nจะมีมาตราฐานกลางที่ใช้กันอยู่ด้วยโมดูลที่มี Datapath กว้าง 8 บิต<br />\nดังนั้นเวลานำไปใช้กับซีพียูที่มี Datapath เท่ากับ 16 บิต ( ซีพียูรุ่น<br />\n286 และ 386 SX ) ก็จำเป็นต้องใส่แรมทีละ 2 แถว<br />\nเพื่อให้สามารถส่งข้อมูลให้กับซีพียูได้เท่ากับ 16<br />\nบิตซึ่งบนเมนบอร์ดมักจะมีซ็อกเก็ตมาให้ 4 แถว แต่จะมีการจับคู่เอาไว้<br />\nโดยแต่ละคู่จะเรียกว่า \" Bank \" ซึ่งจะมีการระบุเป็นตัวหนังสือไว้ชัดเจน<br />\nดังนั้นเวลาติดตั้งแรมชนิดนี้ก็ต้องเลือก Bank ให้ถูกต้องด้วย จะใส่ Bank<br />\nละแถวไม่ได้ เมื่อซีพียูถูกพัฒนาให้มี Datapath 32 บิต ( รุ่น 386 DX และ<br />\n486 ) ก็เท่ากับว่าจะต้องใส่ SIMM แรมขนาด 8 บิต จำนวน 4 แถว ( ถือเป็น 1<br />\nBank) จึงจะครบ 32 บิต ดังนั้นเมนบอร์ดที่ผลิตขึ้นมาใช้กับเครื่อง 486<br />\nในรุ่นแรก จะมีรูปแบบของการติดตั้งแบบ 4 แถว ได้แก่ 4 x 1 MB, 4 x 2 MB<br />\nหรือ 4 x 4 MB ในแต่ละ Bank สังเกตว่าจะมีเพียง 1 Bank เท่านั้น ( 4 แถว )<br />\nต่อมาได้มีการพัฒนา SIMM ซึ่งมีความกว้าง Datapath 32 บิต<br />\nเพื่อใช้ในเครื่อง 486 และ Pentium ยุคเริ่มต้น<br /><br /><b>DIMM ( Dual In-line Memory Module )</b><br /><br /><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3300.jpg\" alt=\"3300\" /><br /><br /> หมายถึงแรมชนิด DDR SDRAM ซึ่งเป็นแรมรูปแบบใหม่ที่พัฒนาต่อจาก SDRAM<br />\nถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐานกลางโดย ( Joint Electron Device Engineer Council<br />\n) ลักษณะ<br /><br />\nโดยทั่วไปจะคล้าย SIMM แต่จะมี 168 Pin ( ข้างละ 84 pin ) ขนาด 64 บิต ความเร็ว 8-12 ns ( Nano Second )<br /><br /><b>RIMM ( RAMBUS In-line Memory Module )</b><br /><br /></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3359.jpg\" alt=\"3359\" /></font></div>\n<p> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><br /> เป็นแรมรูปแบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับ Pentium 4 เท่านั้น<br />\nโดยโมดูลแบบ RIMM จะมีลักษณะเหมือน DIMM แต่ขาสัญญาณมากกว่า โดยจะมี 184<br />\nขา ซึ่งในการติดตั้งแรมชนิดนี้ จะมีสิ่งที่แตกต่างไปจาก SDRAM และ DDR<br />\nSDRAM เนื่องจากในการติดตั้งจะต้องมีการใส่ C-RIMM ( Continuity RIMM )<br />\nในช่องที่เหลือด้วย มิฉะนั้นจะทำงานไม่ได้ ซึ่ง C-RIMM ก็คือแผ่น PCB<br />\nเปล่า ๆ ที่นำมาใส่เพื่อให้เครื่องทำงานได้ <br /><br /></font></p>\n<div style=\"border-bottom: 1px dotted rgb(102, 102, 102); color: rgb(204, 204, 204); font-size: 12px; margin-bottom: 5px; padding-bottom: 5px;\">\n</div>\n<p> <font style=\"\" color=\"#000000\"><b>รายละเอียดของ RAM แต่ละชนิด</b><br /><br />\nParity จะมีความสามารถในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล โดยจะมี bit<br />\nตรวจสอบ 1 ตัว ถ้าพบว่ามีข้อมูลผิดพลาด ก็จะเกิด system halt ในขณะที่แบบ<br />\nNon-Parity จะไม่มีการตรวจสอบ bit นี้ Error Checking and Correcting<br />\n(ECC) หน่วยความจำแบบนี้ ได้พัฒนาขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง<br />\nเพราะนอกจากจะตรวจสอบว่ามีข้อมูลผิดพลาดได้แล้ว ยังสามารถแก้ไข bit<br />\nที่ผิดพลาดได้อีกด้วย โดยไม่ทำให้ system halt แต่หากมีข้อมูลผิดพลาดมาก ๆ<br />\nมันก็มี halt ได้เหมือนกัน สำหรับ ECC นี้จะเปลือง overhead<br />\nเพื่อเก็บข้อมูล มากกว่าแบบ Parity ดังนั้น Performance<br />\nของมันจึงถูกลดทอนลงไป<br /><br /></font></p>\n<div align=\"center\">\n<font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3365.jpg\" alt=\"3365\" /> EDORAM <br /><br /><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3366.jpg\" alt=\"3366\" /> DDRRAM<br /><br /><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3368.jpg\" alt=\"3368\" /> SDRAM<br /><br /><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3367.jpg\" alt=\"3367\" /> RDRAM <br /></font>\n</div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><br /></font></p>\n<div align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>ชนิดและความแตกต่างของ RAM</b><br /></font></div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><b>Dynamic Random Access Memory (DRAM)</b><br /> DRAM<br />\nจะทำการเก็บข้อมูลในตัวเก็บประจุ (Capaciter) ซึ่งจำเป็นต้องมีการ refresh<br />\nเพื่อเก็บข้อมูลให้คงอยู่โดยการ refresh<br />\nนี้ทำให้เกิดการหน่วงเวลาขึ้นในการเข้าถึงข้อมูล และก็เนื่องจากที่มันต้อง<br />\nrefresh ตัวเองอยู่ตลอดเวลาจึงเป็นเหตุให้ชื่อว่า Dynamic RAM <br /><br /><b>Staic Random Access Memory (SRAM)</b><br /> ต่างจาก DRAM ตรง DRAM ต้อง<br />\nrefresh ข้อมูลอยู่ตลอดเวลา แต่ในขณะที่ SRAM จะเก็บข้อมูลไว้<br />\nและจะไม่ทำการ refresh โดยอัตโนมัติ ซึ่งมันจะทำการ refresh<br />\nก็ต่อเมื่อสั่งให้มัน refresh เท่านั้น ซึ่งข้อดีของมันก็คือความเร็ว<br />\nซึ่งเร็วกว่า DRAM ปกติมาก แต่ราคาสูง <br /><br /><b>Fast Page Mode DRAM (FPM DRAM)</b><br /> FPM เหมือนกับ DRAM<br />\nเพียงแต่ว่า มันลดช่วงการหน่วงเวลาขณะเข้าถึงข้อมูลลง ทำให้<br />\nมันมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สูงกว่า DRAM ปกติ<br />\nซึ่งโดยที่สัญญาณนาฬิกาในการเข้าถึงข้อมูล จะเป็น 6-3-3-3 (Latency<br />\nเริ่มต้นที่ 3 clock พร้อมด้วย 3 clock สำหรับการเข้าถึง page) และสำหรับ<br />\nระบบแบบ 32 bit จะมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงสุด 100 MB ต่อวินาที<br />\nส่วนระบบแบ 64 bit จะมีอัตรา การส่งถ่ายข้อมูลที่ 200 MB ต่อวินาที<br />\nเช่นกัน ปัจจุบันนี้ RAM ชนิดนี้เกือบไม่พบในตลาดแล้ว แต่ยังมีให้เห็นบ้าง<br />\nและราคาค่อนข้างแพงเมื่อเที่ยบกับ RAM รุ่นใหม่ ๆ<br />\nเนื่องจากที่ว่าปริมาณในท้องตลาดมีน้อยมาก ทั้ง ๆ<br />\nที่ยังมีคนต้องการใช้แรมชนิดนี้อยู่<br /><br /><b>Extended-Data Output (EDO) DRAM</b><br /> คือ Hyper-Page Mode DRAM<br />\nซึ่งพัฒนาขึ้นอีกระดับหนึ่ง<br />\nโดยจะอ้างอิงตำแหน่งที่อ่านข้อมูลจากครั้งก่อนไว้ด้วย<br />\nปกติแล้วการดึงข้อมูลจาก RAM ณ ตำแหน่งใด ๆ มักจะดึงข้อมูล ณ<br />\nตำแหน่งที่อยู่ใกล้ ๆ จากการดึงก่อนหน้านี้ เพราะฉะนั้น ถ้ามีการอ้างอิง ณ<br />\nตำแหน่งเก่าไว้ก่อน ก็จะทำให้เสียเวลาในการเข้าถึงตำแหน่งน้อยลง<br />\nและยังลดช่วงเวลาของ CAS latency ลงด้วย<br />\nและด้วยความสามารถนี้ทำให้การเข้าถึงข้อมูลดีขึ้นกว่าเดิมกว่า 40%<br />\nเลยทีเดียว และมีความสามารถโดยรวมสูงกว่า FPM กว่า 15% EDO<br />\nจะทำงานได้ดีที่ 66 MHz ด้วย timming 5-2-2-2 และก็ยังทำงานได้ดี<br />\nแม้จะใช้งานที่ 83 MHz ด้วย Timming นี้และหากว่า chip EDO นี้<br />\nมีความเร็วที่สูงมากพอ (มากกว่า 50ns) มันจะสามารถใช้งานได้ ณ 100 MHz ที่<br />\nTimming 6-3-3-3 อัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงสุด ของ DRAM ชนิดนี้อยู่ที่ 264<br />\nMB ต่อวินาที EDO RAM ในปัจจุบันนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้แล้ว<br /><br /><b>Burst EDO (BEDO) DRAM </b><br /> BEDO ได้เพิ่มความสามารถขึ้นมาจาก EDO<br />\nเดิม คือ Burst Mode โดยหลังจากได้ address ที่ต้องการ address<br />\nแรกแล้วมันก็จะทำการ generate อีก 3 address ขึ้นทันที ภายใน 1<br />\nสัญญาณนาฬิกา ดังนั้น จึงตัดช่วงเวลาในการรับ adress ต่อไป เพราะฉะนั้น<br />\nTimming ของมันจึงเป็น 5-1-1-1 ณ 66 MHz BEDO ไม่เป็นที่แพร่หลาย<br />\nและได้รับความนิยมเพียงระยะเวลาสั้น ๆ เนื่องจากว่าทาง Intel ตัดสินใจใช้<br />\nSDRAM แทน EDO และไม่ได้ใช้ BEDO เป็นส่วนประกอบในการพัฒนา chipset ของตน<br />\nทำให้บริษัทผู้ผลิต ต่าง ๆ หันมาพัฒนา SDRAM แทน <br /><br /><b>Synchronous DRAM (SDRAM) SDRAM</b><br /> ต่างจาก DRAM<br />\nเดิมตรงที่มันจะทำงานสอดคล้องกับสัญญาณนาฬิกา สำหรับ DRAM<br />\nเดิมจะทราบตำแหน่งที่อ่านก็ต่อเมื่อเกิดทั้ง RAS และ CAS ขึ้น<br />\nแล้วจึงทำการไปอ่านข้อมูลโดยมีช่วงเวลาในการเข้าถึงข้อมูลตามที่เรามักจะได้<br />\nเห็นบนตัว chip ของตัว RAM เช่น -50, -60, -80 โดย -50 หมายถึง<br />\nช่วงเวลาเข้าถึง ใช้เวลา 50 นาโนวินาทีเป็นต้น แต่ SDRAM<br />\nจะใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวกำหนดการทำงานโดยจะใช้ความถี่ของสัญญาณเป็นตัวระบุ<br />\nSDRAM จะทำงานตามสัญญาณนาฬิกาขาขึ้นเพื่อรอรับตำแหน่งข้อมูล<br />\nที่ต้องการให้มันอ่าน<br />\nแล้วจากนั้นมันก็จะไปค้นหาให้และให้ผลลัพธ์ออกมาหลังจากได้รับตำแหน่งแล้ว<br />\nเท่ากับค่าของ CAS เช่น CAS 2 ก็คือ<br />\nหลังจากรับตำแหน่งที่อ่านแล้วมันจะให้ผลลัพธ์ออกมา ภายใน 2<br />\nลูกของสัญญาณนาฬิกา SDRAM จะมี Timming เป็น 5-1-1-1 ซึ่งเร็วพอ ๆ กันกับ<br />\nBEDO RAM เลยที่เดียว แต่ว่ามันสามารถทำงานได้ ณ 100 MHz หรือมากกว่า<br />\nและมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงสุดที่ 528 MB ต่อวินาที<br /><br /><b>DDR SDRAM (หรือ SDRAM II)</b><br /> DDR RAM นี้แยกออกมาจาก SDRAM<br />\nโดยจุดที่ต่างกันหลัก ๆ ของทั้งสองชนิดนี้คือ DDR SDRAM<br />\nนี้สามารถที่จะใช้งานได้ทั้งขาขึ้น และขาลง<br />\nของสัญญาณนาฬิกาเพื่อส่งถ่ายข้อมูล นั่นก็ทำให้อัตราส่งถ่าย<br />\nเพิ่มขึ้นได้ถึงเท่าตัว ซึ่งมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงสุดถึง 1 G<br />\nต่อวินาที<br /><br /><b>Rambus DRAM (RDRAM)</b><br /> RAMBUS เป็นเครื่องหมายการค้าของบริษัท<br />\nRAMBUS Inc. ซึ่งตั้งมาตั้งแต่ยุค 80 แล้ว โดยปัจจุบันได้เอาหลักการของ<br />\nRAMBUS มาพัฒนาใหม่ โดยการลด pin รวม static buffer และทำการปรับแต่งทาง<br />\ninterface ใหม่ DRAM ชนิดนี้ จะสามารถทำงานได้ทั้งขอบขาขึ้น<br />\nและลงของสัญญาณนาฬิกา และเพียงช่องสัญญาณเดียว ของหน่วยความจำแบบ RAMBUS<br />\nนี้ มี Performance มากกว่าเป็น 3 เท่า จาก SDRAM 100 MHz แล้ว<br />\nและเพียงแค่ช่องสัญญาณเดียวนี้ก็มีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงถึง 1.6 G<br />\nต่อวินาที ถึงแม้ว่าเวลาในการเข้าถึงข้อมูลแบบ สุ่มของ RAM ชนิดนี้จะช้า<br />\nแต่การเข้าถึงข้อมูลแบบต่อเนื่องจะเร็วมาก ๆ ซึ่ง RDRAM นี้มีการพัฒนา<br />\nInterface และมี PCB (Printed Circuit Board) ที่ดี และรวมถึง Controller<br />\nของ Interface ให้ สามารถใช้งานได้ถึง 2<br />\nช่องสัญญาณแล้วมันจะมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลเพิ่มเป็น 3.2 G ต่อวินาที<br />\nและหากว่าสามารถใช้ได้ถึง 4 ช่องสัญญาณก็จะสามารถเพิ่มไปถึง 6.4 G<br />\nต่อวินาที <br /><br /><b>Synchronous Graphic RAM (SGRAM)</b><br /> SGRAM นี้ก็แยกออกมาจาก SDRAM<br />\nเช่นกันโดยถูกปรับแต่งมาสำหรับงานด้าน Graphics<br />\nเป็นพิเศษแต่โดยโครงสร้างของ Hardware แล้ว แทบไม่มีอะไรต่างจาก SDRAM<br />\nเลยจากบาง Graphic Card ที่เป็นรุ่นเดียวกัน แต่ใช้ SDRAM ก็มี SGRAM ก็มี<br />\nเช่น Matrox G200 แต่จุดที่ต่างกัน ก็คือ ฟังก์ชัน ที่ใช้โดย Page<br />\nRegister ซึ่ง SG สามารถทำการเขียนข้อมูลได้หลาย ๆ ตำแหน่ง<br />\nในสัญญาณนาฬิกาเดียว ในจุดนี้ทำให้ความเร็วในการแสดงผล และ Clear Screen<br />\nทำได้เร็วมาก และยังสามารถเขียนแค่บาง bit ใน word ได้<br />\n(คือไม่ต้องเขียนข้อมูลใหม่ทั้งหมดเขียนเพียงข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงเท่านั้น)<br />\nโดยใช้ bitmask ในการเลือก bit ที่จะเขียนใหม่สำหรับงานโดยปกติแล้ว SGRAM<br />\nเกือบจะไม่ให้ผลที่ต่างจาก SDRAM เลย มันเหมาะกับงานด้าน Graphics มากกว่า<br />\nเพราะความสามารถที่แสดงผลเร็วและ Clear Screen ได้เร็วมันจึงเหมาะกับใช้บน<br />\nGraphics Card มากกว่า ที่จะใช้บน System<br /><br /><b>Video RAM (VRAM)</b><br /> VRAM ทำงานเกี่ยวกับ Video<br />\nเพราะถูกออกแบบมาใช้บน Dispaly Card โดย VRAM นี้ก็มีพื้นฐานมาจาก DRAM<br />\nเช่นกัน แต่ที่ทำให้มันต่างกันก็ด้วยกลไกการทำงานบางอย่างที่เพิ่มเข้ามา<br />\nโดยที่ VRAM นั้น จะมี serial port พิเศษเพิ่มขึ้นมาอีก 1 หรือ 2 port<br />\nทำให้เรามองว่ามันเป็น RAM แบบ พอร์ทคู่ (Dual-Port) หรือ ไตรพอร์ท<br />\n(Triple-Port) Parallel Port ซึ่งเป็น Standard Interface ของมัน<br />\nจะถูกใช้ในการติดต่อกับ Host Processor เพื่อสั่งการให้ ทำการ refresh<br />\nภาพขึ้นมาใหม่ และ Serial Port ที่เพิ่มขึ้นมา<br />\nจะใช้ในการส่งข้อมูลภาพออกสู่ Display<br /><br /><b>Windowns RAM (WRAM)</b><br /> WRAM ถูกพัฒนาโดย Matrox<br />\nเพราะเป็นผู้เดียวที่ใช้ RAM ชนิดนี้ บน Graphics Card ของตน (card ตระกูล<br />\nMillenium และ Millenium II แต่ไม่รวม Millenium G200 ซึ่งเป็น ซึ่งใช้<br />\nSGRAM ) แต่ในปัจจุบันมีของ Number 9 ที่ใช้ WRAM เช่นกัน ในรุ่น Number 9<br />\nRevolution IV ที่ใช้ WRAM 8M บน Crad WRAM นี้โดยรวมแล้วก็เหมือน ๆ กับ<br />\nVRAM จะต่างกันก็ตรงที่ มันรองรับ Bandwith ที่สูงกว่า อีกทั้งยังใช้ระบบ<br />\nDouble-Buffer อีกด้วย จึงทำให้มันเร็วกว่า VRAM อีกมากทีเดียว<br /><br /><b>SLDRAM</b><br /><br />\nSLDRAM เป็นแรมที่แม้ว่าจะอยู่ในระหว่างการพัฒนาแต่ก็มีแนวโน้มที่จะเป็น RAM<br /><br />\nสำหรับอนาคต เพราะได้รับการออกแบบและพัฒนารวมกันโดยกลุ่มบริษัทผู้ผลิต RAM<br />\n( ยกเว้นอินเทลกับ Rambus ที่ยังคงยืนหยัดมั่นคงกับ RDRAM ) เพื่อให้เป็น<br />\nRAM รุ่นต่อจาก DDR โดยจะทำงานที่ความเร็วสูงได้ถึง 200 MHz<br />\nและเมื่อทำงานแบบ DDR ก็จะได้ความเร็วในการส่งข้อมูลถึง 400 MHz<br />\nเลยทีเดียว บัสของ SLDRAM เริ่มต้นที่ขนาด 2 ไบต์<br />\nซึ่งก็จะได้อัตราการส่งข้อมูลเริ่มต้นที่ 800 MB/s<br />\nทั้งนี้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและกระบวนการผลิตชิปและโมดูลแรมจาก<br />\nSDR หรือ DDR มากมาย SLDRAM<br /><br /><b>MDRAM ( Multibank DRAM )</b><br /><br /></font></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/3/3372.jpg\" alt=\"3372\" /></font></div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><br /><br />\nMDRAM ( Multibank DRAM ) เป็นการออกแบบ DRAM โดยแบ่งเป็นหลาย ๆ กลุ่มหรือ<br /><br />\nbank ที่มีขนาดเล็ก เช่น 32KB แต่รวมอยู่บนชิปเดียวกัน โดยแต่ละ bank<br />\nมีกลไกในการที่จะเข้าถึงข้อมูลแยกจากกันต่างหากซึ่งต่างก็ต่อเข้ากับบัสโดย<br />\nตรง ผลคือแต่ bank สามารถทำการรับส่งข้อมูลได้พร้อม ๆ กัน<br />\nทำให้ได้ความเร็วสูงกว่า DRAM ธรรมดา <br /><br /></font></p>\n<div style=\"font-size: 16px; color: rgb(0, 0, 255); font-weight: bold;\" id=\"P5\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n วิธีการเลือกซื้อแรม </font></div>\n<div style=\"border-bottom: 1px dotted rgb(102, 102, 102); color: rgb(204, 204, 204); font-size: 12px; margin-bottom: 5px; padding-bottom: 5px;\">\n</div>\n<p> <font style=\"\" color=\"#000000\"><b>การเลือกซื้อ RAM สำหรับคอมพิวเตอร์ </b><br /><br /><br />\nสำหรับ RAM ควรเลือกซื้อยี่ห้อที่น่าเชื่อถือได้ ขนาดของ RAM<br />\nที่จะใช้สำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์แบบทั่ว ๆ ไปกับ Windows 98 ควรที่จะมี<br />\nRAM ประมาณ 64M. ไม่แนะนำให้ใช้ RAM น้อยกว่านี้<br />\nถึงแม้ว่าจะสามารถใช้งานได้ก็ตาม เพราะว่าการที่ใช้ RAM น้อย ๆ จะทำให้<br />\nฮาร์ดดิสก์ ต้องทำงานหนักขึ้นอีกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้<br />\nฮาร์ดดิสก์เสียได้เร็วกว่าอายุการใช้งานจริง หากต้องการเน้นการเล่นเกมส์<br />\nหรือการใช้งานหนัก ๆ ควรจะมี RAM ไม่น้อยกว่า 128M. สำหรับการ Upgrade<br />\nเครื่อง การเพิ่ม RAM จะเป็นทางเลือกที่ประหยัดที่สุด แต่ต้องพิจารณาดูว่า<br />\nRAM ที่มีอยู่เดิมเป็นแบบไหน EDO-RAM 72 pin หรือ SD-RAM 168 pin<br />\nรวมทั้งเมนบอร์ดเดิมสามารถใส่ RAM แบบใดได้ หลักการเพิ่มและเลือกซื้อ RAM<br />\nมีดังนี้ คือ <br /><br /><br />\nขนาดของ RAM ต่อ 1 ชิ้น ซึ่งบนเมนบอร์ดจะมีข้อจำกัดของช่องใส่ RAM<br />\nเช่นใส่ได้ 3 หรือ 4 ช่อง หากเลือก RAM ที่มีขนาดน้อย ๆ ต่อชิ้น เช่นเลือก<br />\nRAM แถวละ 32M. จำเป็นต้องซื้อ 2 แถวเพื่อให้ได้ 64M.<br />\nในอนาคตหากต้องการเพิ่มแรมอีก ก็จะเป็นปัญหาเพราะว่าไม่มีช่องใส่ RAM<br />\nการใช้ RAM ที่มีขนาด และความเร็วที่ไม่เท่ากัน<br />\nก็อาจจะเป็นปัญหาให้กับระบบคอมพิวเตอร์ได้ เช่น การไม่เสถียร<br />\nหรือเครื่องขัดข้องบ่อย ๆ ได้ ดังนั้น ถ้าเป็นการซื้อ RAM<br />\nใหม่ให้เลือกขนาดที่ใหญ่ที่สุด เช่น 64M. หรือ 128M. ต่อ 1 แถว<br />\nและใส่ให้น้อยแถวที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ความเร็วของบัสแรม<br />\nก็ต้องเลือกให้เข้ากับ CPU และ เมนบอร์ด (ความเร็วส่วนใหญ่จะเป็น 66, 100<br />\nและ 133 MHz) เช่น Celeron ใช้ความถี่ FSB 66 MHz อาจจะใช้งานกับ RAM แบบ<br />\nPC-66 ก็ได้ แต่หากใช้ CPU Pentium II หรือ Pentium III ซึ่งใช้ความเร็ว<br />\nFSB 100MHz ก็ต้องใช้ RAM แบบ PC-100 ด้วยหรือ CPU รุ่นใหม่ ๆ<br />\nที่ใช้ความเร็วบัส FSB 133 MHz ก็ต้องใช้แรมแบบ PC-133<br />\nความเร็วของการส่งถ่ายข้อมูลของ RAM ไม่ชัดเจน<br />\nแต่โดยทั่วไปก็จะมีตัวเลขที่บอกความเร็วของการเข้าถึงข้อมูล เช่น 10 nsec,<br />\n8nsec หรือ 6 nsec เป็นต้น ตัวเลขยิ่งน้อย<br />\nก็ทำให้การเข้าถึงข้อมูลทำได้เร็วกว่า สำหรับการ Over Clock<br />\nก็คงต้องเลือกยี่ห้อของ RAM เช่น RAM แบบ PC-133<br />\nบางยี่ห้อสามารถทำงานที่ความเร็วสูงถึง 180 MHz ได้ แต่ราคาสูง) <br /><br /><b><br /></b></font></p>\n<p>รวบรวมข้อมูลมาจาก:<br /><br />\n<font style=\"\" color=\"#00ff00\"><a href=\"http://www.nfe.go.th/13/banprak/computer/ram.html\" mce_href=\"http://www.nfe.go.th/13/banprak/computer/ram.html\">www.nfe.go.th/13/banprak/computer/ram.html</a></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\"><b>เคส (Case) <a name=\"case\"></a></b>&nbsp;<br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\">&nbsp;อย่างที่รู้จักกันดีอยู่แล้วว่า<br />\n เคส คือ&nbsp;&nbsp;&nbsp; โครง&nbsp;&nbsp;หรือ&nbsp;&nbsp;&nbsp;กล่องสำหรับประกอบอุปกรณ์ต่างๆ<br />\n ของ คอมพิวเตอร์ไว้ภายใน ซึ่ง&nbsp;ปัจจุบันนี้ เคส ที่นิยมใช้กันอยู่มีอยู่ด้วยกัน<br />\n 5 แบบ คือ &nbsp;</font> <font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\"><br /><br />\n </font>\n </p>\n<table width=\"36%\" align=\"center\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"121\">\n<div align=\"left\"><font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;1.<br />\n Full Power<br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;2. Medium Tower&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3. Mini Tower&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;4. Desktop&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;5. Slimline</font><br />\n <font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\"><br /><br />\n </font></div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<table width=\"98%\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\"><font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\">&nbsp;<img src=\"http://yalor.yru.ac.th/%7Enipon/bnipon/PIC/CASE/Case2.jpg\" width=\"322\" height=\"322\" /></font></div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<div align=\"left\">\n<table width=\"550\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td>\n<div align=\"center\"><font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\"><img src=\"http://yalor.yru.ac.th/%7Enipon/bnipon/PIC/CASE/Case1.jpg\" width=\"322\" height=\"322\" /></font></div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> <font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\"><br /><br />\n </font> </p>\n<div align=\"left\"><font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เคส&nbsp;<b>Full<br />\n Power</b> &nbsp;จะมีรูปร่างที่สูงที่สุดใน &nbsp;บรรดาแบบ</font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n </font><font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\">Tower และ<br />\n เคส แบบ <b>Medium Mini &nbsp;</b>ก็จะมีรูปร่างเล็กตามลำดับ<br />\n โดย เคสชนิดนี้ จะมีลักษณะสูงขึ้นไปด้านบนแต่เคส แบบ<b> Desktop</b><br />\n &nbsp;และ <b>Slimline </b> จะมีลักษณะ ราบตามแนวนอน&nbsp;<br />\n สามารถวางจอภาพ บนเคสชนิดนี้ได้ ทำให้คุณสามารถ ประหยัดเนื้อที่<br />\n ในการวางจอภาพ ไปได้เป็นอย่างมาก แต่ข้อเสีย คือ ถ้าจะต้องเปิดฝาเคส<br />\n เพื่อจะทำการใดๆ ภายในเคสจะต้องยกจอ ภาพออกมาก่อน จึงเปิดได้ &nbsp;เคสที่มีขนาดใหญ่<br />\n &nbsp;จะมีข้อ ดีตรงที่ สามารถเพิ่มอุปกรณ์ ให้กับระบบได้มากกว่า<br />\n เช่นอาจจะเพิ่ม ฮาร์ดดิสก์ ตัวที่ 2 หรือ 3 เพิ่มซีดีรอมไดรว์ &nbsp;ตัวที่สองหรือ<br />\n อุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น ๆ เคส (case) ถ้ามองจากด้านหน้า จะเห็นได้ว่าส่วนผู้ใช้<br />\n จะใช้งาน ได้เพียง แค่ปุ่มสวิทช์ ไม่กี่อัน ซึ่งปุ่มที่สำคัญ คือ<br />\n ปุ่ม เปิด /&nbsp;ปิด เครื่อง&nbsp; (on /off หรือ power) ซึ่งมักจะเป็นปุ่ม<br />\n ที่มีขนาด ใหญ่ที่สุด เพื่อสะดวกในการใช้งาน บางเครื่องจะมีปุ่มนี้เพียงปุ่มเดียวเท่านั้นที่อยู่บนเครื่อง<br />\n แต่บางเครื่อง จะมีปุ่มที่เล็ก ๆ ที่กำกับไว้ด้วย คำว่า reset เพื่อใช้แทน<br />\n การเปิดปิดเครื่องใหม่ โดยไม่มีการปิดเครื่อง&nbsp;ซึ่งเป็นเพียง<br />\n แต่ควบคุม การทำงาน ของซีพียูให้กลับไปเริ่มต้นใหม่ เหมือนเพิ่งเปิดเครื่องเท่านั้น<br />\n &nbsp;ถ้า เป็นเครื่องรุ่นเก่า อาจจะมีปุ่มที่เขียนว่า turbo ซึ่งโดยปกติ<br />\n จะเป็น on แต่ถ้ากดซ้ำให้ off ก็จะเป็นการลดเครื่องเร็ว ของเครื่องลง<br />\n เนื่องจากซอฟต์แวร์&nbsp;&nbsp;&nbsp; สมัยก่อนบางตัว อาจไม่สามารถ<br />\n ทำงานได้ถูกต้อง ซึ่งตัวเครื่องใหม่ รุ่นปัจจุบันไม่มีเรื่องแบบนี้อีกแล้ว<br />\n ส่วน ปุ่มที่เห็นได้ก็จะเป็นปุ่ม ของอุปกรณ์ ในเครื่อง ซึ่งได้แก่<br />\n ดิสเก็ตต์ (diskette หรือ floppy disk) และซีดีรอม (cd - rom) &nbsp;ซึ่งสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลจริง<br />\n ๆ ไม่ได้ติดมา กับตัวเรื่อง แต่ปุ่มเหล่านี้จะใช้สำหรับ นำแผ่น ดิสก์หรือซีดีออกจากไดรว์เหล่านั้น&nbsp;&nbsp;นอกจากนี้<br />\n ด้านหน้าส่วนใหญ่ อีกสอง ถึง สามดวง คือ ดวงที่จะติดสว่างอยู่ตลอดเวลา<br />\n ที่เปิดเครื่อง เพื่อแสดงว่าขณะนี้กำลังเปิดเครื่องอยู่ ส่วนดวงไฟ<br />\n อีกดวง จะกระพริบ เป็นบางครั้ง ก็คือไฟที่แสดงว่ากำลังมีการใช้งาน<br />\n ฮาร์ดดิสก์อยู่ ซึ่งอยู่จะเป็นการอ่าน หรือเขียนก็แล้วแต่ ส่วนอีก<br />\n ดวงหนึ่งในปัจจุบัน ก็ไม่ค่อยเห็นกันแล้วก็คือไฟของปุ่ม turbo ส่วนด้านหลังของเครื่อง<br />\n จะเห็นช่องเสียบสาย ต่อต่าง ๆ จำนวนมากที่เครื่องพีซีได้เตรียมไว้สำหรับ<br />\n การใช้งานหลากหลาย ได้แก่ คีย์บอร์ด ,เมาส์ ,จอภาพ ,ช่องต่อโมเด็ม&nbsp;&nbsp;<br />\n (หรือที่เรียกว่า พอร์ต อนุกรม - serial</font><font style=\"\" color=\"#000000\"> </font><font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif\">port)<br />\n ช่องต่อเครื่องพิมพ์ (หรือที่เรียกว่า พอร์ตขนาน - parallel port)<br />\n พอร์ต USB พอร์ต เกมสำหรับต่อ จอยสติ๊ก และอาจจะมีช่องเสียบของลำโพง<br />\n , ไมโครโฟน, สายเสียบโทรศัพท์, สายเน็ตเวิร์ก, รวมทั้งช่อง เสียบสายไฟ<br />\n เลี้ยงตัวเครื่องที่ต้องนำไปเสียบเข้ากับปลั๊กไฟในบ้าน หรือ อื่นๆ<br />\n อีกมากมายตามแต่ว่า เครื่องนั้น มีอุปกรณ์ &nbsp;อะไรติดตั้งอยู่บ้าง</font><font style=\"\" color=\"#000000\"> <br /></font></div>\n</div>\n<p><font style=\"\" color=\"#00ff00\"><a href=\"http://yalor.yru.ac.th/%7Enipon/bnipon/contant1_1.htm\" mce_href=\"http://yalor.yru.ac.th/~nipon/bnipon/contant1_1.htm\">&nbsp;http://yalor.yru.ac.th/~nipon/bnipon/contant1_1.htm</a></font></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><b><font style=\"\">พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)&nbsp; </font></b></font></p>\n<p align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img src=\"http://www.thaigoodview.com/files/u10919/power.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/power.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"180\" align=\"\" border=\"\" height=\"166\" hspace=\"\" /></font> </p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญอย่างมากต่ออุปกรณ์เกือบทุกตัวในระบบ</font><font style=\"\" color=\"#000000\">คอมพิวเตอร์</font><font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\nซัพพลายของคอมพิวเตอร์นั้นมีลักษณะการทำงาน คือทำหน้าที่แปลงกระแสไฟฟ้าจาก<br />\n220 โวลต์ เป็น 5 โวลต์ และ 12 โวลต์ ตามแต่ความต้องการของอุปกรณ์นั้นๆ<br />\nโดยชนิดของพาวเวอร์ซัพพลาย ในคอมพิวเตอร์จะแบ่งได้เป็น 2 ชนิดตามเคส<br />\nคือแบบ AT และแบบ ATX</font></p>\n<h2><font style=\"\" color=\"#000000\"><span class=\"mw-headline\">ประเภทของพาวเวอร์ซัพพลาย</span></font></h2>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">ประเภทของ Power Supply แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่คือ</font></p>\n<ul>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">AT เป็นแหล่งจ่ายไฟที่นิยมใช้กันในประมาณ 4-5 ปีก่อน (พ.ศ. 2539)<br />\nโดยปุ่มเปิด - ปิด การทำงานเป็นการต่อตรงกับแหล่งจ่ายไฟ<br />\nทำให้เกิดปัญหากับอุปกรณ์บางตัว เช่น ฮาร์ดดิสก์ หรือ<span class=\"mw-redirect\">ซีพียู</span> ที่ต้องอาศัยไฟในชั่วขณะหนึ่ง ก่อนที่จะเปิดเครื่อง (วิธีดูง่ายๆ จัมีสวิตซ์ปิดเปิด จากพาวเวอร์ซัพพลายติดมาด้วย)</font></li>\n</ul>\n<ul>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">ATX เป็นแหล่งจ่ายไฟที่นิยมใช้ในปัจจุบัน โดยมีการพัฒนาจาก AT<br />\nโดยเปลี่ยนปุ่มปิด - เปิด ต่อตรงกับส่วนเมนบอร์ดก่อน<br />\nเพื่อให้ยังคงมีกระแสไฟหล่อเลี้ยงอุปกรณ์ก่อนที่จะปิดเครื่อง<br />\nทำให้ลดอัตราเสียของอุปกรณ์ลง โดยมีรุ่นต่างๆ ดังนี้<br />\n</font>\n<ul>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">ATX 2.01 แบบ PS/2 ใช้กับคอมพิวเตอร์ทั่วๆไปที่ใช้ตัวถังแบบ ATX สามารถใช้ได้กับเมนบอร์ดแบบ ATX และ Micro ATX</font></li>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">ATX 2.03 แบบ PS/2 ใช้กับคอมพิวเตอร์แบบ Server หรือ Workstation<br />\nที่ใช้ตัวถังแบบ ATX (สังเกตว่าจะมีสายไฟเพิ่มอีกหนึ่งเส้น ที่เรียกว่า<br />\nAUX connector)</font></li>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">ATX 2.01 แบบ PS/3 ใช้กับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตัวถังแบบ Micro ATX และเมนบอร์ดแบบ Micro ATX เท่านั้น</font></li>\n</ul>\n</li>\n</ul>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><a class=\"mceItemAnchor\" title=\".E0.B8.AA.E0.B9.88.E0.B8.A7.E0.B8.99.E0.B8.95.E0.B9.88.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B9.86_.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.9E.E0.B8.B2.E0.B8.A7.E0.B9.80.E0.B8.A7.E0.B8.AD.E0.B8.A3.E0.B9.8C.E0.B8.8B.E0.B8.B1.E0.B8.9E.E0.B8.9E.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.A2\" name=\".E0.B8.AA.E0.B9.88.E0.B8.A7.E0.B8.99.E0.B8.95.E0.B9.88.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B9.86_.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.9E.E0.B8.B2.E0.B8.A7.E0.B9.80.E0.B8.A7.E0.B8.AD.E0.B8.A3.E0.B9.8C.E0.B8.8B.E0.B8.B1.E0.B8.9E.E0.B8.9E.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.A2\" id=\".E0.B8.AA.E0.B9.88.E0.B8.A7.E0.B8.99.E0.B8.95.E0.B9.88.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B9.86_.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.9E.E0.B8.B2.E0.B8.A7.E0.B9.80.E0.B8.A7.E0.B8.AD.E0.B8.A3.E0.B9.8C.E0.B8.8B.E0.B8.B1.E0.B8.9E.E0.B8.9E.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.A2\"></a></font></p>\n<h2><font style=\"\" color=\"#000000\"><span class=\"editsection\"></span><span class=\"mw-headline\">ส่วนต่างๆ ของพาวเวอร์ซัพพลาย</span></font> </h2>\n<ul>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">ไฟกระแสสลับขาเข้า (AC Input) พลังงานไฟฟ้าในส่วนนี้ จะมาจากปลั๊กไฟ<br />\nโดยที่รู้แล้วว่าไฟที่ใช้กันอยู่จะเป็นไฟฟ้ากระแสสลับที่มีขนาดแรงดัน 220v<br />\nความถี่ 50 Hz<br />\nเมื่อเสียบปลั๊กไฟกระแสไฟฟ้าก็จะวิ่งตามตัวนำเข้ามายังเครื่องใช้ไฟฟ้า</font></li>\n</ul>\n<ul>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">ฟิวส์<br />\n(Fuse)<br />\nเป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการป้องกันวงจรพาวเวอร์ซัพพลายทั้งหมดให้รอดพ้น<br />\nอันตราย จากกระแสไฟแรงสูงที่เกิดขึ้นจากการถูกฟ้าผ่า<br />\nหรือกระแสไฟฟ้าแรงสูงในรูปแบบต่างๆ<br />\nโดยหากเกิดกระแสไฟฟ้าแรงสูงเกินกว่าที่ฟิวส์จะทนได้<br />\nฟิวส์ตัวนี้ก็จะตัดในทันทีทันใด</font></li>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">วงจรกรองแรงดัน วงจรกรองแรงดันนี้จะทำหน้าที่กรองแรงดันไฟไม่ว่าจะเป็นแบ</font><font style=\"\" color=\"#000000\"><span class=\"new\"></span></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> หรือกระแสตรงก็ตาม ที่เข้ามาให้มีความบริสุทธิ์จริงๆ เพื่อป้องกัน<span class=\"mw-redirect\">แรงดันไฟฟ้า</span>ที่ผิดปกติเช่นไฟกระชาก ซึ่งจะเป็นผลให้วงจรต่างๆ ในพาวเวอร์ซัพพลายเกิดความเสียหาย กระแสสลับขึ้นได้</font></li>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">ภาคเรคติไฟเออร์ (Rectifier) หลังจากที่ไฟกระแสสลับ 220v<br />\nได้วิ่งผ่านฟิวส์<br />\nและวงจรกรองแรงดันเรียบร้อยแล้วก็จะตรงมายังภาคเรคติไฟเออร์<br />\nโดยหน้าที่ของเจ้าเรคติไฟเออร์ ก็คือ การแปลงไฟกระแสสลับ<br />\nให้มาเป็นไฟกระแสตรง ซึ่งก็ประกอบไปด้วย<br />\n</font>\n<ul>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">ตัวเก็บประจุ (Capacitor) จะทำหน้าที่ทำปรับให้แรงดันไฟกระแสตรงที่ออกมาจากบริดเรคติไฟเออร์ ให้เป็นไฟกระแสตรงที่เรียบจริงๆ</font></li>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">ได<br />\nโอดบริดจ์เรคติไฟเออร์ (Bridge Rectifier) ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของตัว IC<br />\nหรือแบบที่นำไดโอด 4 ตัวมาต่อกันให้เป็นวจรบริดจ์เรคติไฟเออร์</font></li>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">วงจรสวิตชิ่ง (Switching) เป็นวงจรที่ใช้ในการทำงานร่วมกับวงจรควบคุม<br />\n(Contrlo Circuit)<br />\nเพื่อตรวจสอบว่าควรจะจ่ายแรงดันทั้งหมดให้กับระบบหรือไม่<br />\nโดยถ้าวงจรควบคุมส่งสัญญาณมาให้กับวงจรสวิตซิ่งว่าให้ทำงาน<br />\nก็จะเริ่มจ่ายแรงดันไฟฟ้าที่ได้จากภาคเรคติไฟเออร์ไปให้กับหม้อแปลงต่อไป</font></li>\n</ul>\n</li>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">หม้อแปลงไฟฟ้า<br />\n(Transformer)<br />\nหม้อแปลงที่ใช้ในวงจรสวิตชิ่งซัพพลายจะเป็นหม้อแปลงที่มีหน้าที่ในการแปลงไฟ<br />\nที่ได้จากภาคสวิตชิ่ง ซึ่งก็รับแรงดันไฟมาจากภาคเรติไฟเออร์อีกต่อหนึ่ง<br />\nโดยแรงดันไฟฟ้ากระแสงตรงที่มีค่าแรงดันสูงขนาดประมาณ 300 v<br />\nดังนั้นหม้อแปลงตัวนี้ก็จะทำหน้าที่ในการแปลงแรงดันไฟกระแสตรงสูงนี้ให้มี<br />\nระดับแรงดันที่ลดต่ำลงมา เพื่อที่จะสามารถใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้<br />\nก่อนที่จะส่งไปให้วงจรควบคุมแรงดันต่อไป</font></li>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">วงจรควบคุมแรงดัน (Voltage Control)<br />\nเป็นวงจรที่จะกำหนดค่าของแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่ได้รับมาจากหม้อแปลงไฟฟ้า<br />\nเพื่อที่จะให้ได้ระดับแรงดันที่เหมาะสมกับอุปกรณ์ต่างๆ<br />\nโดยค่าของระดับแรงดันไฟฟ้านี้ก็จะมีขนาด 5v และ 12v<br />\nสำหรับพาวเวอร์ซัพพลายที่ใช้กับเมนบอร์ดแบบ AT<br />\nแต่ถ้าเป็นพาวเวอร์ซัพพลายที่ใช้กับเมนบอร์ดที่เป็นแบบ ATX<br />\nก็จะต้องมีวงจรควบคุมแรงดันให้ออกมามีขนาด 3.3v เพิ่มอีกหนึ่ง<br />\n(ซึ่งซีพียูรุ่นเก่าที่ใช้แรงดันไฟขนาด 3.3 v<br />\nนี้ก็สามารถที่จะดึงแรงดันไฟในส่วนนี้ไปเลี้ยงซีพียูได้เลย)</font></li>\n<li><font style=\"\" color=\"#000000\">วงจรควบคุม เป็นวงจรที่ใช้ในการควบคุมวงจรสวิตชิ่ง<br />\nว่าจะให้ทำการจ่ายแรงดันไปให้กับหม้อแปลงหรือไม่<br />\nและแน่นอนว่าในส่วนนี้จะทำงานร่วมกับวงจรลอจิกที่อยู่บนเมนบอร์ด<br />\nเมื่อวงจรลอจิกส่งสัญญาณกลับมาให้แก่วงจรควบคุม<br />\nวงจรควบคุมก็จะสั่งการให้วงจรสวิตชิ่งทำงาน</font></li>\n</ul>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><a class=\"mceItemAnchor\" title=\".E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B1.E0.B8.81.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.97.E0.B8.B3.E0.B8.87.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.9E.E0.B8.B2.E0.B8.A7.E0.B9.80.E0.B8.A7.E0.B8.AD.E0.B8.A3.E0.B9.8C.E0.B8.8B.E0.B8.B1.E0.B8.9E.E0.B8.9E.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.A2\" name=\".E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B1.E0.B8.81.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.97.E0.B8.B3.E0.B8.87.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.9E.E0.B8.B2.E0.B8.A7.E0.B9.80.E0.B8.A7.E0.B8.AD.E0.B8.A3.E0.B9.8C.E0.B8.8B.E0.B8.B1.E0.B8.9E.E0.B8.9E.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.A2\" id=\".E0.B8.AB.E0.B8.A5.E0.B8.B1.E0.B8.81.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.97.E0.B8.B3.E0.B8.87.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.9E.E0.B8.B2.E0.B8.A7.E0.B9.80.E0.B8.A7.E0.B8.AD.E0.B8.A3.E0.B9.8C.E0.B8.8B.E0.B8.B1.E0.B8.9E.E0.B8.9E.E0.B8.A5.E0.B8.B2.E0.B8.A2\"></a></font></p>\n<h2><font style=\"\" color=\"#000000\"><span class=\"editsection\"></span><span class=\"mw-headline\">หลักการทำงานของพาวเวอร์ซัพพลาย</span></font> </h2>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">พาวเวอร์ซัพพลาย ทั้งแบบ AT และ ATX นั้นมีลักษณะการทำงานที่เหมือนกัน<br />\nคือรับแรงดันไฟจาก 220-240 โวลต์ โดยผ่านการควบคุมด้วยสวิตช์ สำหรับ AT<br />\nและเมนบอร์ด แล้วส่งแรงดันไฟส่วนหนึ่งกลับไปที่ช่อง AC output<br />\nเพื่อเลี้ยงตัวมอนิเตอร์ และจะส่งแรงดันไฟ 220 โวลต์<br />\nอีกส่วนหนึ่งเข้าสู่หน่วยการทำงานที่ทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟสลับ 220 โวลต์<br />\nให้เป็นไฟกระแสตรง 300 โวลต์ โดยไม่ผ่านหม้อแปลงไฟ ระบบนี้เรียกว่า<br />\n(Switching power supply )<br />\nและผ่านหม้อแปลงที่ทำหน้าที่แปลงไฟตรงสูงให้เป็นไฟตรงต่ำ<br />\nโดยจะฝ่านชุดอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่กำหนดแรงดันไฟฟ้าอีกชุดหนึ่งแบ ่งให้เป็น<br />\n5 และ 12 ก่อนที่จะส่งไปยังสายไฟและตัวจ่ายต่างๆ โดยความสามารถพิเศษของ<br />\nSwitching power supply ก็คือ มีชุด Switching<br />\nที่จะทำการตัดไฟเลี้ยงออกทันทีเมื่อมีอุปกรณ์ที่โหลดไฟตัวใดตัว<br />\nหนึ่งชำรุดเสียหาย หรือช็อตนั่นเอง</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" mce_href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C\">&nbsp;http://th.wikipedia.org/wiki/</a></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp;ซาวด์ การ์ด (Sound Card)</b></font></p>\n<p align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"/files/u10919/SoundCard.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/SoundCard.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"400\" align=\"\" border=\"\" height=\"260\" hspace=\"\" /></font></p>\n<p align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>การ์ดเสียง<br />\n ที่จะช่วยให้คุณฟังเพลง ดูหนัง เล่นเกม บันทึกเสียงเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้<br />\n แม้เมนบอร์ดส่วนใหญ่ จะรวมเอาการ์ดเสียงเป็นชุดเดียวกับเมนบอร์ด (Sound on<br />\n Board) แต่ถ้าหากต้องการคุณภาพเสียงที่ดีกว่า หรือต้องการใช้งานด้านตนตรี<br />\n ตัดต่อวิดีโอ ฟังเพลง ดูหนัง ที่ได้อารมณ์สุดๆ ก็ควรเลือกการ์ดเสียงที่ทำเป็นการ์ด<br />\n แยกต่างหาก ตัวอย่างการ์ดที่ได้รับความนิยมก็เช่น Creative SoundBlaster<br />\n Live, Audigy</b><br /></font> </p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><a href=\"http://www.zabzaa.com/hardware/soundcard.htm\" mce_href=\"http://www.zabzaa.com/hardware/soundcard.htm\">http://www.zabzaa.com/hardware </a></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>Display Card (การ์ดแสดงผล)</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\"> <br /></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"></font></p>\n<p> หลักการทำงานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น<br />\n เมื่อโปรแกรมต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล<br />\n เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนำมาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล<br />\n จากนั้น การ์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา<br />\n การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมีวงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ<br />\n และมีหน่วยความจำมาให้มากพอสมควร<br /><br /><b><br />\n <center><br />\n<div style=\"text-align: center;\"><img src=\"http://www.bcoms.net/img/graphicsboard-4.jpg\" width=\"200\" height=\"186\" /></div>\n<p></p></center><br /><br />\n หน่วยความจำ</b></p>\n<p> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;การ์แสดงผลจะต้องมีหน่วยความจำที่เพียงพอในการใช้งาน<br />\n เพื่อใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่ได้รับมาจากซีพียู และสำหรับการ์ดแสดงผล<br />\n บางรุ่น ก็สามารถประมวลผลได้ภายในตัวการ์ด โดยทำหน้าที่ในการ<br />\n ประมวลผลภาพ แทนซีพียูไปเลย ช่วยให้ซีพียูมีเวลาว่ามากขึ้น<br />\n ทำงานได้เร็วขึ้น<br /><br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เมื่อได้รับข้อมูลจากซีพียูมาการ์ดแสดงผล<br />\n ก็จะเก็บข้อมูลที่ได้รับมาไว้ในหน่วยความจำส่วนนี้นี่เอง<br />\n ถ้าการ์ดแสดงผล มีหน่วยความจำมากๆ ก็จะรับข้อมูลมาจากซีพียูได้มากขึ้น<br />\n ช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพ มีความเร็วสูงขึ้น และหน่วยความจำที่มีความเร็วสูงก็ยิ่งดี<br />\n เพราะจะมารถรับส่งข้อมูลได้เร็วขึ้น ยิ่งถ้าข้อมูล<br />\n ที่มาจากซีพียู มีขนาดใหญ่ ก็ยิ่งต้องใช้หน่วยความจำที่มีขนาดใหญ่ๆ<br />\n เพื่อรองรับการทำงานได้โดยไม่เสียเวลา ข้อมูลที่มี<br />\n ขนาดใหญ่ๆ นั่นก็คือข้อมูลของภาพ ที่มีสีและความละเอียดของภาพสูงๆ<br /><b><br /><br />\n ความละเอียดในการแสดงผล</b></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;การ์ดแสดงผลที่ดีจะต้องมีความสามารถในการแสดงผลในความละเอียดสูงๆ<br />\n ได้เป็นอย่างดี ความละเอียดในการแสดงผลหรือ Resolution<br />\n ก็คือจำนวนของจุดหรือพิเซล (Pixel) ที่การ์ดสามารถนำไป<br />\n แสดงบนจอภาพได้ จำนวนจุดยิ่งมาก ก็ทำให้ภาพที่ได้<br />\n มีความคมชัดขึ้น ส่วนความละเอียดของสีก็คือ ความสามารถในการแสดงสี<br />\n ได้ในหนึ่งจุด จุดที่พูดถึงนี้ก็คือ จุดที่ใช้ในการแสดงผล<br />\n ในหน้าจอ เช่น โหมดความละเอียด 640x480 พิกเซล ก็จะมีจุดเรียงตามแนวนอน<br />\n 640 จุด และจุดเรียงตามแนวตั้ง 480 จุด<br /><br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;โหมดความละเอียดที่เป็นมาตราฐานในการใช้งานปกติก็คือ<br />\n 640x480 แต่การ์ดแสดงผลส่วนใหญ่ สามารถที่จะแสดงผลได้หลายๆ<br />\n โหมด เช่น 800x600, 1024x768 และการ์ดที่มีประสิทธิภาพสูงก็จะ<br />\n สามารถแสดงผลในความละเอียด 1280x1024 ส่วนความละเอียดสก็มี<br />\n 16 สี, 256 สี, 65,535 สี และ 16 ล้านสีหรือมักจะเรียกกันว่า<br />\n True Color<br /><b><br /><br />\n อัตราการรีเฟรชหน้าจอ</b></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;การ์ดแสดงผลที่มีประสิทธิภาพ<br />\n จะต้องมีอัตราการรีเฟรชหน้าจอได้หลายๆ อัตรา อัตราการรีเฟรชก็คือ<br />\n จำนวนครั้งในการกวาดหน้าจอ ใหม่ในหนึ่งวินาที ถ้าหากว่าอัตรารีเฟรชต่ำ<br />\n จะทำให้ภาพบนหน้าจอ มีการกระพริบ ทำให้ผู้ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์<br />\n เกิดอาการล้า ของกล้ามเนื้อตา และอาจทำให้เกิดอันตราย<br />\n กับดวงตาได้<br /><br /></font><br />\n <font style=\"\" color=\"#000000\"><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;อัตราการรีเฟรชในปัจจุบันมีมากกว่า<br />\n 100 เฮิรตซ์ ขึ้นอยู่กับยี้ห้อของการ์ดแสดงผล ถ้าใช้จอภาพขนาดใหญ่<br />\n อัตรารีเฟรชยิ่งต้องเพิ่มมากขึ้น อัตรารีเฟรชยิ่งมากก็ยิ่งดี</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><a href=\"http://www.bcoms.net/hardware/diskplaycard.asp\" mce_href=\"http://www.bcoms.net/hardware/diskplaycard.asp\">http://www.bcoms.net/hardware/diskplaycard.asp </a></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p style=\"margin: 0pt 0pt 10pt; text-align: left;\" class=\"MsoNormal\" align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b><span color=\"#3366cc\" face=\"\'Tahoma\',\'sans-serif\'\" style=\"font-size: 10pt;\">จอภาพ</span></b><b><span color=\"#3366cc\" face=\"\'Tahoma\',\'sans-serif\'\" style=\"font-size: 10pt;\"> (Monitor)</span></b><span color=\"black\" face=\"\'Tahoma\',\'sans-serif\'\" style=\"font-size: 10pt;\">&nbsp; </span></font></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"/files/u10919/monitor.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/monitor.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"152\" border=\"\" height=\"181\" hspace=\"\" /></font></div>\n<p> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /></font>\n</p><p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;<span color=\"black\" face=\"\'Tahoma\',\'sans-serif\'\" style=\"font-size: 10pt;\"><span>จอภาพ</span> (Monitor) <span>เป็น<br />\nส่วนประกอบที่ใช้แสดงผลของเครื่องคอมพิวเตอร์<br />\nลักษณะของจอภาพที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์คล้ายกับจอโทรทัศน์<br />\nเพียงแต่จอภาพจะใช้รับสัญญาณภาพจากการ์ดแสดงผลของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง<br />\nจอภาพมีอยู่ </span>2 <span>แบบคือ แบบหลอดภาพ</span> CRT <span>ซึ่งจะ<br />\nเหมือนกับจอภาพของโทรทัศน์ จอภาพแบบนี้ปัจจุบันเริ่มได้รับความนิยมน้อยลง<br />\nเพราะมีขนาดใหญ่ น้ำหนักมาก<br />\nทั้งยังมีรังสีออกมาจากจอภาพและเกิดความร้อนสูงขณะใช้งาน ส่วนอีกแบบคือ</span> LCD <span>ซึ่งมีขนาดเล็กและบางกว่าแบบ</span> CRT <span>จอ</span> LCD <span>จึงใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยกว่าและยังช่วยถนอมสายตาของผู้ใช้ </span></span></font></p>\n<p style=\"margin: 0pt 0pt 10pt; text-align: left;\" class=\"MsoNormal\" align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b><span color=\"#ff6600\" face=\"\'Tahoma\',\'sans-serif\'\" style=\"font-size: 10pt;\">ส่วนประกอบของจอภาพ</span></b><b><span color=\"#ff6600\" face=\"\'Tahoma\',\'sans-serif\'\" style=\"font-size: 10pt;\"><br /></span></b><span color=\"black\" face=\"\'Tahoma\',\'sans-serif\'\" style=\"font-size: 10pt;\">&nbsp;&nbsp; <span>จอ<br />\nภาพประกอบไปด้วยส่วนของจอที่ใช้แสดงผล และปุ่มควบคุมการทำงาน<br />\nสำหรับจอภาพทั่วไปจะมีปุ่มเปิด/ปิด<br />\nและปุ่มเมนูทำงานร่วมกับปุ่มลูกศรเพื่อใช้ปรับแต่งการแสดงผลของจอภาพ<br />\nแต่สำหรับจอภาพแบบ</span> LCD <span>จะมีปุ่ม</span> Auto <span>เพื่อเรียกใช้คุณสมบัติในการปรับแต่งการแสดงผลให้เหมาะสมโดยอัตโนมัติ </span></span></font></p>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"/files/u10919/monitor_front.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/monitor_front.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"200\" border=\"\" height=\"180\" hspace=\"\" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img src=\"/files/u10919/monitor_back.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/monitor_back.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"200\" align=\"\" border=\"\" height=\"180\" hspace=\"\" /></font></div>\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp;&nbsp; 1. </b><span><b>จอภาพแสดงผล</b> </span><span color=\"black\" face=\"\'Tahoma\',\'sans-serif\'\" style=\"font-size: 10pt;\">เป็นส่วนพื้นที่ของการแสดงผลของจอภาพ ซึ่งพื้นที่ในการแสดงผลขึ้นอยู่กับขนาดของจอภาพและประเภทของจอภาพด้วย เช่น จอภาพ</span><span color=\"black\" face=\"\'Tahoma\',\'sans-serif\'\" style=\"font-size: 10pt;\"> CRT <span>จะมีขนาดการแสดงผลน้อยกว่าค่าจริง </span>1 <span>นิ้ว เช่น จอ</span> CRT 17 <span>นิ้วจะแสดงผลได้จริงเพียง </span>16 <span>นิ้ว ในขณะที่จอภาพ</span> LCD 17 <span>นิ้วจะสามารถแสดงผลได้เต็ม </span>17 <span>นิ้ว</span><br /><b>&nbsp;&nbsp; 2. <span>ปุ่มควบคุม </span></b><span>ใช้สำหรับควบคุมการแสดงผลบนจอภาพให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และความต้องการของตัวผู้ใช้ โดยเฉพาะจอภาพแบบ</span> LCD <span>จะมีปุ่ม</span> Auto <span>สำหรับปรับตั้งค่าของจอภาพให้เหมาะสมกับการแสดงผลโดยอัตโนมัติ</span>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <br />&nbsp;&nbsp; <b>3. <span>หัวต่อ</span> D-Sub </b><span>เป็นหัวต่อสำหรับจอภาพที่นิยมใช้งานในปัจจุบันหัวต่อแบบนี้จะส่งสัญญาณอะนาล็อก</span> (Analog) <span>ที่ถูกแปลงจากการ์ดแสดงผลไปยังจอภาพ</span><br />&nbsp;&nbsp; <b>4. <span>หัวต่อ</span> DVI </b><span>เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการส่งสัญญาณจากการ์ดแสดงผลไปยังจอภาพในรูปแบบดิจิตอล</span> (Digital) <span>โดยตรง ทำให้สัญญาณที่ได้มีความคมชัดมากกว่าอะนาล็อก ซึ่งหัวต่อ</span> DVI <span>จะใช้กับจอภาพแบบ</span> LCD <span>เท่านั้น</span>&nbsp;(<span>ในรูปไม่แสดงช่องเสียบสัญญาณ </span>DVI)<br /><b>&nbsp;&nbsp; 5. <span>หัวต่อสายไฟฟ้า</span>&nbsp; </b><span>คือ หัวต่อสายไฟสำหรับเสียบเข้ากับเต้าเสียบของไฟบ้านหรือสำนักงาน เพื่อให้จอภาพสามารถทำงานได้ </span></span></font></div>\n<div align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><a href=\"http://itg.nrct.go.th/2009/index.php/2009-06-15-04-12-49/53--monitor\" mce_href=\"http://itg.nrct.go.th/2009/index.php/2009-06-15-04-12-49/53--monitor\">http://itg.nrct.go.th </a></font></div>\n<div align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp;เมนบอร์ด (Mainboard)</b></font> </div>\n<div align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div align=\"left\">\n<div style=\"text-align: center;\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"/files/u10919/99703equpiment_008.jpg\" mce_src=\"/files/u10919/99703equpiment_008.jpg\" alt=\"\" vspace=\"\" width=\"209\" border=\"\" height=\"175\" hspace=\"\" /></font></div>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"> เป็นหัวใจสำคัญที่สุดที่อยู่ภายในเครื่อง<br />\n เมื่อเปิดฝาเครื่องออกมาจะเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่วางนอนอยู่ นั่นคือส่วนที่เรียกว่า<br />\n \"เมนบอร์ด\"<br /><br />\n ส่วนประกอบหลักที่สำคัญบนเมนบอร์ดคือ<br /></font></p>\n<table width=\"359\" align=\"center\" border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; ซ็อคเก็ตสำหรับซีพียู</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; ชิปเซ็ต<br />\n (Chip set)</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; ซ็อคเก็ตสำหรับหน่วยความจำ</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; ระบบบัสและสล็อต</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; Bios</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; สัญญาณนาฬิกาของระบบ</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; ถ่านหรือแบตเตอรี่</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; จัมเปอร์สำหรับกำหนดการทำงานของเมนบอร์ด</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; ขั้วต่อ<br />\n IDE</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; ขั้วต่อ<br />\n Floppy disk drive</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; พอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; พอร์ตคีย์บอร์ดและเมาส์</b></font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp; พอร์ต<br />\n USB</b></font></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /></font></p>\n<table width=\"528\" align=\"center\" border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td bgcolor=\"#006799\" height=\"160\">\n<div align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b><img src=\"http://kroo.ipst.ac.th/wkv/p6vpa2.jpg\" alt=\"แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ที่อยู่บนเมนบอร์ด\" vspace=\"5\" width=\"555\" height=\"304\" hspace=\"5\" /></b></font></div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td bgcolor=\"#006799\" height=\"36\">\n<div align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ<br />\n ที่อยู่บนเมนบอร์ด<font style=\"\" size=\"2\"> </font><br />\n ECS<br />\n P6VPA2</b></font></div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /></font></p>\n<table width=\"449\" align=\"center\" border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"278\" bgcolor=\"#006799\">\n<div align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://kroo.ipst.ac.th/wkv/mainboard-02.jpg\" alt=\"เมนบอร์ดที่ติดตั้งบนแผ่นรองก่อนประกอบเข้าตัวเครื่อง\" vspace=\"5\" width=\"247\" height=\"200\" hspace=\"5\" /></font></div>\n</td>\n<td width=\"296\" bgcolor=\"#006799\">\n<div align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"http://kroo.ipst.ac.th/wkv/mainboard-03.jpg\" alt=\"เมนบอร์ดที่ติดตั้งในตัวเครื่องได้เลย\" vspace=\"5\" width=\"220\" height=\"200\" hspace=\"5\" /></font></div>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"278\" bgcolor=\"#006799\" height=\"33\">\n<div align=\"center\"><font style=\"\" size=\"2\" color=\"#000000\">เมนบอร์ดที่ติดตั้งบนแผ่นรองก่อนประกอบเข้าตัวเครื่อง</font></div>\n</td>\n<td width=\"296\" bgcolor=\"#006799\" height=\"33\">\n<div align=\"center\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>เมนบอร์ดที่ติดตั้งในตัวเครื่องได้เลย</b></font></div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>การพิจารณาคุณสมบัติของเมนบอร์ด</b><br /><br /><br />\n &nbsp;&nbsp;&nbsp;</font>\n </p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;ประเด็นสำคัญในการเลือกเมนบอร์ดที่ดีในปัจจุบันคือสิ่งต่าง<br />\n ๆ ต่อไปนี่<br /><br /></font></p>\n<table width=\"644\" align=\"center\" border=\"0\" height=\"2486\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"234\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>Form Factors</b><br />\nหมายถึงลักษณะโครงสร้างของเมนบอร์ด ทั้งรูปร่างและขนาด<br />\nซึ่งแต่เดิมจะเป็นแบบที่เรียกว่า AT หรือไม่ก็แบบ Baby AT (คือ AT<br />\nที่ลดความยาวลงมาในขณะที่ความกว้างเท่าเดิม) ส่วนมาตรฐานใหม่คือ ATX<br />\nซึ่งเป็น Baby AT ที่กลับทางจากเดิม<br />\nคือมีการวางแนวสล็อตและหน่วยความจำใหม่ให้อยู่ใกล้ ๆ<br />\nกันจะได้ทำงานร่วมกันได้เป็นอย่างดีไม่มีปัญหา<br />\nรวมทั้งการระบายความร้อนก็ดีขึ้นเนื่องจากกำหนดให้อยู่ใกล้กับแหล่งจ่ายไฟที<br />\nมีพัดลมอยู่ (ตัวเครื่องหรือ Case ก็จะต้องเป็นแบบ ATX<br />\nด้วยจะใส่กันได้ลงตัว)<br />\nรวมทั้งขั้วต่อแหล่งจ่ายไฟแบบใหม่ที่ดีกว่าเดิมแนวโน้มในอนาคตจึงควรเลือก<br />\nใช้เมนบอร์ดแบบ ATX โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับซีพียู<br /><br />\n ความเร็วสูง ๆ <br /></font>\n </td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"58\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</font><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>Bios</b><br />\n ควรจะเป็น flash BIOS ซึ่งสามารถ upgrade ได้เสมอด้วยซอฟต์แวร์ โดยไม่ต้องมีการเปลี่ยนชิป</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"96\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <b>มีซอฟต์แวร</b></font><font style=\"\" color=\"#000000\">์<br />\n สำหรับดาวน์โหลดมา Upgrade ระบบปฏิบัติการที่ใช้งานอยู่ เพื่อแก้ข้อผิดพลาดหรือเพิ่มเติมส่วนที่ยังไม่มีรองรับในระบบปฏิบัติการ<br />\n เช่น ใน Windows 95 ยังไม่มีไดรเวอร์สำหรับอุปกรณ์ UDMA (Ultra DMA)<br />\n และ USB (Universal Serial Bus) ซึ่งเมนบอร์ดที่ดีควรจะมีไดรเวอร์เหล่านี้มาให้หรือให้ดาวน์โหลดได้ด้วย</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"137\"> <font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;มีคู่มือที่ดี</b><br />\n ซึ่งเป็นสิ่งทีสำคัญมากของเมนบอร์ด เพราะถ้าไม่มีก็แทบไม่อาจจะ<br /><br />\n เปลี่ยนแปลงแก้ไขตัวเลือกต่าง ๆ ได้เลย เมื่อต้องการเพิ่มอุปกรณ์ใหม่ ๆ เข้ามาหรือ<br /><br />\n เปลี่ยนแปลงส่วนประกอบต่างๆ เช่นเพิ่ม RAM หรือเปลี่ยนซีพียู (เพราะจะไม่<br /><br />\n สามารถกำหนดการทำงานให้ตรงกับที่ต้องการได้ทั่งนี้รวมถึงการ Overclock ด้วย<br /><br />\n นอกจากนี้ถ้าคู่มือมีรายการข้อผิดพลาดต่าง ๆ ที่แสดงด้วยเสียงก็จะยิ่งดีเพราะเป็น<br /><br />\n สิ่งที่ไม่ค่อยมีมาตรฐานและจำเป็นสำหรับเวลาที่มีปัญหาเกิดขึ้นจะได้วิเคราะห์ได้ตรงจุด</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"94\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <b>มีข้อมูลสำหรับการ<br />\n Upgrade เมนบอร์ด </b>เพื่อให้สามารถใช้กับส่วนประกอบใหม่ ๆ ได้<br />\n เช่น เมื่อตอนเริ่มแรกอาจไม่รองรับ Pentium III เพราะยังไม่มีอยู่ แต่ในอนาคตควรจะมีวิธีปรับให้เหมาะสมได้<br />\n ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ควรจะได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"580\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <b>ซีพียูเลือกว่าจะใช้ซีพียูชนิดใด</b><br />\n เนื่องจากซีพียูเป็นตัวกำหนดซ็อคเก็ตที่จะต้องใช้บนเมนบอร์ดจึงต้องเลือกก่อน<br />\n ปัจจุบัน Pentium II, Pentium III, Celeron, AMD K6-2 และ AMD K7 Athlon<br />\n เป็นตัวเลือกที่เหมาะสมที่สุด ขึ้นอยู่กับความต้องการและงบประมาณที่จ่ายได้<br />\n ข้องแนะนำในตอนนี้ก็คือ<br /><br /></font>\n<table width=\"432\" align=\"center\" border=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td valign=\"top\" width=\"122\" bgcolor=\"#006799\" height=\"81\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>Pentium<br />\n II และ Pentium III </b></font></td>\n<td valign=\"top\" width=\"300\" bgcolor=\"#ffedb0\" height=\"81\"><font style=\"\" color=\"#000000\">จะต้องเลือกเมนบอร์ดที่ใช้ซ็อคเก็ต<br />\n Slot 1 และชิปเซ็ต 440BX</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\" width=\"122\" bgcolor=\"#006799\" height=\"97\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>Celeron<br />\n </b></font></td>\n<td valign=\"top\" width=\"300\" bgcolor=\"#ffedb0\" height=\"97\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ควรใช้<br />\n i810 ที่มีทุกอย่างอยู่ในตัว เนื่องจากถ้าเลือกซีพียูรุ่นนี้ก็คือเน้นที่ประหยัดอยู่แล้ว<br />\n และ i810 ก็คือรุ่นล่าสุดที่ออกมาสำหรับ Celeron โดยเฉพาะ</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\" width=\"122\" bgcolor=\"#006799\" height=\"43\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>Pentium<br />\n III</b></font></td>\n<td valign=\"top\" width=\"300\" bgcolor=\"#ffedb0\" height=\"43\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ควรจะใช้<br />\n i820 จะเหมาะสมที่สุด</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\" width=\"122\" bgcolor=\"#006799\" height=\"84\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>AMD<br />\n K6-2 </b></font></td>\n<td valign=\"top\" width=\"300\" bgcolor=\"#ffedb0\" height=\"84\"><font style=\"\" color=\"#000000\">จะต้องใช้เมนบอร์ดที่มีซ็อคเก็ต<br />\n Super 7 ซึ่งมีชิปเซ็ตมากมายให้เลือก ทั้งจาก SiS, ALI Aladdin<br />\n และ VIA Apollo</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\" width=\"122\" bgcolor=\"#006799\" height=\"60\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>AMD<br />\n Atholn</b></font></td>\n<td valign=\"top\" width=\"300\" bgcolor=\"#ffedb0\" height=\"60\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ก็ต้องใช้เมนบอร์ดและชิปเว็ตสำหรับ<br />\n Atholn โดยเฉพาะ</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\" width=\"122\" bgcolor=\"#006799\" height=\"70\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><b>Pentium<br />\n II Xeon </b></font></td>\n<td valign=\"top\" width=\"300\" bgcolor=\"#ffedb0\" height=\"70\"><font style=\"\" color=\"#000000\">ซึ่งใช้เป็นเซิอร์ฟเวอร์มีแคชระดับสองมากหน่อย<br />\n (1 หรือ 2 MB) ส่วนจะมีช่องเสียบซีพียูทีสอง (แบบ SMP) หรือไม่ก็ต้องแล้วแต่ความต้องการ</font></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> <font style=\"\" color=\"#000000\"><br /></font>\n </p></td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\" height=\"137\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>&nbsp;&nbsp;RAM</b><br />\n ควรเลือกเมนบอร์ที่สามารถใช้ 64 บิต 168 pin ได้ เนื่องจากเป็นหน่วยความจำชนิดที่มีความเร็วสูงสุดและราคาถูกในขณะนี้<br />\n แต่ถ้าจำเป็นจะต้องใช้ EDO RAM หรือ DRAM แบบ 72 pin ที่มีอยู่แล้วก็อาจจะเลือกที่มีสล็อตทั้งสองแบบ<br />\n ซึ่งปัจจุบันก็มีให้เลือกไม่มากนัก จึงควรตัดใจทิ้ง RAM เก่าไปเสียจะดีกว่า<br />\n ถ้าเป็นไปได้ควรจะเลือก 100 MHz (10 ns) หรือเร็วกว่านี้เนื่องจากแนวโน้มบัส<br />\n 66 MHz กำลังจะหมดไปในอีกไม่ช้านี้ และ EDO RAM ก็ไม่สามารถทำงานที่ความเร็วสูงกว่า<br />\n 66 MHz ด้วย</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td valign=\"top\" height=\"75\"> <font style=\"\" color=\"#000000\"><b>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;AGP</b><br />\n เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการแสดงผลความเร็วสูง ควรจะเลือกเมนบอร์ดที่มีสล็อตแบบนี้ด้วยเสมอ<br />\n ส่วนความเร็ว (2x, 4x) ก็แล้วแต่ความต้องการใช้งานและชิปเซ็ตที่ใช้ด้วย</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"57\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<b>&nbsp;PCI</b><br />\n เป็นสล็อตที่จำเป็นอย่างยิ่ง มียิ่งมากได้ก็ยิ่งดี เว้นแต่ว่าจะต้องใช้การ์ดที่เป็น<br />\n ISA ด้วยก็จะต้องเลือกให้มีสล็อต ISA มากพอกับจำนวนการ์ดที่ต้องการใช้</font></td>\n</tr>\n<tr>\n<td height=\"52\">\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;&nbsp;<b>&nbsp;&nbsp; ACPI</b><br />\nปัจจุบันเมนบอร์ดทั้งหมดควรจะมีมาตรฐาน ACPI<br />\nอยู่แล้วซึ่งนอกจากประหยัดพลังงานได้เป็นอย่างดีแล้วยังสามารถติดตั้ง<br />\nอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่ายอีกด้วย</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\"><a href=\"http://kroo.ipst.ac.th/wkv/mainboard.html\" mce_href=\"http://kroo.ipst.ac.th/wkv/mainboard.html\">http://kroo.ipst.ac.th/wkv/mainboard.html </a></font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<div class=\"Section1\">\n<h2 class=\"MsoNormal\"><font style=\"\" color=\"#000000\" face=\"MS Sans Serif,Tahoma,sans-serif\"><b><font style=\"\" face=\"Microsoft Sans Serif,MS Sans Serif,sans-serif\">ฟล็อปปี้ดิสก์</font><br />\n </b><font style=\"\" face=\"Microsoft Sans Serif,MS Sans Serif,sans-serif\">(Floppy<br />\n Disk) </font></font></h2>\n<p><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></p>\n<h1 class=\"MsoNormal\"><font style=\"\" color=\"#000000\" face=\"Microsoft Sans Serif,MS Sans Serif,sans-serif\"><b><o:p></o:p></b><br />\n<div style=\"text-align: center;\"><b><img src=\"http://nsta1.net/ict/floppy/1_files/floppy_usb.jpg\" width=\"333\" height=\"333\" /></b></div>\n<p><b></b></p></font></h1>\n</div>\n<div class=\"MsoNormal\" align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\" face=\"Microsoft Sans Serif,MS Sans Serif,sans-serif\"><span face=\"\'Angsana New\'\" style=\"font-size: 14pt;\" lang=\"TH\"><span style=\"\">&nbsp;</span><span style=\"\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<br />\n </span>ฟล็อปปี้ดิสก์เป็นอุปกรณ์เก่าแก่ที่มีมานานับสิบปี ตั้งแต่ก่อนยุคของพีซี<br />\n เริ่มจากขนาด 8 นิ้ว กลายมาเป็น 5.25 นิ้ว และในที่สุดก็มาหยุดอยู่ที่ 3.5 นิ้ว<br />\n ความจุก็ได้เพิ่มจากไม่กี่ร้อยกิโลไบต์มาเป็น 1.44 และ 2.88 เมกะไบต์ในปัจจุบัน<br />\n สมัยก่อนโปรแกรมมีขนาดไม่ใหญ่นัก ใช้เนื้อที่จุภายในดิสก์ไม่กี่กิโลไบต์ แต่ปัจจุบันข้อมูลมีปริมาณมากขึ้นพร้อม<br />\n ๆ กับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เช่นไฟล์เพลง </span>MP3 <span face=\"\'Angsana New\'\" style=\"font-size: 14pt;\" lang=\"TH\">เพียง<br />\n 1 เพลงก็มีขนาดมากกว่า 3 เมกะไบต์แล้ว ทำให้ความจุของดิสก์ไม่เพียงพอกับความต้องการในปัจจุบัน<br />\n แต่ฟล็อปปี้ดิสก์ก็ยังคงเป็นมาตรฐานหนึ่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมี<br />\n การพัฒนาฟล็อปปี้ดิสก์ก็ไม่ได้หยุดยั้งไปเสียทีเดียว ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ระบบ<span style=\"\">&nbsp;&nbsp; </span></span>optical <span face=\"\'Angsana New\'\" style=\"font-size: 14pt;\" lang=\"TH\">ทำให้สามารถขยายความจุไปได้ถึง<br />\n 120 เมกะไบต์ต่อแผ่น </span></font></div>\n<div class=\"MsoNormal\" align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div class=\"MsoNormal\" align=\"left\">\n<h3><font style=\"\" color=\"#000000\"><b><font><font style=\"\" face=\"Microsoft Sans Serif,MS Sans Serif,sans-serif\"><span face=\"\'Angsana New\'\" style=\"font-size: 14pt;\" lang=\"TH\">ระบบการทำงานของฟล็อปปี้ดิสก์</span></font></font></b> &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp; <br /></font></h3>\n<div class=\"MsoNormal\"><font style=\"\" color=\"#000000\" face=\"Microsoft Sans Serif,MS Sans Serif,sans-serif\"><span face=\"\'Angsana New\'\" style=\"font-size: 14pt;\" lang=\"TH\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; กลไกการทำงานของฟล็อปปี้ดิสก์จะค่อนข้างง่ายเมื่อเทียบกับฮาร์ดดิสก์<br />\n โดยตัวจานหมุนจะเป็นวัสดุที่อ่อนนิ่ม เช่น ไมลาร์(</span>Mylar) <span face=\"\'Angsana New\'\" style=\"font-size: 14pt;\" lang=\"TH\">ที่เป็นพลาสติกสังเคราะห์เคลือบสารแม่เหล็กเอาไว้<br />\n ในดิสก์ 1 แผ่นจะมีจานเดียว หัวอ่านจะเลื่อนเข้าไปอ่านข้อมูล เริ่มแรกสามารถอ่านข้อมูลได้เพียงด้านเดียว<br />\n ต่อมามีการพัฒนาให้สามารถอ่านข้อมูลได้ทั้ง 2 ด้าน เรียกว่า </span>Double-sided<br />\n <span face=\"\'Angsana New\'\" style=\"font-size: 14pt;\" lang=\"TH\"><span style=\"\">&nbsp;</span>หัว<br />\nอ่านจะสัมผัสกับแผ่นดิสก์โดยตรง ทำให้ต้องใช้ความเร็วหมุนจานที่ต่ำ<br />\nคือประมาณ 300 รอบต่อนาทีเท่านั้น (เทียบกับ 7200<br />\nรอบต่อนาทีที่เป็นมาตรฐานของฮาร์ดดิสก์ในปัจจุบัน)<br />\nและเนื่องจากหัวอ่านสัมผัสกับแผ่นดิสก์โดยตรง ทำให้แผ่นมีการสึกหรอได้ง่าย<br />\nเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจะมีการส่งสัญญาณไปเปลี่ยนแปลงค่าสนามแม่เหล็ก<br />\nที่หัวอ่าน </span></font></div>\n<div class=\"MsoNormal\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div class=\"MsoNormal\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><a href=\"http://nsta1.net/ict/floppy/1.htm\" mce_href=\"http://nsta1.net/ict/floppy/1.htm\">http://nsta1.net/ict/floppy/1.htm </a><br /></font></div>\n<p>&nbsp;</p>\n</div>\n<div class=\"MsoNormal\" align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div class=\"MsoNormal\" align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\">&nbsp;</font></div>\n<div class=\"MsoNormal\" align=\"left\"><font style=\"\" color=\"#000000\"><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/CASNOV%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot.jpg\" alt=\"\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/CASNOV%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-1.jpg\" alt=\"\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/CASNOV%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-2.jpg\" alt=\"\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/CASNOV%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-3.jpg\" alt=\"\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/CASNOV%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-4.jpg\" alt=\"\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/CASNOV%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-5.jpg\" alt=\"\" /><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/CASNOV%7E1/LOCALS%7E1/Temp/moz-screenshot-6.jpg\" alt=\"\" /></font> </div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1726822593, expire = 1726908993, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:98dc104f2ca76bedc199a4dd37f08345' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

งานที่2 ส่วนประกอบของ Computer

รูปภาพของ pnp31487

 

ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk)

                                           

      

 

เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมต่างๆ ของคอมพิวเตอร์
โดยฮาร์ดดิสค์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอก เป็นโลหะแข็ง
และมีแผงวงจรสำหรับการควบคุมการทำงานประกบอยู่ที่ด้านล่าง
พร้อมกับช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง
ส่วนประกอบภายในจะถูกปิดผนึกไว้อย่างมิดชิด
โดยฮาร์ดดิสค์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยแผ่นจานแม่เหล็ก(platters)
สองแผ่นหรือมากกว่ามาจัด เรียงอยู่บนแกนเดียวกันเรียก Spindle
ทำให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อม ๆ กัน จากการขับเคลื่อนของมอเตอร์
แต่ละหน้าของแผ่นจานจะมีหัวอ่านเขียนประจำเฉพาะ
โดยหัวอ่านเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคล้ายหวี
สามารถเคลื่อนเข้าออกระหว่างแทร็กต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว
ซึ่งอินเตอร์เฟสของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ในปัจจุบัน มีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน

          - IDE (Integrated Drive Electronics)

     เป็นระบบของ ฮาร์ดดิสก์อินเตอร์เฟสที่ใช้กันมากในปัจจุบันนี้
การต่อไดร์ฟฮาร์ดดิสก์แบบ IDE จะต่อผ่านสายแพรและคอนเน็คเตอร์จำนวน 40
ขาที่มีอยู่บนเมนบอร์ด ส่วนใหญ่แล้วใน 1 คอนเน็คเตอร์
จะสามารถต่อฮาร์ดดิสก์ได้ 2 ตัวและบนเมนบอร์ด

                                                   

 

                                                                 Harddisk แบบ IDE

                                                    

 

                                                                      
IDE Cable

         - SCSI (Small Computer System Interface)

เป็นอินเตอร์เฟสที่แตกต่างจากอินเตอร์เฟสแบบอื่น ๆ มาก โดยจะอาศัย
Controller Card ที่มี Processor
อยู่ในตัวเองทำให้เป็นส่วนเพิ่มขยายกับแผงวงจรใหม่โดยจะสนับสนุนการต่อ
อุปกรณ์ได้ถึง 8 ตัว แต่การ์ดบางรุ่นอาจจะได้ถึง 14 ตัวทีเดียว
โดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้งานในรูปแบบ Server
เพราะมีราคาแพงแต่มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูง

                                             

 

                                                              
Harddisk แบบ SCSI

                                                   

 

                                                                
SCSI controller

               - Serial ATA (Advanced Technology Attachment)

เป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC
Expo ใน New York มีความเร็วในเข้าถึงข้อมูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที
และให้ผลตอบสนองในการทำงานได้เร็วมากในส่วนของ extreme application เช่น
Game Home Video และ Home Network Hub โดยเป็นอินเตอร์เฟสที่จะมาแทนที่ของ
IDE ในปัจจุบัน

                                                     

 

                                                                 
Harddisk แบบ Serial ATA

                                                        

 

                                                                        Serial ATA Cable

ข้อมูลและภาพประกอบจาก www.kapook.com

 

 

 

CPU  (ไมโครโปรเซสเซอร์)


ประวัติความเป็นมาของไมโครโปรเซสเซอร์

ไมโคร
โปรเซสเซอร์กำเนิดขึ้นมาในช่วงต้นทศวรรษที่ 1970 โดยเกิดจากการนำเทคโนโลยี
2
อย่างมาพัฒนาร่วมกันซึ่งก็คือเทคโนโลยีทางด้านดิจิตอลคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยี ทางดัานโซลิดสเตต(solidstate)

ดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมที่เราป้อนเข้าไปโดยโปรแกรมเป็นตัวบอกคอมพิวเตอร์
ว่าจะทำการเคลื่อนย้ายและประมวลผลข้อมูลอย่างไรการที่มันจะทำงานได้นั้นก็ต้องมีวงจรคำนวณ
หน่วยความจำ และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุต(input/output)
เป็นส่วนประกอบซึ่งรูปแบบในการนำสิ่ง ที่กล่าวมานี้รวมเข้าด้วยกันเราเรียกว่าสถาปัตยกรรม
(architecture)

ไมโครโปรเซสเซอร์มีสถาปัตยกรรมคล้ายกับดิจิตอลคอมพิวเตอร์หรือพูดอีกนัยหนึ่งได้ว่า
ไมโครโปรเซสเซอร์ก็เหมือนกับดิจิตอลคอมพิวเตอร์เพราะสิ่งทั้งสองนี้ทำงานภายใต้การควบคุม
ของโปรแกรมเหมือนกันฉะนั้นการศึกษาประวัติความเป็นมาของดิจิตอลคอมพิวเตอร์จะช่วยให้เ
เราเข้าใจ การทำงานของไมโครโปรเซสเซอร์ และการศึกษาประวัติความเป็นามาของ
วงจรโซลิดสเตตก็จะช่วยให้เราเข้าใจไมโครโปรเซสเซอร์มากยิ่งขึ้นเพราะไมโครโปรเซสเซอร์ก็
คือวงจรโซลิดสเตตนั่นเอง

ช่วง
สงครามโลกครั้งที่ 2
ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานทางก้านการทหาร
ในช่วงกลางทศวรรษที่1940ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานในด้าน
วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ
ในช่วงสงครามนี้ได้มีการศึกษาการทำงานของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็ว
สูง (มีชื่อว่า วงจรแบบพัลส์ (pulse circuit) ที่ใช้ในเรดาร์)
ทำให้เราเข้าใจดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากขึ้น
ภายหลังสงครามได้มีการค้นคว้าเกี่ยวกับคูณสมบัติทางกายภายของโซลิดสเตตอย่าง
มากจนกระทั่งในปี ค.ศ. 1948 นักวิทยาศาสตร์ที่ห้องเบลล์แล็บ (Bell
laboratory) ได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ที่ทำจากโซลิดสเตต

ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 เริ่มมีการผลิตดิจิตอลคอมพิวเตอร์ขึ้นเพื่อใช้งานโดยทั่ว
ๆ ไป ซึ่งทำมาจากหลอดสูญญากาศหลอดสูญญากาศเหล่านี้เป็นส่วนประกอบสำคัญ
ของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ซึ่งเราจะนำไปสร้างเป็นวงจรพื้นฐาน
เช่น เกต (gate) แปละฟลิปฟลอป (flip-flop) โดยเราจะนำเกตและฟลิปฟลอปหลาย
ๆ อันมารวมกันเพื่อใช้ในการสร้างวงจรคำนวณ หน่วยความจำ
และอุปกรณ์อินพุต/เอาต์พุตของดิจิตอลคอมพิวเตอร์

ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่ง ๆ จะมีวงจรต่าง
ๆ อยู่มากมาย ในช่วงแรกวงจรต่าง ๆจะสร้างขึ้นจาก หลอดสูญญากาศ
จึงทำให้ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ในช่วงแรก ๆมีขนาดใหญ่และเนื่องจาก
หลอดสูญญากาศ นี้เมื่อใช้งานนานๆจะร้อนดังนั้นเราจึงต้องติดตั้งระบบระบายความร้อน
เข้าไปด้วย ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสูญญากาศนี้มักเชื่อถือไม่ค่อยได้
เมื่อเทียบกับมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันการใช้หลอดสูญญากาศนี้เป็นส่วนประกอบ
ของดิจิตอลคอมพิวเตอร์ ทำให้ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ช่วงแรกมีราคาแพงและยากต่อการดูแลรักษา
ข้อเสียต่าง ๆ ของหลอดสูญญากาศนี้ทำให้เราพัฒนาดิจิตอลคอมพิวเตอร์ในช่วงแรงไปได้ช้ามาก

คอมพิวเตอร์
ช่วงแรก ๆ ยังไม่มีที่สำหรับเก็บโปรแกรม
แต่จะมีที่ไว้สำหรับเก็บข้อมูลเท่านั้น ซึ่งในช่วงปลายทศวรรษที่ 1940
จนถึงต้นทศวรรษที่ 1950
การใช้งานคอมพิวเตอร์จะทำการโปรแกรมโดยวิธีที่เรียกว่า พาตช์คอร์ด (patch
- cord)
ซึ่งโปรแกรมเมอร์จะต้องเป็นผู้นำสายต่อเข้ากับเครื่องเพื่อบอกให้เครื่องรู้
ว่าจะต้องทำการ ประมวลผลข้อมูลอย่างไร
โดยหน่วยความจำของเครื่องจะมีไว้สำหรับเก็บข้อมูลเท่านั้น

คอมพิวเตอร์ในช่วงหลัง ๆ จะมีที่สำหรับเก็บโปรแกรม
ซึ่งก็หมายความว่า ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์จะถูกจัดเก็บอยู่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ด้วย
การที่เราจะทราบว่าข้อมูลในตำแหน่งใดเป็นขั้นตอนการทำงานหรือเป็นข้อมูลที่มีไว้สำหรับประมวลผล
ก็โดยการตรวจสอบดูข้อมูลนั้นว่าอยู่ที่ตำแหน่งใด (ซึ่งเราจะต้องทราบว่าเราเก็บข้อมูลต่าง
ๆ ที่ตำแหน่งใดและเก็บโปรแกรมที่ตำแหน่งใด) ความคิดเกี่ยวกับที่เก็บโปรแกรมนี้เป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก
รวมทั้งเป็นพื้นฐานที่สำคัญตัวหนึ่งในสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์

ในช่วงทศวรรษที่ 1950 ได้มีการค้นคว้าและทดลองโซลิดสเตตกันอย่างจริงจัง
ทำให้ได้รู้จักสารกึ่งตัวนำมากยิ่งขึ้น ได้มีการนำสารซิลิคอนมาทดแทนสารเจอร์เมเนียม
ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ (semiconductor)
ทำให้ช่วยลดต้นทุนการผลิตลงเนื่องจากสารซิลิคอนหาได้ง่ายกว่าสารเจอร์เมเนียม
และการผลิตทรานซิสเตอร์ (transistor) ที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำจำนวนมากก็จะช่วยทำให้หาง่าย
และมีราคาถูกลง

ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1950 นักออกแบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์ได้นำทรานซิสเตอร์มาใช้แทนหลอดสูญญากาศ
โดยวงจรต่าง ๆ ก็ยังคงใช้ทรานซิสเตอร์หลายตัวในการทำงาน
แต่คอมพิวเตอร์ที่ทำจากทรานซิสเตอร์นี้จะมีขนาดเล็กกว่า
เย็นกว่า และน่าเชื่อถือมากกว่าคอมพิวเตอร์ที่ทำจากหลอดสูญญากาศ

ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 แนวทางการสร้างคอมพิวเตอร์จากโซลิดสเตตได้แยกออกเป็น
2 แนวทาง แนวทางหนึ่งคือ การสร้างคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ต้องอยู่ในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
ซึ่งสร้างโดยบริษัทยักษ์ใหญ่ เช่น บริษัท IBM,Burroughs
และ Honeywell เครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทนี้สามารถประมวลผลได้ทีละมาก
ๆ และจะถูกนำไปใช้งานทางด้านการพาณิชย์และด้านวิทยาศาสตร์

คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เหล่านี้จะมีคราคาแพงมาก
เพื่อที่จะให้คุ้มกับราคาจึงต้องใช้งานมันตลอดเวลา มีวิธีการอยู่
2 วิธีในการที่จะใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อย่างคุ้มค่าที่สุด
นั่นก็คือวิธีแบตช์โหมด (batch mode) และไทม์แชริ่งโหมด
(timesharing mode) วิธีแบตช์โหมดคือการที่งานขนาดใหญ่เพียง
1 ชิ้นจะถูกทำในทีเดียว และงานชิ้นต่อไปจะถูกทำทันทีเมื่องานชิ้นนี้เสร็จ
ส่วนวิธีไทม์แชริ่งโหมดคือการทำงานหลาย ๆ ชิ้นพร้อมกัน
โดยแบ่งงานนั้นออกเป็นส่วน ๆ และผลัดกันทำทีละส่วน

อีกแนวทางหนึ่งคือ การสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่า
โดยมีขนาดเท่าโต๊ะ เรียกว่า มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)
ซึ่งมีความสามารถไม่เท่ากับเครื่องขนาดใหญ่แต่มีราคาถูกกว่า
และสามารถทำงานที่มีประโยชน์ได้มาก ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ถูกนำไปใช้งานในห้องแล็บ
นักวิทยาศาสตร์จะใช้ดีดิเคตคอมพิวเตอร์ (dedicated computer)ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์
ที่ทำงานได้อย่างเดียวแทนที่จะใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถทำงานที่แตกต่างกันได้หลายอย่าง

โซลิดสเตตยังคงถูกพัฒนาต่อไปควบคู่กับดิจิตอลคอมพิวเตอร์
แต่ในปัจจุบันเทคโนโลยีทั้งสองนี้ มีความเกี่ยวดองกันมากขึ้น
การที่คอมพิวเตอร์มีวงจรพื้นฐานที่คล้ายกันจึงทำให้อุตสาหกรรม
ด้านสารกึ่งตัวนำทำการผลิตวงจรที่สามารถนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์พื้นฐานเดียวกันได้

ใน
ช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 ได้มีการนำทรานซิสเตอร์หลาย ๆ
ตัวมาบรรจุลงในซิลิคอนเพียงตัวเดียว
โดยทรานซิสเตอร์แต่ละตัวจะถูกเชื่อมต่อกันโดยโลหะขนาดเล็กเพื่อสร้างเป็น
วงจรแบบต่าง ๆ เช่น เกต ฟลิปฟลอป รีจิสเตอร์ วงจรบวก
วงจรที่สร้างจากเทคโนโลยีเซมิคอนดักเตอร์แบบใหม่นี้เรียกว่า ไอซี
(integrated circuit : IC)

ในช่วงกลางทศวรรษที่ 1960 ได้มีการผลิตไอซีพื้นฐานที่เป็นแบบ
small และ medium scale integration (SSI และ MSI) ทำให้นักออกแบบสามารถเลือกใช้งานไอซีได้หลายแบบ
เทคโนโลยีไดซีนี้ถูกแลักดันออก 2 แนวทางคือ การพัฒนาทางด้านเทคนิคเพื่อลดต้นทุนการผลิต
และอีกแนวทางหนึ่งก็คือการเพิ่มความซับซ้อนให้กับวงจร

การนำไอซีมาใช้ในมินิคอมพิวเตอร์ทำให้มีความสามารถสูงขึ้น
มินิคอมพิวเตอร์ขนาดเท่าโต๊ะ ในช่วงทศวรรษที่ 1960 นั้นมีประสิทธิภายพอ
กับคอมพิวเตอร์ขน่าดเท่าห้องในช่วงปลายทศวรรษ ที่ 1950
และมินิคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ขนาดเท่าลิ้นชักราคา 10,000
ดอลลาร์ มีประสิทธิภาพพอ ๆ กับมินิคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าขนาดเท่าโต๊ะที่มีราคาถึง
100,000 ดอลลาร์

จาก
ที่กล่าวมาแล้วว่าเทคโนโลยีไอซีมีการพัฒนามาตั้งแต่กลางทศวรรษที่
1960โดยในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 1960 และต้นทศวรรษที่ 1970
ได้เริ่มนำเอาวงจรดิจิตอลมาสร้างรวมกัน
และบรรจุอยู่ในไอซีเพียงตัวเดียวเราเรียกไอซีตัวนี้ว่า large-scale
integration (LSI)
และในช่วงทศวรรษที่1980ได้มีการนำเอาทรานซิสเตอร์มากกว่า100,000ตัวมาใส่ลง
ใน ไอซีเพียงตัวเดียว เราเรียกไอซีตัวนี้ว่า very large-scale integration
(VLSI) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย

วงจร LSI
ในตอนแรกนั้นถูกผลิตขึ้นเพื่อใช้กับงานเฉพาะอย่าง แต่ก็มีวงจร LSI
บางชนิดที่ถูกผลิตขึ้น เพื่อใช้กับงานทั่ว ๆ ไป เราจะเห็นการพัฒนาของวงจร
LSI ได้อย่างชัดเจน โดยดูได้จากการพัฒนา ของเครื่องคิดเลข
โดยเครื่องคิดเลขเริ่มแรกจะใช้ไอซีจำนวน 75 ถึง 100 ตัว ต่อมาวงจร LSI
ชนิดพิเศษได้ถูกนำมาแทนที่ไอซีเหล่านี้ โดยใช้วงจร LSI นี้เพียง 5 ถึง 6
ตัว และต่อมาช่วงกลางทศวรรษที่ 1970 วงจร LSI เพียงตัวเดียวก็สามารถ
ใช้แทนการทำงานทั้งหมดของเครื่องคิดเลขได้
หลังจากที่วงจรคำนวณได้ถูกลดขนาดลง
สถาปัตยกรรมของคอมพิวเตอร์ก็ถูกลดขนาดลงด้วย
โดยเหลือเป็นไอซีเพียงตัวเดียว และเราเรียกว่า ไมโครโปรเซสเซอร์
(microprocessor)
เราสามารถโปรแกรมไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อให้มันทำงานเฉพาะอย่างได้
ดังนั้นมันจึงถูกนำไปใช้เป็น ส่วนประกอบที่สำคัญในสินค้า เช่น
ในเตาอบไมโครเวฟ เครื่องโทรศัพท์ ระบบควบคุมอัตโนมัติ
เป็นต้นตั้งแต่ช่วงต้นทศวรรษที่ 1970
ได้มีการปรับปรุงสถาปัตยกรรมของไมโครโปรเซสเซอร์เพื่อเพิ่มความเร็ว
และเพิ่มประสิทธิภาพในการคำนวณ
ไมโครโปรเซสเซอร์ช่วงแรกจะประมวลผลข้อมูลทีละ 4บิต
หรือเรียกว่าใช้เวิร์ดข้อมูลขนาด 4
บิตซึ่งทำงานได้ช้าแต่ต่อมาได้มีการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ใหม่
ที่ทำงานได้เร็วขึ้น ซึ่งก็คือ ไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 8 บิต
และพัฒนาจนเป็นไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 16 บิต และ 32 บิตในที่สุด

ชุดคำสั่ง (instruction set) ในไมโครโปรเซสเซอร์จะมีขนาดเพิ่มขึ้น
และมีความซับซ้อนมากขึ้น เมื่อจำนวนบิตของไมโครโปรเซสเซอร์เพิ่มขึ้น
ไมโครโปรเซสเซอร์บางตัวจะมีความสามารถพอ ๆ กับหรือเหนือกว่ามินิคอมพิวเตอร์ทั่วไป
ในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 ได้มีการพัฒนาระบบไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด
8 บิตที่มีหน่วยความจำ และมีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร
ระบบนี้มีชื่อเรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer)
หรือไมโครโปรเซสเซอร์ชิปเดี่ยว ซึ่งได้มีการนำไปใช้อย่างแพร่หลาย
เพื่อควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น คีย์บอร์ด
เครื่องเล่นวีดีโอเทป โทรทัศน์ เตาอบไมโครเวฟ โทรศัพทื์ที่มีความสามารถสูง
และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในด้านอุตสาหกรรม

ถ้า
เปรียบเทียบกับร่างกายของมนุษย์โพรเซสเซอร์ก็น่าจะเปรียบเทียบเป็นเหมือน
สมองของมนุษย์นั่งเอง ซึ่งคอยคิดควบคุมการทำงานส่วนต่างๆของร่างกาย
ดังนั้นถ้าจัดระดับความสำคัญแล้วโพรเซสเซอร์ก็น่าจะมีความสำคัญเป็นอันดับ
แรก

บล็อกไดอะแกรมของโพรเซสเซอร์

ส่วนประกอบของโพรเซสเซอร์มีดังนี้


  Bus Interface
Unit (BIU) (Cbox) คือส่วนที่เชื่อมต่อระหว่าง address
bus, control bus และ data bus กับภายนอกเช่น หน่วยความจำหลัก
(main memory) และอุปกรณ์ภายนอก (peripherals)

  Memory Management
Unit (MMU) (Mbox) คือส่วนที่ควบคุมโพรเซสเซอร์ในการใช้งานแคช
(cache) และหน่วยความจำ (memory) โดย MMU ยังช่วยในการทำ
virtual memory และ paging ซึ่งแปลง virtual addresses
ไปเป็น physical addresses โดยใช้ Translation Look-aside
Buffer (TLB)

  Integrated
on-chip cache เป็นส่วนสำหรับเก็บข้อมูลที่ใช้งานบ่อยๆใน
Synchronous RAM (SRAM) เพื่อให้การทำงานของโพรเซสเซอร์มีประสิทธิภาพสูงสุด
ใช้งานได้ทั้ง L1 และ L2 on chip cache

  Prefetch
Unit (part of Ibox) คือส่วนที่ดึงข้อมูลและคำสั่งจาก
instruction cache และ data cache หรือ main memory
based เมื่อ Prefetch Unit อ่านข้อมูลและคำสั่งมาแล้วก็จะส่งข้อมูลและคำสั่งเหล่านี้ต่อไปให้
Decode Unit

  Decode Unit
or Instruction Unit (part of Ibox) คือส่วนที่แปลความหมาย
ถอดรหัส หรือแปลคำสั่ง ให้เป็นรูปแบบที่ ALU และ registers
เข้าใจ

  Branch Target
Buffer (BTB) คือส่วนที่บรรจุคำสั่งเก่าๆที่เข้ามาสู่โพรเซสเซอร์
ซึ่ง BTB นั้นเป็นส่วนหนึ่งของ Prefetch Unit

  Control
Unit or Execution Unit คือส่วนที่เป็นศูนย์กลางคอยควบคุมการทำงานในโพรเซสเซอร์ดังนี้


    
อ่านและแปลความหมายของคำสั่งตามลำดับ

    
ควบคุม Arithmetic and Logic Unit (ALU), registers
และส่วนประกอบอื่นๆของโพรเซสเซอร์ ตามคำสั่ง

    
ควบคุมการเคลื่อนย้ายของข้อมูลที่รับ-ส่งจาก primary
memory และอุปกรณ์ I/O

  ALU (Ebox)
คือส่วนที่ปฎิบัติตามคำสั่งและเปรียบเทียบ operands
ในบางโพรเซสเซอร์มีการแยก ALU ออกเป็น 2 ส่วนดังนี้


    
Arithmetic Unit (AU)

    
Logic Unit (LU)

    
operation ที่ ALU ปฎิบัติตามเช่น

    
Arithmetic operations (+, -, *, และ /)

    
Comparisons (<, >, และ =)

    
Logic operations (and, or)

  Floating-Point
Unit (FPU) (Fbox) คือส่วนที่ทำการคำนวณเกี่ยวกับจำนวนตัวเลขที่เป็นจุดทศนิยม


  Registers
(part of Ibox, Fbox, และ Ebox) คือส่วนที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูลสำหรับการคำนวณในโพรเซสเซอร์


    
Data register set เก็บข้อมูลที่ใช้งานโดย ALU เพื่อใช้สำหรับการคำนวณที่ได้รับการควบคุมจาก
Control Unit ซึ่งข้อมูลนี้อาจส่งมาจาก data cache,
main memory, หรือ Control Unit ก็ได้

    
Instruction register set เก็บคำสั่งที่กำลังทำงานอยู่

หน่วยประมวลผลกลาง
(Central Processing Unit : CPU)


     หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู
เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ
ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ ที่มีความสำคัญมากที่สุด
ของฮาร์ดแวร์เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน
เข้ามาทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน
หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนประสำคัญ 3 ส่วน คือ

1. หน่วยคำนวณและตรรกะ
(Arithmetic & Logical Unit : ALU)


     หน่วยคำนวณตรรกะ
ทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทำงานเกี่ยวข้อง
กับ การคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร
นอกจากนี้หน่วยคำนวณและตรรกะของคอมพิวเตอร์
ยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคำนวณธรรมดาไม่มี คือ
ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง
ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์
เพื่อให้ได้คำตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ เช่น
เปรียบเทียบมากว่า น้อยกว่า เท่ากัน ไม่เท่ากัน ของจำนวน 2 จำนวน เป็นต้น
ซึ่งการเปรียบเทียบนี้มักจะใช้ในการเลือกทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
จะทำตามคำสั่งใดของโปรแกรมเป็น คําสั่งต่อไป

2. หน่วยควบคุม
(Control Unit)


     หน่วยควบคุมทำหน้าที่คงบคุมลำดับขั้นตอนการการประมวลผลและการทำงานของ
อุปกรณ์ต่างๆ ภายใน หน่วยประมวลผลกลาง
และรวมไปถึงการประสานงานในการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง
กับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจำสำรองด้วย
เมื่อผู้ใช้ต้องการประมวลผล ตามชุดคำสั่งใด
ผู้ใช้จะต้องส่งข้อมูลและชุดคำสั่งนั้น ๆ เข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอร์เสียก่อน
โดยข้อมูล และชุดคำสั่งดังกล่าวจะถูกนำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลักก่อน
จากนั้นหน่วยควบคุมจะดึงคำสั่งจาก
ชุดคำสั่งที่มีอยู่ในหน่วยความจำหลักออกมาทีละคำสั่งเพื่อทำการแปล
ความหมายว่าคำสั่งดังกล่าวสั่งให้ ฮาร์ดแวร์ส่วนใด
ทำงานอะไรกับข้อมูลตัวใด เมื่อทราบความหมายของ คำสั่งนั้นแล้ว
หน่วยควบคุมก็จะส่ง สัญญาณคำสั่งไปยังฮาร์แวร์ ส่วนที่ทำหน้าที่
ในการประมวลผลดังกล่าว ให้ทำตามคำสั่งนั้น ๆ เช่น ถ้าคำสั่ง
ที่เข้ามานั้นเป็นคำสั่งเกี่ยวกับการคำนวณ หน่วยควบคุมจะส่งสัญญาณ
คำสั่งไปยังหน่วยคำนวณและตรรกะ ให้ทำงาน
หน่วยคำนวณและตรรกะก็จะไปทำการดึงข้อมูลจาก หน่วยความจำหลักเข้ามาประมวลผล
ตามคำสั่งแล้วนำผลลัพธ์ที่ได้ไปแสดงยังอุปกรณ์แสดงผล
หน่วยคงบคุมจึงจะส่งสัญญาณคำสั่งไปยัง อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์
ที่กำหนดให้ดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ออกไปแสดงให้เห็นผลลัพธ์ดังกล่าว
อีกต่อหนึ่ง

3. หน่วยความจำหลัก
(Main Memory)


     คอมพิวเตอร์จะสามารถทำงานได้เมื่อมีข้อมูล
และชุดคำสั่งที่ใช้ในการประมวลผลอยู่ในหน่วยความ จำหลักเรียบร้อยแล้วเท่านั้น
และหลักจากทำการประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งเรียบร้อบแล้ว
ผลลัพธ์ที่ได้ จะถูกนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก และก่อนจะถูกนำออกไปแสดงที่อุปกรณ์แสดงผล



ข้อมูลจาก
www.sanambin.com

 

 

แรม( RAM )

            ย่อมาจากคำว่า Random Access Memory เป็นหน่วยความจำหลัก

ประเภทไม่ถาวร คือ สามารถบันทึกคำสั่งและข้อมูลไปเก็บไว้ในแรมได้
แต่หากไฟฟ้าดับหรือกระพริบ คำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้นั้นจะหายไปในทันที
หน่วยความจำชนิดนี้ใช้สำหรับทำงานโดยทั่วไป จึงต้องมีขนาดใหญ่มากพอ
ถ้าเป็นเครื่องมินิคอมพิวเตอร์หน่วยความจำแรมอาจจะต้องมีขนาดใหญ่มากถึงขนาด
32 เมกะไบต์ เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันต้องมีขนาด 4
เมกะไบต์เป็นอย่างต่ำ

หลักการทำงาน

หน่วยความจำ(แรม) ทำหน้าที่เก็บชุดคำสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กำลัง

ทำงานอยู่ไม่ว่าจะเป็นการนำเข้าข้อมูล ( Input ) หรือ การนำออกข้อมูล ( Output ) โดย

เนื้อที่ของหน่วยความจำหลักแบบแรมนี้ได้ถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ
1. Input Storage Area
เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลนำเข้าที่ได้รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเข้า เช่น
ข้อมูลที่ได้มาจากคีย์บอร์ด เป็นต้น
โดยข้อมูลนี้จะถูกนำไปใช้ในการประมวลผลต่อไป
2. Working Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในระหว่างการประมวลผล
3. Output Storage Area เป็นส่วนที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ตามความ

ต้องการของผู้ใช้ เพื่อรอที่จะถูกส่งไปแสดงออกยังหน่วยแสดงผลอื่นที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น

จอภาพ เป็นต้น
4. Program Storage Area เป็น
ส่วนที่ใช้เก็บชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจะส่งเข้ามา
เพื่อใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคำสั่ง ชุดดังกล่าว
หน่วยควบคุมจะทำหน้าที่ดึงคำสั่งจากส่วนนี้ทีละคำสั่งเพื่อทำการแปลความหมาย
ว่าคำสั่งนั้นสั่งให้ทำอะไร จากนั้น

หน่วยควบคุม จะไปควบคุมฮาร์ดแวร์ที่ต้องการทำงานดังกล่าวให้ทำงานตามคำสั่งนั้น ๆ

หน่วยความจำจะจัดอยู่ในลักษณะแถวแนวตั้ง ( CAS : Column Address Strobe ) และ

แถวแนวนอน ( RAS : Row Address Strobe ) เป็นโครงสร้างแบบเมทริกซ์ (
Matrix ) โดยจะมีวงจรควบคุมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวงจรในชิปเซต ( Chipset )
ควบคุมอยู่ โดยวงจรเหล่านี้จะส่งสัญญาณกำหนดแถวแนวตั้ง
และสัญญาณแถวแนวนอนไปยังหน่วยความจำ
เพื่อกำหนดตำแหน่งของข้อมูลในหน่วยความจำที่จะใช้งาน

ในการเข้าถึงข้อมูลในหน่วยความจำของซีพียู
สิ่งแรกที่ซีพียูได้รับในการเข้าถึงข้อมูล ก็คือ ซีพียูจะได้รับสัญญาณ RAS
แล้วหลังจากนั้นซีพียูจะต้องใช้เวลาสักครู่เพื่อรอรับสัญญาณ CAS
ซึ่งช่วงนี้ได้ถูกเรียกว่า RAS to CAS Delay จะใช้เวลาประมาณ 2-3
สัญญาณนาฬิกา และในไบออส ( BIOS )
จะเปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถปรับค่านี้ได้ เช่น ปรับจาก 3 สัญญาณนาฬิกา
ให้เหลือ 2
สัญญาณนาฬิกาซึ่งจะทำให้การเข้าถึงข้อมูลในหน่วยความจำเร็วขึ้นแต่มีโอกาส
เกิดความผิดพลาดได้สูง โดยสัญญาณทั้ง 2
แบบนี้จะเป็นเหมือนที่อยู่หรือตำแหน่งเก็บข้อมูลที่ทำให้ซีพียูสามารถค้นหา
ข้อมูลในหน่วยความจำได้อย่างถูกต้อง

ในการคิดความเร็วของแรม ที่ตัว Memorychipจะมี เลขรหัส เช่น HM411000-70
ตัวเลขหลัง (-) คือ ตัวเลขที่บอก ความเร็วของ RAM ตัวเลขนี้ เรียกว่า
Accesstime คือ เวลาที่เสียไป ในการที่จะเข้าถึงข้อมูล หรือ
เวลาที่แสดงว่า ข้อมูลจะถูก ส่งออกไปทาง Data busได้เร็วแค่ไหน ยิ่ง
Access time น้อยๆ แสดงว่า RAM ตัวนั้นเร็วมาก

3295

ความเร็วของแรมนั้นเรียกว่า Cycle time ซึ่งมีหน่วยเป็น ns โดย Cycle
time เท่ากับ Read/Write cycle time (เวลาที่ในการส่งสัญญาณติดต่อ
ว่าจะอ่าน/เขียน RAM) รวมกับ Access time และ Refresh time โดยทั่วไป RAM
จะต้องทำการตอบสนองซีพียู ได้ในเวลา 2 clock cycle หรือ 2 คาบ
หากแรมตอบสนองไม่ทันแรมจะส่งสัญญาณ /WAIT บอกซีพียูให้คอย คือ
การที่ซีพียูเพิ่ม clock cycle ซึ่งช่วงเวลานี้เรียกว่า WAIT STATE
และในส่วนของการเรียกใช้งานหน่วยความจำนั้น แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ
ลักษณะแรกเป็นแบบ Asynchronous
เป็นหน่วยความจำที่ไม่ทำงานที่ความเร็วเดียวกับสัญญาณนาฬิกา
ซึ่งจะพบได้ในหน่วยความจำ FPM และ EDO รุ่นเก่า
ซึ่งใช้ชิปหน่วยความจำที่สามารถทำงานได้ที่ความเร็วเดียวกันกับความเร็วบัส
ส่วนลักษณะที่สองเป็นแบบ Synchronous
เป็นหน่วยความจำที่ทำงานที่ความเร็วเดียวกับสัญญาณนาฬิกาของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ พบได้ใน SDRAM
ซึ่งสามารถทำงานได้ที่ความเร็วเดียวกันกับความเร็วบัส

ประเภทของแรม

โดยปกติหน่วยความจำหลักของระบบคอมพิวเตอร์ จะเป็นหน่วยความจำแบบแรมซึ่ง

สามารถเขียนข้อมูลได้ตลอดเวลา แรมนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ด้วยกันคือ
1. Static Random Access Memory ( SRAM )

2. Dynamic Random Access Memory ( DRAM )



1. SRAM แบบสแตติกหรือเรียกสั้น ๆ ว่า SRAM เป็นหน่วยความจำที่ทำงานได้เร็วกว่า

แบบ DRAM และไม่ต้องการวงจรไฟฟ้าสำหรับการ Refresh
ข้อมูลที่เก็บไว้ภายในหน่วยความจำ ในขณะที่หน่วยความจำแบบ DRAM
นั้นต้องการวงจร Refresh แต่เนื่องจากหน่วยความจำแบบ SRAM นั้นมีราคาแพง
ทำให้ผู้ผลิตไม่ได้ใช้ SRAM
มาทำเป็นหน่วยความจำมาตรฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี
การใช้งานส่วนใหญ่ของหน่วยความจำประเภทนี้จะถูกจำกัดไว้เฉพาะการเป็นหน่วย
ความจำแคช ( Cache )
ซึ่งมีขนาดเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับหน่วยความจำทั้งหมดที่ติดตั้งอยู่ใน
เครื่องคอมพิวเตอร์

3296


2. DRAM แบบไดนามิกหรือเรียกสั้น ๆ ว่า DRAM เป็นหน่วยความจำที่ถูกนำมาใช้ผลิต

แรมเพื่อใช้ติดตั้งลงในเครื่องคอมพิวเตอร์
ซึ่งหน่วยความจำนี้ได้รับความนิยมสูง อันเนื่องมาจากมีความจุสูง
กินไฟน้อยและราคาถูกกว่าหน่วยความจำ SRAM
แต่ข้อเสียก็คือมีความยุ่งยากในการออกแบบเพื่อการนำไปใช้งาน เนื่องจาก
DRAM จะทำการเก็บข้อมูลไว้ในตัวเก็บประจุ (Capaciter)
ซึ่งจำเป็นจะต้องมีการ refresh
ข้อมูลอยู่ตลอดตามระยะเวลาที่กำหนดไว้เพื่อเก็บข้อมูลให้คงอยู่ไม่ให้ข้อมูล
สูญหายไปและเป็นการเติมไฟฟ้าเข้าไปเพื่อให้ข้อมูลที่กำลังจางหายไปมีความ
เข้มขึ้น โดยการ refresh นี้ทำให้เกิดช่วงเวลาขึ้นในการเข้าถึงข้อมูล
และที่ต้อง refresh ตัวเองอยู่ตลอดเวลาจึงเป็นเหตุให้ได้ชื่อว่า Dynamic
Random Access Memory

3297

การผลิตหน่วยความจำขึ้นใช้งานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ มีรูปแบบของหน่วยความจำหลายรูปแบบด้วยกัน ดังนี้

DIP ( Dual In-Line Package )

3298


ในยุคเริ่มแรกที่คอมพิวเตอร์เริ่มใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ส่วนมากมักเป็น

คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ( PC : Personal Computer ) ใช้ซีพียู 8088 หรือ
80286 หน่วยความจำ DRAM ถูกออกแบบให้บรรจุอยู่ในแพ็คเกจแบบ DIP
เป็นแรมที่อยู่ในรูปแบบของ IC ( Integrated Circuit ) หรือชิปแรม ( Memory
Chip ) ซึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีขาเรียงกันเหมือนตะขาบทั้ง 2 ข้าง
การใช้งานหรือติดตั้งแรมชนิดนี้ทำได้โดยการติดลงบนซ็อกเก็ตของ DIP Socket
ซึ่งอยู่บนเมนบอร์ด
และในการติดตั้งชิปหน่วยความจำแบบนี้จะต้องระมัดระวังด้วย เพราะขา ( Pin )
ของชิปบอบบาง งอง่าย หักง่าย

SIPP ( Single In-line Pin Package )

ช่วยลดความยุ่งยากของการติดตั้ง RAM แบบ DIP
ลงได้มากเพราะจะมีการติดตั้งชิปหน่วยความจำเรียงกันเป็นแถวลงบน PCB (
Printed Circuit Board ) เสียก่อน ทำให้มีลักษณะเป็นแผง และรูปแบบ SIPP
นี้จะมีขาเพียงแถวเดียวเรียงไปตามแนวยาวของแผ่น PCB
ใช้ติดตั้งลงบนซ็อกเก็ตยาว ๆ บนเมนบอร์ด ซึ่งจะติดตั้งได้ง่ายกว่า DIP มาก
และเป็นแบบที่ใช้มาจนถึงปัจจุบัน

SIMM ( Single In-line Memory Module )

3299


เริ่มต้นมีช่องทางเดินข้อมูล ( Datapath ) ขนาด 8 บิต เป็นการ์ดขนาดเล็กที่มีความจุ 1, 2

หรือ 4 MB มีขา 30 Pin เป็นแบบ Edge Connector (
เป็นลายวงจรเรียงกันเป็นซี่ตามขอบ PCB ในแนวยาว ) ในการติดตั้ง SIMM
จะไม่มีการใช้เสียบลงไปตรง ๆ เหมือนการ์ดทั่วไป แต่จะเสียบลงแบบเอียง ๆ
แล้วดัน SIMM ไปด้านข้างเพื่อให้กลไกบนซ็อกเก็ตทำการล็อค SIMM เอาไว้
การใช้ Edge Connector ใน SIMM ก็เพื่อตัดปัญหาเรื่องหน้าสัมผัสของ Pin
กับซ็อกเก็ต สำหรับ SIMM ที่ถูกผลิตออกมาจะแบ่งได้เป็นชนิดต่าง ๆ
ตามความกว้างของข้อมูลของ SIMM แต่ละโมดูล คือชนิด 8 บิต, 16 บิต, 32 บิต
การจัดวางลำดับของ Edge Connector
จะมีมาตราฐานกลางที่ใช้กันอยู่ด้วยโมดูลที่มี Datapath กว้าง 8 บิต
ดังนั้นเวลานำไปใช้กับซีพียูที่มี Datapath เท่ากับ 16 บิต ( ซีพียูรุ่น
286 และ 386 SX ) ก็จำเป็นต้องใส่แรมทีละ 2 แถว
เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลให้กับซีพียูได้เท่ากับ 16
บิตซึ่งบนเมนบอร์ดมักจะมีซ็อกเก็ตมาให้ 4 แถว แต่จะมีการจับคู่เอาไว้
โดยแต่ละคู่จะเรียกว่า " Bank " ซึ่งจะมีการระบุเป็นตัวหนังสือไว้ชัดเจน
ดังนั้นเวลาติดตั้งแรมชนิดนี้ก็ต้องเลือก Bank ให้ถูกต้องด้วย จะใส่ Bank
ละแถวไม่ได้ เมื่อซีพียูถูกพัฒนาให้มี Datapath 32 บิต ( รุ่น 386 DX และ
486 ) ก็เท่ากับว่าจะต้องใส่ SIMM แรมขนาด 8 บิต จำนวน 4 แถว ( ถือเป็น 1
Bank) จึงจะครบ 32 บิต ดังนั้นเมนบอร์ดที่ผลิตขึ้นมาใช้กับเครื่อง 486
ในรุ่นแรก จะมีรูปแบบของการติดตั้งแบบ 4 แถว ได้แก่ 4 x 1 MB, 4 x 2 MB
หรือ 4 x 4 MB ในแต่ละ Bank สังเกตว่าจะมีเพียง 1 Bank เท่านั้น ( 4 แถว )
ต่อมาได้มีการพัฒนา SIMM ซึ่งมีความกว้าง Datapath 32 บิต
เพื่อใช้ในเครื่อง 486 และ Pentium ยุคเริ่มต้น

DIMM ( Dual In-line Memory Module )

3300

หมายถึงแรมชนิด DDR SDRAM ซึ่งเป็นแรมรูปแบบใหม่ที่พัฒนาต่อจาก SDRAM
ถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐานกลางโดย ( Joint Electron Device Engineer Council
) ลักษณะ

โดยทั่วไปจะคล้าย SIMM แต่จะมี 168 Pin ( ข้างละ 84 pin ) ขนาด 64 บิต ความเร็ว 8-12 ns ( Nano Second )

RIMM ( RAMBUS In-line Memory Module )

3359



เป็นแรมรูปแบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับ Pentium 4 เท่านั้น
โดยโมดูลแบบ RIMM จะมีลักษณะเหมือน DIMM แต่ขาสัญญาณมากกว่า โดยจะมี 184
ขา ซึ่งในการติดตั้งแรมชนิดนี้ จะมีสิ่งที่แตกต่างไปจาก SDRAM และ DDR
SDRAM เนื่องจากในการติดตั้งจะต้องมีการใส่ C-RIMM ( Continuity RIMM )
ในช่องที่เหลือด้วย มิฉะนั้นจะทำงานไม่ได้ ซึ่ง C-RIMM ก็คือแผ่น PCB
เปล่า ๆ ที่นำมาใส่เพื่อให้เครื่องทำงานได้

รายละเอียดของ RAM แต่ละชนิด

Parity จะมีความสามารถในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล โดยจะมี bit
ตรวจสอบ 1 ตัว ถ้าพบว่ามีข้อมูลผิดพลาด ก็จะเกิด system halt ในขณะที่แบบ
Non-Parity จะไม่มีการตรวจสอบ bit นี้ Error Checking and Correcting
(ECC) หน่วยความจำแบบนี้ ได้พัฒนาขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง
เพราะนอกจากจะตรวจสอบว่ามีข้อมูลผิดพลาดได้แล้ว ยังสามารถแก้ไข bit
ที่ผิดพลาดได้อีกด้วย โดยไม่ทำให้ system halt แต่หากมีข้อมูลผิดพลาดมาก ๆ
มันก็มี halt ได้เหมือนกัน สำหรับ ECC นี้จะเปลือง overhead
เพื่อเก็บข้อมูล มากกว่าแบบ Parity ดังนั้น Performance
ของมันจึงถูกลดทอนลงไป

3365 EDORAM

3366 DDRRAM

3368 SDRAM

3367 RDRAM


ชนิดและความแตกต่างของ RAM


Dynamic Random Access Memory (DRAM)
DRAM
จะทำการเก็บข้อมูลในตัวเก็บประจุ (Capaciter) ซึ่งจำเป็นต้องมีการ refresh
เพื่อเก็บข้อมูลให้คงอยู่โดยการ refresh
นี้ทำให้เกิดการหน่วงเวลาขึ้นในการเข้าถึงข้อมูล และก็เนื่องจากที่มันต้อง
refresh ตัวเองอยู่ตลอดเวลาจึงเป็นเหตุให้ชื่อว่า Dynamic RAM

Staic Random Access Memory (SRAM)
ต่างจาก DRAM ตรง DRAM ต้อง
refresh ข้อมูลอยู่ตลอดเวลา แต่ในขณะที่ SRAM จะเก็บข้อมูลไว้
และจะไม่ทำการ refresh โดยอัตโนมัติ ซึ่งมันจะทำการ refresh
ก็ต่อเมื่อสั่งให้มัน refresh เท่านั้น ซึ่งข้อดีของมันก็คือความเร็ว
ซึ่งเร็วกว่า DRAM ปกติมาก แต่ราคาสูง

Fast Page Mode DRAM (FPM DRAM)
FPM เหมือนกับ DRAM
เพียงแต่ว่า มันลดช่วงการหน่วงเวลาขณะเข้าถึงข้อมูลลง ทำให้
มันมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สูงกว่า DRAM ปกติ
ซึ่งโดยที่สัญญาณนาฬิกาในการเข้าถึงข้อมูล จะเป็น 6-3-3-3 (Latency
เริ่มต้นที่ 3 clock พร้อมด้วย 3 clock สำหรับการเข้าถึง page) และสำหรับ
ระบบแบบ 32 bit จะมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงสุด 100 MB ต่อวินาที
ส่วนระบบแบ 64 bit จะมีอัตรา การส่งถ่ายข้อมูลที่ 200 MB ต่อวินาที
เช่นกัน ปัจจุบันนี้ RAM ชนิดนี้เกือบไม่พบในตลาดแล้ว แต่ยังมีให้เห็นบ้าง
และราคาค่อนข้างแพงเมื่อเที่ยบกับ RAM รุ่นใหม่ ๆ
เนื่องจากที่ว่าปริมาณในท้องตลาดมีน้อยมาก ทั้ง ๆ
ที่ยังมีคนต้องการใช้แรมชนิดนี้อยู่

Extended-Data Output (EDO) DRAM
คือ Hyper-Page Mode DRAM
ซึ่งพัฒนาขึ้นอีกระดับหนึ่ง
โดยจะอ้างอิงตำแหน่งที่อ่านข้อมูลจากครั้งก่อนไว้ด้วย
ปกติแล้วการดึงข้อมูลจาก RAM ณ ตำแหน่งใด ๆ มักจะดึงข้อมูล ณ
ตำแหน่งที่อยู่ใกล้ ๆ จากการดึงก่อนหน้านี้ เพราะฉะนั้น ถ้ามีการอ้างอิง ณ
ตำแหน่งเก่าไว้ก่อน ก็จะทำให้เสียเวลาในการเข้าถึงตำแหน่งน้อยลง
และยังลดช่วงเวลาของ CAS latency ลงด้วย
และด้วยความสามารถนี้ทำให้การเข้าถึงข้อมูลดีขึ้นกว่าเดิมกว่า 40%
เลยทีเดียว และมีความสามารถโดยรวมสูงกว่า FPM กว่า 15% EDO
จะทำงานได้ดีที่ 66 MHz ด้วย timming 5-2-2-2 และก็ยังทำงานได้ดี
แม้จะใช้งานที่ 83 MHz ด้วย Timming นี้และหากว่า chip EDO นี้
มีความเร็วที่สูงมากพอ (มากกว่า 50ns) มันจะสามารถใช้งานได้ ณ 100 MHz ที่
Timming 6-3-3-3 อัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงสุด ของ DRAM ชนิดนี้อยู่ที่ 264
MB ต่อวินาที EDO RAM ในปัจจุบันนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้แล้ว

Burst EDO (BEDO) DRAM
BEDO ได้เพิ่มความสามารถขึ้นมาจาก EDO
เดิม คือ Burst Mode โดยหลังจากได้ address ที่ต้องการ address
แรกแล้วมันก็จะทำการ generate อีก 3 address ขึ้นทันที ภายใน 1
สัญญาณนาฬิกา ดังนั้น จึงตัดช่วงเวลาในการรับ adress ต่อไป เพราะฉะนั้น
Timming ของมันจึงเป็น 5-1-1-1 ณ 66 MHz BEDO ไม่เป็นที่แพร่หลาย
และได้รับความนิยมเพียงระยะเวลาสั้น ๆ เนื่องจากว่าทาง Intel ตัดสินใจใช้
SDRAM แทน EDO และไม่ได้ใช้ BEDO เป็นส่วนประกอบในการพัฒนา chipset ของตน
ทำให้บริษัทผู้ผลิต ต่าง ๆ หันมาพัฒนา SDRAM แทน

Synchronous DRAM (SDRAM) SDRAM
ต่างจาก DRAM
เดิมตรงที่มันจะทำงานสอดคล้องกับสัญญาณนาฬิกา สำหรับ DRAM
เดิมจะทราบตำแหน่งที่อ่านก็ต่อเมื่อเกิดทั้ง RAS และ CAS ขึ้น
แล้วจึงทำการไปอ่านข้อมูลโดยมีช่วงเวลาในการเข้าถึงข้อมูลตามที่เรามักจะได้
เห็นบนตัว chip ของตัว RAM เช่น -50, -60, -80 โดย -50 หมายถึง
ช่วงเวลาเข้าถึง ใช้เวลา 50 นาโนวินาทีเป็นต้น แต่ SDRAM
จะใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวกำหนดการทำงานโดยจะใช้ความถี่ของสัญญาณเป็นตัวระบุ
SDRAM จะทำงานตามสัญญาณนาฬิกาขาขึ้นเพื่อรอรับตำแหน่งข้อมูล
ที่ต้องการให้มันอ่าน
แล้วจากนั้นมันก็จะไปค้นหาให้และให้ผลลัพธ์ออกมาหลังจากได้รับตำแหน่งแล้ว
เท่ากับค่าของ CAS เช่น CAS 2 ก็คือ
หลังจากรับตำแหน่งที่อ่านแล้วมันจะให้ผลลัพธ์ออกมา ภายใน 2
ลูกของสัญญาณนาฬิกา SDRAM จะมี Timming เป็น 5-1-1-1 ซึ่งเร็วพอ ๆ กันกับ
BEDO RAM เลยที่เดียว แต่ว่ามันสามารถทำงานได้ ณ 100 MHz หรือมากกว่า
และมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงสุดที่ 528 MB ต่อวินาที

DDR SDRAM (หรือ SDRAM II)
DDR RAM นี้แยกออกมาจาก SDRAM
โดยจุดที่ต่างกันหลัก ๆ ของทั้งสองชนิดนี้คือ DDR SDRAM
นี้สามารถที่จะใช้งานได้ทั้งขาขึ้น และขาลง
ของสัญญาณนาฬิกาเพื่อส่งถ่ายข้อมูล นั่นก็ทำให้อัตราส่งถ่าย
เพิ่มขึ้นได้ถึงเท่าตัว ซึ่งมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงสุดถึง 1 G
ต่อวินาที

Rambus DRAM (RDRAM)
RAMBUS เป็นเครื่องหมายการค้าของบริษัท
RAMBUS Inc. ซึ่งตั้งมาตั้งแต่ยุค 80 แล้ว โดยปัจจุบันได้เอาหลักการของ
RAMBUS มาพัฒนาใหม่ โดยการลด pin รวม static buffer และทำการปรับแต่งทาง
interface ใหม่ DRAM ชนิดนี้ จะสามารถทำงานได้ทั้งขอบขาขึ้น
และลงของสัญญาณนาฬิกา และเพียงช่องสัญญาณเดียว ของหน่วยความจำแบบ RAMBUS
นี้ มี Performance มากกว่าเป็น 3 เท่า จาก SDRAM 100 MHz แล้ว
และเพียงแค่ช่องสัญญาณเดียวนี้ก็มีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูงถึง 1.6 G
ต่อวินาที ถึงแม้ว่าเวลาในการเข้าถึงข้อมูลแบบ สุ่มของ RAM ชนิดนี้จะช้า
แต่การเข้าถึงข้อมูลแบบต่อเนื่องจะเร็วมาก ๆ ซึ่ง RDRAM นี้มีการพัฒนา
Interface และมี PCB (Printed Circuit Board) ที่ดี และรวมถึง Controller
ของ Interface ให้ สามารถใช้งานได้ถึง 2
ช่องสัญญาณแล้วมันจะมีอัตราการส่งถ่ายข้อมูลเพิ่มเป็น 3.2 G ต่อวินาที
และหากว่าสามารถใช้ได้ถึง 4 ช่องสัญญาณก็จะสามารถเพิ่มไปถึง 6.4 G
ต่อวินาที

Synchronous Graphic RAM (SGRAM)
SGRAM นี้ก็แยกออกมาจาก SDRAM
เช่นกันโดยถูกปรับแต่งมาสำหรับงานด้าน Graphics
เป็นพิเศษแต่โดยโครงสร้างของ Hardware แล้ว แทบไม่มีอะไรต่างจาก SDRAM
เลยจากบาง Graphic Card ที่เป็นรุ่นเดียวกัน แต่ใช้ SDRAM ก็มี SGRAM ก็มี
เช่น Matrox G200 แต่จุดที่ต่างกัน ก็คือ ฟังก์ชัน ที่ใช้โดย Page
Register ซึ่ง SG สามารถทำการเขียนข้อมูลได้หลาย ๆ ตำแหน่ง
ในสัญญาณนาฬิกาเดียว ในจุดนี้ทำให้ความเร็วในการแสดงผล และ Clear Screen
ทำได้เร็วมาก และยังสามารถเขียนแค่บาง bit ใน word ได้
(คือไม่ต้องเขียนข้อมูลใหม่ทั้งหมดเขียนเพียงข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงเท่านั้น)
โดยใช้ bitmask ในการเลือก bit ที่จะเขียนใหม่สำหรับงานโดยปกติแล้ว SGRAM
เกือบจะไม่ให้ผลที่ต่างจาก SDRAM เลย มันเหมาะกับงานด้าน Graphics มากกว่า
เพราะความสามารถที่แสดงผลเร็วและ Clear Screen ได้เร็วมันจึงเหมาะกับใช้บน
Graphics Card มากกว่า ที่จะใช้บน System

Video RAM (VRAM)
VRAM ทำงานเกี่ยวกับ Video
เพราะถูกออกแบบมาใช้บน Dispaly Card โดย VRAM นี้ก็มีพื้นฐานมาจาก DRAM
เช่นกัน แต่ที่ทำให้มันต่างกันก็ด้วยกลไกการทำงานบางอย่างที่เพิ่มเข้ามา
โดยที่ VRAM นั้น จะมี serial port พิเศษเพิ่มขึ้นมาอีก 1 หรือ 2 port
ทำให้เรามองว่ามันเป็น RAM แบบ พอร์ทคู่ (Dual-Port) หรือ ไตรพอร์ท
(Triple-Port) Parallel Port ซึ่งเป็น Standard Interface ของมัน
จะถูกใช้ในการติดต่อกับ Host Processor เพื่อสั่งการให้ ทำการ refresh
ภาพขึ้นมาใหม่ และ Serial Port ที่เพิ่มขึ้นมา
จะใช้ในการส่งข้อมูลภาพออกสู่ Display

Windowns RAM (WRAM)
WRAM ถูกพัฒนาโดย Matrox
เพราะเป็นผู้เดียวที่ใช้ RAM ชนิดนี้ บน Graphics Card ของตน (card ตระกูล
Millenium และ Millenium II แต่ไม่รวม Millenium G200 ซึ่งเป็น ซึ่งใช้
SGRAM ) แต่ในปัจจุบันมีของ Number 9 ที่ใช้ WRAM เช่นกัน ในรุ่น Number 9
Revolution IV ที่ใช้ WRAM 8M บน Crad WRAM นี้โดยรวมแล้วก็เหมือน ๆ กับ
VRAM จะต่างกันก็ตรงที่ มันรองรับ Bandwith ที่สูงกว่า อีกทั้งยังใช้ระบบ
Double-Buffer อีกด้วย จึงทำให้มันเร็วกว่า VRAM อีกมากทีเดียว

SLDRAM

SLDRAM เป็นแรมที่แม้ว่าจะอยู่ในระหว่างการพัฒนาแต่ก็มีแนวโน้มที่จะเป็น RAM

สำหรับอนาคต เพราะได้รับการออกแบบและพัฒนารวมกันโดยกลุ่มบริษัทผู้ผลิต RAM
( ยกเว้นอินเทลกับ Rambus ที่ยังคงยืนหยัดมั่นคงกับ RDRAM ) เพื่อให้เป็น
RAM รุ่นต่อจาก DDR โดยจะทำงานที่ความเร็วสูงได้ถึง 200 MHz
และเมื่อทำงานแบบ DDR ก็จะได้ความเร็วในการส่งข้อมูลถึง 400 MHz
เลยทีเดียว บัสของ SLDRAM เริ่มต้นที่ขนาด 2 ไบต์
ซึ่งก็จะได้อัตราการส่งข้อมูลเริ่มต้นที่ 800 MB/s
ทั้งนี้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและกระบวนการผลิตชิปและโมดูลแรมจาก
SDR หรือ DDR มากมาย SLDRAM

MDRAM ( Multibank DRAM )

3372




MDRAM ( Multibank DRAM ) เป็นการออกแบบ DRAM โดยแบ่งเป็นหลาย ๆ กลุ่มหรือ

bank ที่มีขนาดเล็ก เช่น 32KB แต่รวมอยู่บนชิปเดียวกัน โดยแต่ละ bank
มีกลไกในการที่จะเข้าถึงข้อมูลแยกจากกันต่างหากซึ่งต่างก็ต่อเข้ากับบัสโดย
ตรง ผลคือแต่ bank สามารถทำการรับส่งข้อมูลได้พร้อม ๆ กัน
ทำให้ได้ความเร็วสูงกว่า DRAM ธรรมดา


วิธีการเลือกซื้อแรม

การเลือกซื้อ RAM สำหรับคอมพิวเตอร์


สำหรับ RAM ควรเลือกซื้อยี่ห้อที่น่าเชื่อถือได้ ขนาดของ RAM
ที่จะใช้สำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์แบบทั่ว ๆ ไปกับ Windows 98 ควรที่จะมี
RAM ประมาณ 64M. ไม่แนะนำให้ใช้ RAM น้อยกว่านี้
ถึงแม้ว่าจะสามารถใช้งานได้ก็ตาม เพราะว่าการที่ใช้ RAM น้อย ๆ จะทำให้
ฮาร์ดดิสก์ ต้องทำงานหนักขึ้นอีกมาก ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้
ฮาร์ดดิสก์เสียได้เร็วกว่าอายุการใช้งานจริง หากต้องการเน้นการเล่นเกมส์
หรือการใช้งานหนัก ๆ ควรจะมี RAM ไม่น้อยกว่า 128M. สำหรับการ Upgrade
เครื่อง การเพิ่ม RAM จะเป็นทางเลือกที่ประหยัดที่สุด แต่ต้องพิจารณาดูว่า
RAM ที่มีอยู่เดิมเป็นแบบไหน EDO-RAM 72 pin หรือ SD-RAM 168 pin
รวมทั้งเมนบอร์ดเดิมสามารถใส่ RAM แบบใดได้ หลักการเพิ่มและเลือกซื้อ RAM
มีดังนี้ คือ


ขนาดของ RAM ต่อ 1 ชิ้น ซึ่งบนเมนบอร์ดจะมีข้อจำกัดของช่องใส่ RAM
เช่นใส่ได้ 3 หรือ 4 ช่อง หากเลือก RAM ที่มีขนาดน้อย ๆ ต่อชิ้น เช่นเลือก
RAM แถวละ 32M. จำเป็นต้องซื้อ 2 แถวเพื่อให้ได้ 64M.
ในอนาคตหากต้องการเพิ่มแรมอีก ก็จะเป็นปัญหาเพราะว่าไม่มีช่องใส่ RAM
การใช้ RAM ที่มีขนาด และความเร็วที่ไม่เท่ากัน
ก็อาจจะเป็นปัญหาให้กับระบบคอมพิวเตอร์ได้ เช่น การไม่เสถียร
หรือเครื่องขัดข้องบ่อย ๆ ได้ ดังนั้น ถ้าเป็นการซื้อ RAM
ใหม่ให้เลือกขนาดที่ใหญ่ที่สุด เช่น 64M. หรือ 128M. ต่อ 1 แถว
และใส่ให้น้อยแถวที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ความเร็วของบัสแรม
ก็ต้องเลือกให้เข้ากับ CPU และ เมนบอร์ด (ความเร็วส่วนใหญ่จะเป็น 66, 100
และ 133 MHz) เช่น Celeron ใช้ความถี่ FSB 66 MHz อาจจะใช้งานกับ RAM แบบ
PC-66 ก็ได้ แต่หากใช้ CPU Pentium II หรือ Pentium III ซึ่งใช้ความเร็ว
FSB 100MHz ก็ต้องใช้ RAM แบบ PC-100 ด้วยหรือ CPU รุ่นใหม่ ๆ
ที่ใช้ความเร็วบัส FSB 133 MHz ก็ต้องใช้แรมแบบ PC-133
ความเร็วของการส่งถ่ายข้อมูลของ RAM ไม่ชัดเจน
แต่โดยทั่วไปก็จะมีตัวเลขที่บอกความเร็วของการเข้าถึงข้อมูล เช่น 10 nsec,
8nsec หรือ 6 nsec เป็นต้น ตัวเลขยิ่งน้อย
ก็ทำให้การเข้าถึงข้อมูลทำได้เร็วกว่า สำหรับการ Over Clock
ก็คงต้องเลือกยี่ห้อของ RAM เช่น RAM แบบ PC-133
บางยี่ห้อสามารถทำงานที่ความเร็วสูงถึง 180 MHz ได้ แต่ราคาสูง)


รวบรวมข้อมูลมาจาก:

www.nfe.go.th/13/banprak/computer/ram.html

 

เคส (Case)  

           

 อย่างที่รู้จักกันดีอยู่แล้วว่า
เคส คือ    โครง  หรือ   กล่องสำหรับประกอบอุปกรณ์ต่างๆ
ของ คอมพิวเตอร์ไว้ภายใน ซึ่ง ปัจจุบันนี้ เคส ที่นิยมใช้กันอยู่มีอยู่ด้วยกัน
5 แบบ คือ  


       1.
Full Power

       2. Medium Tower    

       3. Mini Tower         

       4. Desktop        

       5. Slimline



 



      เคส Full
Power
 จะมีรูปร่างที่สูงที่สุดใน  บรรดาแบบ

Tower และ
เคส แบบ Medium Mini  ก็จะมีรูปร่างเล็กตามลำดับ
โดย เคสชนิดนี้ จะมีลักษณะสูงขึ้นไปด้านบนแต่เคส แบบ Desktop
 และ Slimline จะมีลักษณะ ราบตามแนวนอน 
สามารถวางจอภาพ บนเคสชนิดนี้ได้ ทำให้คุณสามารถ ประหยัดเนื้อที่
ในการวางจอภาพ ไปได้เป็นอย่างมาก แต่ข้อเสีย คือ ถ้าจะต้องเปิดฝาเคส
เพื่อจะทำการใดๆ ภายในเคสจะต้องยกจอ ภาพออกมาก่อน จึงเปิดได้  เคสที่มีขนาดใหญ่
 จะมีข้อ ดีตรงที่ สามารถเพิ่มอุปกรณ์ ให้กับระบบได้มากกว่า
เช่นอาจจะเพิ่ม ฮาร์ดดิสก์ ตัวที่ 2 หรือ 3 เพิ่มซีดีรอมไดรว์  ตัวที่สองหรือ
อุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น ๆ เคส (case) ถ้ามองจากด้านหน้า จะเห็นได้ว่าส่วนผู้ใช้
จะใช้งาน ได้เพียง แค่ปุ่มสวิทช์ ไม่กี่อัน ซึ่งปุ่มที่สำคัญ คือ
ปุ่ม เปิด / ปิด เครื่อง  (on /off หรือ power) ซึ่งมักจะเป็นปุ่ม
ที่มีขนาด ใหญ่ที่สุด เพื่อสะดวกในการใช้งาน บางเครื่องจะมีปุ่มนี้เพียงปุ่มเดียวเท่านั้นที่อยู่บนเครื่อง
แต่บางเครื่อง จะมีปุ่มที่เล็ก ๆ ที่กำกับไว้ด้วย คำว่า reset เพื่อใช้แทน
การเปิดปิดเครื่องใหม่ โดยไม่มีการปิดเครื่อง ซึ่งเป็นเพียง
แต่ควบคุม การทำงาน ของซีพียูให้กลับไปเริ่มต้นใหม่ เหมือนเพิ่งเปิดเครื่องเท่านั้น
 ถ้า เป็นเครื่องรุ่นเก่า อาจจะมีปุ่มที่เขียนว่า turbo ซึ่งโดยปกติ
จะเป็น on แต่ถ้ากดซ้ำให้ off ก็จะเป็นการลดเครื่องเร็ว ของเครื่องลง
เนื่องจากซอฟต์แวร์    สมัยก่อนบางตัว อาจไม่สามารถ
ทำงานได้ถูกต้อง ซึ่งตัวเครื่องใหม่ รุ่นปัจจุบันไม่มีเรื่องแบบนี้อีกแล้ว
ส่วน ปุ่มที่เห็นได้ก็จะเป็นปุ่ม ของอุปกรณ์ ในเครื่อง ซึ่งได้แก่
ดิสเก็ตต์ (diskette หรือ floppy disk) และซีดีรอม (cd - rom)  ซึ่งสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลจริง
ๆ ไม่ได้ติดมา กับตัวเรื่อง แต่ปุ่มเหล่านี้จะใช้สำหรับ นำแผ่น ดิสก์หรือซีดีออกจากไดรว์เหล่านั้น  นอกจากนี้
ด้านหน้าส่วนใหญ่ อีกสอง ถึง สามดวง คือ ดวงที่จะติดสว่างอยู่ตลอดเวลา
ที่เปิดเครื่อง เพื่อแสดงว่าขณะนี้กำลังเปิดเครื่องอยู่ ส่วนดวงไฟ
อีกดวง จะกระพริบ เป็นบางครั้ง ก็คือไฟที่แสดงว่ากำลังมีการใช้งาน
ฮาร์ดดิสก์อยู่ ซึ่งอยู่จะเป็นการอ่าน หรือเขียนก็แล้วแต่ ส่วนอีก
ดวงหนึ่งในปัจจุบัน ก็ไม่ค่อยเห็นกันแล้วก็คือไฟของปุ่ม turbo ส่วนด้านหลังของเครื่อง
จะเห็นช่องเสียบสาย ต่อต่าง ๆ จำนวนมากที่เครื่องพีซีได้เตรียมไว้สำหรับ
การใช้งานหลากหลาย ได้แก่ คีย์บอร์ด ,เมาส์ ,จอภาพ ,ช่องต่อโมเด็ม  
(หรือที่เรียกว่า พอร์ต อนุกรม - serial
port)
ช่องต่อเครื่องพิมพ์ (หรือที่เรียกว่า พอร์ตขนาน - parallel port)
พอร์ต USB พอร์ต เกมสำหรับต่อ จอยสติ๊ก และอาจจะมีช่องเสียบของลำโพง
, ไมโครโฟน, สายเสียบโทรศัพท์, สายเน็ตเวิร์ก, รวมทั้งช่อง เสียบสายไฟ
เลี้ยงตัวเครื่องที่ต้องนำไปเสียบเข้ากับปลั๊กไฟในบ้าน หรือ อื่นๆ
อีกมากมายตามแต่ว่า เครื่องนั้น มีอุปกรณ์  อะไรติดตั้งอยู่บ้าง

 http://yalor.yru.ac.th/~nipon/bnipon/contant1_1.htm

 

พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) 

         

              เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญอย่างมากต่ออุปกรณ์เกือบทุกตัวในระบบคอมพิวเตอร์
ซัพพลายของคอมพิวเตอร์นั้นมีลักษณะการทำงาน คือทำหน้าที่แปลงกระแสไฟฟ้าจาก
220 โวลต์ เป็น 5 โวลต์ และ 12 โวลต์ ตามแต่ความต้องการของอุปกรณ์นั้นๆ
โดยชนิดของพาวเวอร์ซัพพลาย ในคอมพิวเตอร์จะแบ่งได้เป็น 2 ชนิดตามเคส
คือแบบ AT และแบบ ATX

ประเภทของพาวเวอร์ซัพพลาย

ประเภทของ Power Supply แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่คือ

  • AT เป็นแหล่งจ่ายไฟที่นิยมใช้กันในประมาณ 4-5 ปีก่อน (พ.ศ. 2539)
    โดยปุ่มเปิด - ปิด การทำงานเป็นการต่อตรงกับแหล่งจ่ายไฟ
    ทำให้เกิดปัญหากับอุปกรณ์บางตัว เช่น ฮาร์ดดิสก์ หรือซีพียู ที่ต้องอาศัยไฟในชั่วขณะหนึ่ง ก่อนที่จะเปิดเครื่อง (วิธีดูง่ายๆ จัมีสวิตซ์ปิดเปิด จากพาวเวอร์ซัพพลายติดมาด้วย)
  • ATX เป็นแหล่งจ่ายไฟที่นิยมใช้ในปัจจุบัน โดยมีการพัฒนาจาก AT
    โดยเปลี่ยนปุ่มปิด - เปิด ต่อตรงกับส่วนเมนบอร์ดก่อน
    เพื่อให้ยังคงมีกระแสไฟหล่อเลี้ยงอุปกรณ์ก่อนที่จะปิดเครื่อง
    ทำให้ลดอัตราเสียของอุปกรณ์ลง โดยมีรุ่นต่างๆ ดังนี้
    • ATX 2.01 แบบ PS/2 ใช้กับคอมพิวเตอร์ทั่วๆไปที่ใช้ตัวถังแบบ ATX สามารถใช้ได้กับเมนบอร์ดแบบ ATX และ Micro ATX
    • ATX 2.03 แบบ PS/2 ใช้กับคอมพิวเตอร์แบบ Server หรือ Workstation
      ที่ใช้ตัวถังแบบ ATX (สังเกตว่าจะมีสายไฟเพิ่มอีกหนึ่งเส้น ที่เรียกว่า
      AUX connector)
    • ATX 2.01 แบบ PS/3 ใช้กับคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตัวถังแบบ Micro ATX และเมนบอร์ดแบบ Micro ATX เท่านั้น

ส่วนต่างๆ ของพาวเวอร์ซัพพลาย

  • ไฟกระแสสลับขาเข้า (AC Input) พลังงานไฟฟ้าในส่วนนี้ จะมาจากปลั๊กไฟ
    โดยที่รู้แล้วว่าไฟที่ใช้กันอยู่จะเป็นไฟฟ้ากระแสสลับที่มีขนาดแรงดัน 220v
    ความถี่ 50 Hz
    เมื่อเสียบปลั๊กไฟกระแสไฟฟ้าก็จะวิ่งตามตัวนำเข้ามายังเครื่องใช้ไฟฟ้า
  • ฟิวส์
    (Fuse)
    เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการป้องกันวงจรพาวเวอร์ซัพพลายทั้งหมดให้รอดพ้น
    อันตราย จากกระแสไฟแรงสูงที่เกิดขึ้นจากการถูกฟ้าผ่า
    หรือกระแสไฟฟ้าแรงสูงในรูปแบบต่างๆ
    โดยหากเกิดกระแสไฟฟ้าแรงสูงเกินกว่าที่ฟิวส์จะทนได้
    ฟิวส์ตัวนี้ก็จะตัดในทันทีทันใด
  • วงจรกรองแรงดัน วงจรกรองแรงดันนี้จะทำหน้าที่กรองแรงดันไฟไม่ว่าจะเป็นแบ หรือกระแสตรงก็ตาม ที่เข้ามาให้มีความบริสุทธิ์จริงๆ เพื่อป้องกันแรงดันไฟฟ้าที่ผิดปกติเช่นไฟกระชาก ซึ่งจะเป็นผลให้วงจรต่างๆ ในพาวเวอร์ซัพพลายเกิดความเสียหาย กระแสสลับขึ้นได้
  • ภาคเรคติไฟเออร์ (Rectifier) หลังจากที่ไฟกระแสสลับ 220v
    ได้วิ่งผ่านฟิวส์
    และวงจรกรองแรงดันเรียบร้อยแล้วก็จะตรงมายังภาคเรคติไฟเออร์
    โดยหน้าที่ของเจ้าเรคติไฟเออร์ ก็คือ การแปลงไฟกระแสสลับ
    ให้มาเป็นไฟกระแสตรง ซึ่งก็ประกอบไปด้วย
    • ตัวเก็บประจุ (Capacitor) จะทำหน้าที่ทำปรับให้แรงดันไฟกระแสตรงที่ออกมาจากบริดเรคติไฟเออร์ ให้เป็นไฟกระแสตรงที่เรียบจริงๆ
    • ได
      โอดบริดจ์เรคติไฟเออร์ (Bridge Rectifier) ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของตัว IC
      หรือแบบที่นำไดโอด 4 ตัวมาต่อกันให้เป็นวจรบริดจ์เรคติไฟเออร์
    • วงจรสวิตชิ่ง (Switching) เป็นวงจรที่ใช้ในการทำงานร่วมกับวงจรควบคุม
      (Contrlo Circuit)
      เพื่อตรวจสอบว่าควรจะจ่ายแรงดันทั้งหมดให้กับระบบหรือไม่
      โดยถ้าวงจรควบคุมส่งสัญญาณมาให้กับวงจรสวิตซิ่งว่าให้ทำงาน
      ก็จะเริ่มจ่ายแรงดันไฟฟ้าที่ได้จากภาคเรคติไฟเออร์ไปให้กับหม้อแปลงต่อไป
  • หม้อแปลงไฟฟ้า
    (Transformer)
    หม้อแปลงที่ใช้ในวงจรสวิตชิ่งซัพพลายจะเป็นหม้อแปลงที่มีหน้าที่ในการแปลงไฟ
    ที่ได้จากภาคสวิตชิ่ง ซึ่งก็รับแรงดันไฟมาจากภาคเรติไฟเออร์อีกต่อหนึ่ง
    โดยแรงดันไฟฟ้ากระแสงตรงที่มีค่าแรงดันสูงขนาดประมาณ 300 v
    ดังนั้นหม้อแปลงตัวนี้ก็จะทำหน้าที่ในการแปลงแรงดันไฟกระแสตรงสูงนี้ให้มี
    ระดับแรงดันที่ลดต่ำลงมา เพื่อที่จะสามารถใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
    ก่อนที่จะส่งไปให้วงจรควบคุมแรงดันต่อไป
  • วงจรควบคุมแรงดัน (Voltage Control)
    เป็นวงจรที่จะกำหนดค่าของแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่ได้รับมาจากหม้อแปลงไฟฟ้า
    เพื่อที่จะให้ได้ระดับแรงดันที่เหมาะสมกับอุปกรณ์ต่างๆ
    โดยค่าของระดับแรงดันไฟฟ้านี้ก็จะมีขนาด 5v และ 12v
    สำหรับพาวเวอร์ซัพพลายที่ใช้กับเมนบอร์ดแบบ AT
    แต่ถ้าเป็นพาวเวอร์ซัพพลายที่ใช้กับเมนบอร์ดที่เป็นแบบ ATX
    ก็จะต้องมีวงจรควบคุมแรงดันให้ออกมามีขนาด 3.3v เพิ่มอีกหนึ่ง
    (ซึ่งซีพียูรุ่นเก่าที่ใช้แรงดันไฟขนาด 3.3 v
    นี้ก็สามารถที่จะดึงแรงดันไฟในส่วนนี้ไปเลี้ยงซีพียูได้เลย)
  • วงจรควบคุม เป็นวงจรที่ใช้ในการควบคุมวงจรสวิตชิ่ง
    ว่าจะให้ทำการจ่ายแรงดันไปให้กับหม้อแปลงหรือไม่
    และแน่นอนว่าในส่วนนี้จะทำงานร่วมกับวงจรลอจิกที่อยู่บนเมนบอร์ด
    เมื่อวงจรลอจิกส่งสัญญาณกลับมาให้แก่วงจรควบคุม
    วงจรควบคุมก็จะสั่งการให้วงจรสวิตชิ่งทำงาน

หลักการทำงานของพาวเวอร์ซัพพลาย

พาวเวอร์ซัพพลาย ทั้งแบบ AT และ ATX นั้นมีลักษณะการทำงานที่เหมือนกัน
คือรับแรงดันไฟจาก 220-240 โวลต์ โดยผ่านการควบคุมด้วยสวิตช์ สำหรับ AT
และเมนบอร์ด แล้วส่งแรงดันไฟส่วนหนึ่งกลับไปที่ช่อง AC output
เพื่อเลี้ยงตัวมอนิเตอร์ และจะส่งแรงดันไฟ 220 โวลต์
อีกส่วนหนึ่งเข้าสู่หน่วยการทำงานที่ทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟสลับ 220 โวลต์
ให้เป็นไฟกระแสตรง 300 โวลต์ โดยไม่ผ่านหม้อแปลงไฟ ระบบนี้เรียกว่า
(Switching power supply )
และผ่านหม้อแปลงที่ทำหน้าที่แปลงไฟตรงสูงให้เป็นไฟตรงต่ำ
โดยจะฝ่านชุดอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่กำหนดแรงดันไฟฟ้าอีกชุดหนึ่งแบ ่งให้เป็น
5 และ 12 ก่อนที่จะส่งไปยังสายไฟและตัวจ่ายต่างๆ โดยความสามารถพิเศษของ
Switching power supply ก็คือ มีชุด Switching
ที่จะทำการตัดไฟเลี้ยงออกทันทีเมื่อมีอุปกรณ์ที่โหลดไฟตัวใดตัว
หนึ่งชำรุดเสียหาย หรือช็อตนั่นเอง

 http://th.wikipedia.org/wiki/

 ซาวด์ การ์ด (Sound Card)

 

การ์ดเสียง
ที่จะช่วยให้คุณฟังเพลง ดูหนัง เล่นเกม บันทึกเสียงเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้
แม้เมนบอร์ดส่วนใหญ่ จะรวมเอาการ์ดเสียงเป็นชุดเดียวกับเมนบอร์ด (Sound on
Board) แต่ถ้าหากต้องการคุณภาพเสียงที่ดีกว่า หรือต้องการใช้งานด้านตนตรี
ตัดต่อวิดีโอ ฟังเพลง ดูหนัง ที่ได้อารมณ์สุดๆ ก็ควรเลือกการ์ดเสียงที่ทำเป็นการ์ด
แยกต่างหาก ตัวอย่างการ์ดที่ได้รับความนิยมก็เช่น Creative SoundBlaster
Live, Audigy

 

http://www.zabzaa.com/hardware

 

 

 Display Card (การ์ดแสดงผล)

หลักการทำงานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น
เมื่อโปรแกรมต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล
เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนำมาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล
จากนั้น การ์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา
การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมีวงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ
และมีหน่วยความจำมาให้มากพอสมควร





หน่วยความจำ



      การ์แสดงผลจะต้องมีหน่วยความจำที่เพียงพอในการใช้งาน
เพื่อใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่ได้รับมาจากซีพียู และสำหรับการ์ดแสดงผล
บางรุ่น ก็สามารถประมวลผลได้ภายในตัวการ์ด โดยทำหน้าที่ในการ
ประมวลผลภาพ แทนซีพียูไปเลย ช่วยให้ซีพียูมีเวลาว่ามากขึ้น
ทำงานได้เร็วขึ้น



      เมื่อได้รับข้อมูลจากซีพียูมาการ์ดแสดงผล
ก็จะเก็บข้อมูลที่ได้รับมาไว้ในหน่วยความจำส่วนนี้นี่เอง
ถ้าการ์ดแสดงผล มีหน่วยความจำมากๆ ก็จะรับข้อมูลมาจากซีพียูได้มากขึ้น
ช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพ มีความเร็วสูงขึ้น และหน่วยความจำที่มีความเร็วสูงก็ยิ่งดี
เพราะจะมารถรับส่งข้อมูลได้เร็วขึ้น ยิ่งถ้าข้อมูล
ที่มาจากซีพียู มีขนาดใหญ่ ก็ยิ่งต้องใช้หน่วยความจำที่มีขนาดใหญ่ๆ
เพื่อรองรับการทำงานได้โดยไม่เสียเวลา ข้อมูลที่มี
ขนาดใหญ่ๆ นั่นก็คือข้อมูลของภาพ ที่มีสีและความละเอียดของภาพสูงๆ


ความละเอียดในการแสดงผล



       การ์ดแสดงผลที่ดีจะต้องมีความสามารถในการแสดงผลในความละเอียดสูงๆ
ได้เป็นอย่างดี ความละเอียดในการแสดงผลหรือ Resolution
ก็คือจำนวนของจุดหรือพิเซล (Pixel) ที่การ์ดสามารถนำไป
แสดงบนจอภาพได้ จำนวนจุดยิ่งมาก ก็ทำให้ภาพที่ได้
มีความคมชัดขึ้น ส่วนความละเอียดของสีก็คือ ความสามารถในการแสดงสี
ได้ในหนึ่งจุด จุดที่พูดถึงนี้ก็คือ จุดที่ใช้ในการแสดงผล
ในหน้าจอ เช่น โหมดความละเอียด 640x480 พิกเซล ก็จะมีจุดเรียงตามแนวนอน
640 จุด และจุดเรียงตามแนวตั้ง 480 จุด



      โหมดความละเอียดที่เป็นมาตราฐานในการใช้งานปกติก็คือ
640x480 แต่การ์ดแสดงผลส่วนใหญ่ สามารถที่จะแสดงผลได้หลายๆ
โหมด เช่น 800x600, 1024x768 และการ์ดที่มีประสิทธิภาพสูงก็จะ
สามารถแสดงผลในความละเอียด 1280x1024 ส่วนความละเอียดสก็มี
16 สี, 256 สี, 65,535 สี และ 16 ล้านสีหรือมักจะเรียกกันว่า
True Color


อัตราการรีเฟรชหน้าจอ



      การ์ดแสดงผลที่มีประสิทธิภาพ
จะต้องมีอัตราการรีเฟรชหน้าจอได้หลายๆ อัตรา อัตราการรีเฟรชก็คือ
จำนวนครั้งในการกวาดหน้าจอ ใหม่ในหนึ่งวินาที ถ้าหากว่าอัตรารีเฟรชต่ำ
จะทำให้ภาพบนหน้าจอ มีการกระพริบ ทำให้ผู้ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์
เกิดอาการล้า ของกล้ามเนื้อตา และอาจทำให้เกิดอันตราย
กับดวงตาได้



     อัตราการรีเฟรชในปัจจุบันมีมากกว่า
100 เฮิรตซ์ ขึ้นอยู่กับยี้ห้อของการ์ดแสดงผล ถ้าใช้จอภาพขนาดใหญ่
อัตรารีเฟรชยิ่งต้องเพิ่มมากขึ้น อัตรารีเฟรชยิ่งมากก็ยิ่งดี

http://www.bcoms.net/hardware/diskplaycard.asp

 

จอภาพ (Monitor) 


 จอภาพ (Monitor) เป็น
ส่วนประกอบที่ใช้แสดงผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
ลักษณะของจอภาพที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์คล้ายกับจอโทรทัศน์
เพียงแต่จอภาพจะใช้รับสัญญาณภาพจากการ์ดแสดงผลของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง
จอภาพมีอยู่
2 แบบคือ แบบหลอดภาพ CRT ซึ่งจะ
เหมือนกับจอภาพของโทรทัศน์ จอภาพแบบนี้ปัจจุบันเริ่มได้รับความนิยมน้อยลง
เพราะมีขนาดใหญ่ น้ำหนักมาก
ทั้งยังมีรังสีออกมาจากจอภาพและเกิดความร้อนสูงขณะใช้งาน ส่วนอีกแบบคือ
LCD ซึ่งมีขนาดเล็กและบางกว่าแบบ CRT จอ LCD จึงใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยกว่าและยังช่วยถนอมสายตาของผู้ใช้

ส่วนประกอบของจอภาพ
   จอ
ภาพประกอบไปด้วยส่วนของจอที่ใช้แสดงผล และปุ่มควบคุมการทำงาน
สำหรับจอภาพทั่วไปจะมีปุ่มเปิด/ปิด
และปุ่มเมนูทำงานร่วมกับปุ่มลูกศรเพื่อใช้ปรับแต่งการแสดงผลของจอภาพ
แต่สำหรับจอภาพแบบ
LCD จะมีปุ่ม Auto เพื่อเรียกใช้คุณสมบัติในการปรับแต่งการแสดงผลให้เหมาะสมโดยอัตโนมัติ

          
 
   1. จอภาพแสดงผล เป็นส่วนพื้นที่ของการแสดงผลของจอภาพ ซึ่งพื้นที่ในการแสดงผลขึ้นอยู่กับขนาดของจอภาพและประเภทของจอภาพด้วย เช่น จอภาพ CRT จะมีขนาดการแสดงผลน้อยกว่าค่าจริง 1 นิ้ว เช่น จอ CRT 17 นิ้วจะแสดงผลได้จริงเพียง 16 นิ้ว ในขณะที่จอภาพ LCD 17 นิ้วจะสามารถแสดงผลได้เต็ม 17 นิ้ว
   2. ปุ่มควบคุม ใช้สำหรับควบคุมการแสดงผลบนจอภาพให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และความต้องการของตัวผู้ใช้ โดยเฉพาะจอภาพแบบ LCD จะมีปุ่ม Auto สำหรับปรับตั้งค่าของจอภาพให้เหมาะสมกับการแสดงผลโดยอัตโนมัติ         
   3. หัวต่อ D-Sub เป็นหัวต่อสำหรับจอภาพที่นิยมใช้งานในปัจจุบันหัวต่อแบบนี้จะส่งสัญญาณอะนาล็อก (Analog) ที่ถูกแปลงจากการ์ดแสดงผลไปยังจอภาพ
   4. หัวต่อ DVI เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการส่งสัญญาณจากการ์ดแสดงผลไปยังจอภาพในรูปแบบดิจิตอล (Digital) โดยตรง ทำให้สัญญาณที่ได้มีความคมชัดมากกว่าอะนาล็อก ซึ่งหัวต่อ DVI จะใช้กับจอภาพแบบ LCD เท่านั้น (ในรูปไม่แสดงช่องเสียบสัญญาณ DVI)
   5. หัวต่อสายไฟฟ้า  คือ หัวต่อสายไฟสำหรับเสียบเข้ากับเต้าเสียบของไฟบ้านหรือสำนักงาน เพื่อให้จอภาพสามารถทำงานได้
 
 
 
 
 เมนบอร์ด (Mainboard)
 
 

เป็นหัวใจสำคัญที่สุดที่อยู่ภายในเครื่อง
เมื่อเปิดฝาเครื่องออกมาจะเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่วางนอนอยู่ นั่นคือส่วนที่เรียกว่า
"เมนบอร์ด"

ส่วนประกอบหลักที่สำคัญบนเมนบอร์ดคือ

  ซ็อคเก็ตสำหรับซีพียู
  ชิปเซ็ต
(Chip set)
  ซ็อคเก็ตสำหรับหน่วยความจำ
  ระบบบัสและสล็อต
  Bios
  สัญญาณนาฬิกาของระบบ
  ถ่านหรือแบตเตอรี่
  ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ
  ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง
  จัมเปอร์สำหรับกำหนดการทำงานของเมนบอร์ด
  ขั้วต่อ
IDE
  ขั้วต่อ
Floppy disk drive
  พอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน
  พอร์ตคีย์บอร์ดและเมาส์
  พอร์ต
USB


แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ที่อยู่บนเมนบอร์ด
แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ
ที่อยู่บนเมนบอร์ด
ECS
P6VPA2


เมนบอร์ดที่ติดตั้งบนแผ่นรองก่อนประกอบเข้าตัวเครื่อง
เมนบอร์ดที่ติดตั้งในตัวเครื่องได้เลย
เมนบอร์ดที่ติดตั้งบนแผ่นรองก่อนประกอบเข้าตัวเครื่อง
เมนบอร์ดที่ติดตั้งในตัวเครื่องได้เลย

การพิจารณาคุณสมบัติของเมนบอร์ด


   

  ประเด็นสำคัญในการเลือกเมนบอร์ดที่ดีในปัจจุบันคือสิ่งต่าง
ๆ ต่อไปนี่

Form Factors
หมายถึงลักษณะโครงสร้างของเมนบอร์ด ทั้งรูปร่างและขนาด
ซึ่งแต่เดิมจะเป็นแบบที่เรียกว่า AT หรือไม่ก็แบบ Baby AT (คือ AT
ที่ลดความยาวลงมาในขณะที่ความกว้างเท่าเดิม) ส่วนมาตรฐานใหม่คือ ATX
ซึ่งเป็น Baby AT ที่กลับทางจากเดิม
คือมีการวางแนวสล็อตและหน่วยความจำใหม่ให้อยู่ใกล้ ๆ
กันจะได้ทำงานร่วมกันได้เป็นอย่างดีไม่มีปัญหา
รวมทั้งการระบายความร้อนก็ดีขึ้นเนื่องจากกำหนดให้อยู่ใกล้กับแหล่งจ่ายไฟที
มีพัดลมอยู่ (ตัวเครื่องหรือ Case ก็จะต้องเป็นแบบ ATX
ด้วยจะใส่กันได้ลงตัว)
รวมทั้งขั้วต่อแหล่งจ่ายไฟแบบใหม่ที่ดีกว่าเดิมแนวโน้มในอนาคตจึงควรเลือก
ใช้เมนบอร์ดแบบ ATX โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับซีพียู

ความเร็วสูง ๆ
     Bios
ควรจะเป็น flash BIOS ซึ่งสามารถ upgrade ได้เสมอด้วยซอฟต์แวร์ โดยไม่ต้องมีการเปลี่ยนชิป
      มีซอฟต์แวร
สำหรับดาวน์โหลดมา Upgrade ระบบปฏิบัติการที่ใช้งานอยู่ เพื่อแก้ข้อผิดพลาดหรือเพิ่มเติมส่วนที่ยังไม่มีรองรับในระบบปฏิบัติการ
เช่น ใน Windows 95 ยังไม่มีไดรเวอร์สำหรับอุปกรณ์ UDMA (Ultra DMA)
และ USB (Universal Serial Bus) ซึ่งเมนบอร์ดที่ดีควรจะมีไดรเวอร์เหล่านี้มาให้หรือให้ดาวน์โหลดได้ด้วย
     มีคู่มือที่ดี
ซึ่งเป็นสิ่งทีสำคัญมากของเมนบอร์ด เพราะถ้าไม่มีก็แทบไม่อาจจะ

เปลี่ยนแปลงแก้ไขตัวเลือกต่าง ๆ ได้เลย เมื่อต้องการเพิ่มอุปกรณ์ใหม่ ๆ เข้ามาหรือ

เปลี่ยนแปลงส่วนประกอบต่างๆ เช่นเพิ่ม RAM หรือเปลี่ยนซีพียู (เพราะจะไม่

สามารถกำหนดการทำงานให้ตรงกับที่ต้องการได้ทั่งนี้รวมถึงการ Overclock ด้วย

นอกจากนี้ถ้าคู่มือมีรายการข้อผิดพลาดต่าง ๆ ที่แสดงด้วยเสียงก็จะยิ่งดีเพราะเป็น

สิ่งที่ไม่ค่อยมีมาตรฐานและจำเป็นสำหรับเวลาที่มีปัญหาเกิดขึ้นจะได้วิเคราะห์ได้ตรงจุด
      มีข้อมูลสำหรับการ
Upgrade เมนบอร์ด
เพื่อให้สามารถใช้กับส่วนประกอบใหม่ ๆ ได้
เช่น เมื่อตอนเริ่มแรกอาจไม่รองรับ Pentium III เพราะยังไม่มีอยู่ แต่ในอนาคตควรจะมีวิธีปรับให้เหมาะสมได้
ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ควรจะได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ
      ซีพียูเลือกว่าจะใช้ซีพียูชนิดใด
เนื่องจากซีพียูเป็นตัวกำหนดซ็อคเก็ตที่จะต้องใช้บนเมนบอร์ดจึงต้องเลือกก่อน
ปัจจุบัน Pentium II, Pentium III, Celeron, AMD K6-2 และ AMD K7 Athlon
เป็นตัวเลือกที่เหมาะสมที่สุด ขึ้นอยู่กับความต้องการและงบประมาณที่จ่ายได้
ข้องแนะนำในตอนนี้ก็คือ

Pentium
II และ Pentium III
จะต้องเลือกเมนบอร์ดที่ใช้ซ็อคเก็ต
Slot 1 และชิปเซ็ต 440BX
Celeron
ควรใช้
i810 ที่มีทุกอย่างอยู่ในตัว เนื่องจากถ้าเลือกซีพียูรุ่นนี้ก็คือเน้นที่ประหยัดอยู่แล้ว
และ i810 ก็คือรุ่นล่าสุดที่ออกมาสำหรับ Celeron โดยเฉพาะ
Pentium
III
ควรจะใช้
i820 จะเหมาะสมที่สุด
AMD
K6-2
จะต้องใช้เมนบอร์ดที่มีซ็อคเก็ต
Super 7 ซึ่งมีชิปเซ็ตมากมายให้เลือก ทั้งจาก SiS, ALI Aladdin
และ VIA Apollo
AMD
Atholn
ก็ต้องใช้เมนบอร์ดและชิปเว็ตสำหรับ
Atholn โดยเฉพาะ
Pentium
II Xeon
ซึ่งใช้เป็นเซิอร์ฟเวอร์มีแคชระดับสองมากหน่อย
(1 หรือ 2 MB) ส่วนจะมีช่องเสียบซีพียูทีสอง (แบบ SMP) หรือไม่ก็ต้องแล้วแต่ความต้องการ


     RAM
ควรเลือกเมนบอร์ที่สามารถใช้ 64 บิต 168 pin ได้ เนื่องจากเป็นหน่วยความจำชนิดที่มีความเร็วสูงสุดและราคาถูกในขณะนี้
แต่ถ้าจำเป็นจะต้องใช้ EDO RAM หรือ DRAM แบบ 72 pin ที่มีอยู่แล้วก็อาจจะเลือกที่มีสล็อตทั้งสองแบบ
ซึ่งปัจจุบันก็มีให้เลือกไม่มากนัก จึงควรตัดใจทิ้ง RAM เก่าไปเสียจะดีกว่า
ถ้าเป็นไปได้ควรจะเลือก 100 MHz (10 ns) หรือเร็วกว่านี้เนื่องจากแนวโน้มบัส
66 MHz กำลังจะหมดไปในอีกไม่ช้านี้ และ EDO RAM ก็ไม่สามารถทำงานที่ความเร็วสูงกว่า
66 MHz ด้วย
     AGP
เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการแสดงผลความเร็วสูง ควรจะเลือกเมนบอร์ดที่มีสล็อตแบบนี้ด้วยเสมอ
ส่วนความเร็ว (2x, 4x) ก็แล้วแต่ความต้องการใช้งานและชิปเซ็ตที่ใช้ด้วย
     PCI
เป็นสล็อตที่จำเป็นอย่างยิ่ง มียิ่งมากได้ก็ยิ่งดี เว้นแต่ว่าจะต้องใช้การ์ดที่เป็น
ISA ด้วยก็จะต้องเลือกให้มีสล็อต ISA มากพอกับจำนวนการ์ดที่ต้องการใช้

     ACPI
ปัจจุบันเมนบอร์ดทั้งหมดควรจะมีมาตรฐาน ACPI
อยู่แล้วซึ่งนอกจากประหยัดพลังงานได้เป็นอย่างดีแล้วยังสามารถติดตั้ง
อุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่ายอีกด้วย

 

http://kroo.ipst.ac.th/wkv/mainboard.html

 

 

ฟล็อปปี้ดิสก์
(Floppy
Disk)

 


               
ฟล็อปปี้ดิสก์เป็นอุปกรณ์เก่าแก่ที่มีมานานับสิบปี ตั้งแต่ก่อนยุคของพีซี
เริ่มจากขนาด 8 นิ้ว กลายมาเป็น 5.25 นิ้ว และในที่สุดก็มาหยุดอยู่ที่ 3.5 นิ้ว
ความจุก็ได้เพิ่มจากไม่กี่ร้อยกิโลไบต์มาเป็น 1.44 และ 2.88 เมกะไบต์ในปัจจุบัน
สมัยก่อนโปรแกรมมีขนาดไม่ใหญ่นัก ใช้เนื้อที่จุภายในดิสก์ไม่กี่กิโลไบต์ แต่ปัจจุบันข้อมูลมีปริมาณมากขึ้นพร้อม
ๆ กับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เช่นไฟล์เพลง
MP3 เพียง
1 เพลงก็มีขนาดมากกว่า 3 เมกะไบต์แล้ว ทำให้ความจุของดิสก์ไม่เพียงพอกับความต้องการในปัจจุบัน
แต่ฟล็อปปี้ดิสก์ก็ยังคงเป็นมาตรฐานหนึ่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมี
การพัฒนาฟล็อปปี้ดิสก์ก็ไม่ได้หยุดยั้งไปเสียทีเดียว ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ระบบ  
optical ทำให้สามารถขยายความจุไปได้ถึง
120 เมกะไบต์ต่อแผ่น
 

ระบบการทำงานของฟล็อปปี้ดิสก์       

                         กลไกการทำงานของฟล็อปปี้ดิสก์จะค่อนข้างง่ายเมื่อเทียบกับฮาร์ดดิสก์
โดยตัวจานหมุนจะเป็นวัสดุที่อ่อนนิ่ม เช่น ไมลาร์(
Mylar) ที่เป็นพลาสติกสังเคราะห์เคลือบสารแม่เหล็กเอาไว้
ในดิสก์ 1 แผ่นจะมีจานเดียว หัวอ่านจะเลื่อนเข้าไปอ่านข้อมูล เริ่มแรกสามารถอ่านข้อมูลได้เพียงด้านเดียว
ต่อมามีการพัฒนาให้สามารถอ่านข้อมูลได้ทั้ง 2 ด้าน เรียกว่า
Double-sided
 หัว
อ่านจะสัมผัสกับแผ่นดิสก์โดยตรง ทำให้ต้องใช้ความเร็วหมุนจานที่ต่ำ
คือประมาณ 300 รอบต่อนาทีเท่านั้น (เทียบกับ 7200
รอบต่อนาทีที่เป็นมาตรฐานของฮาร์ดดิสก์ในปัจจุบัน)
และเนื่องจากหัวอ่านสัมผัสกับแผ่นดิสก์โดยตรง ทำให้แผ่นมีการสึกหรอได้ง่าย
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจะมีการส่งสัญญาณไปเปลี่ยนแปลงค่าสนามแม่เหล็ก
ที่หัวอ่าน
 

 

 
 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 439 คน กำลังออนไลน์