• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3f2379ba812e7037294445e948f79aad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"font-size: large; color: #00ccff\"> น<span style=\"color: #ff00ff\">โ</span>ย<span style=\"color: #ff00ff\">บ</span>า<span style=\"color: #ff00ff\">ย</span>ก<span style=\"color: #ff00ff\">า</span>ร<span style=\"color: #ff00ff\">ต่</span>า<span style=\"color: #ff00ff\">ง</span>ป<span style=\"color: #ff00ff\">ร</span>ะเ<span style=\"color: #ff00ff\">ท</span>ศ </span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #00ccff\"><span><span style=\"color: #ff00ff\">ส</span>มั<span style=\"color: #ff00ff\">ย</span></span><span>รั<span style=\"color: #ff00ff\">ฐ</span>บ<span style=\"color: #ff00ff\">า</span>ล<span style=\"color: #ff00ff\">พ</span>.ต.<span style=\"color: #ff00ff\">ท.</span>ทั<span style=\"color: #ff00ff\">ก</span>ษิ<span style=\"color: #ff00ff\">ณ</span> ชิ<span style=\"color: #ff00ff\">น</span>วั<span style=\"color: #ff00ff\">ต</span>ร</span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-size: large; color: #00ccff\"></span></strong>\n</p>\n<blockquote><p align=\"left\">\n <span style=\"font-size: large; color: #0000ff; background-color: #00ffff\">1. มุ่งดำเนินนโยบายการต่างประเทศโดยเน้นการทูตเชิงรุกด้าย   เศรษฐกิจประกอบกับการทูตในด้านต่างๆ เพื่อฟื้นฟูและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งแสวงหาความร่วมมือระหว่างประเทศในทุกด้าน                                                        </span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"font-size: large; color: #0000ff; background-color: #00ffff\">2. ยึดหลักการดำเนินงานด้านความมั่นคง การพัฒนาและการสร้างสันติภาพระหว่างประเทศ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมภายใต้กรอบ แห่งสหประชาชาติและองค์กรระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องซึ่ง ประเทศไทยเป็นสมาชิก</span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"font-size: large; color: #0000ff; background-color: #00ffff\">3. เพิ่มบทบาทเชิงรุกในสังคมระหว่างประเทศ โดยริเริ่มการขยายความร่วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนไปยังภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และภูมิภาคอื่นๆ ให้ใกล้ชิกยิ่งขึ้น รวมทั้งจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสานให้เกิดความร่วมมือเพื่อดำรงสันติภาพและระงับความขัดแย้งระหว่างประเทศในภูมิภาค</span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"font-size: large; color: #0000ff; background-color: #00ffff\">4. ส่งเสริม รักษา และคุ้มครองสิทธิและผลประโยชน์ของประเทศรวมทั้งของภาคเอกชนไทยแรงงานไทย และคนไทยในต่างประเทศ</span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"font-size: large; color: #0000ff; background-color: #00ffff\">5. ฟื้นฟูและกระชับความสัมพันธ์และความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในภูมิภารเอเชียอย่างเร่งด่วน ด้วยการสานต่อหรือริเริ่มความสัมพันธ์และความร่วมมือเพื่อการพัฒนาในทุกด้าน ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคื เพื่อนำมาซึ่งความเข้าใจอันดีระหว่งกันในการแก้ไขปัญหาและการแสวงหาผลประโยชน์ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ จริงใจ และโดนสันติวิธีในทุกด้าน</span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #000000\"><b><u><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประเมิน </span></u></b><b><u><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">ปี นโยบายต่างประเทศรัฐบาลทักษิณ รูปธรรมของการทูตเชิงรุกด้านเศรษฐกิจ(</span>1)</span></u></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การเจรจาเขตการค้าเสรี(</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">Free Trade Agreement FTA) <o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">FTA <span lang=\"TH\">เป็นยุทธศาสตร์ของรัฐบาล ที่มอบให้ทุกส่วนราชการที่เกี่ยวข้องร่วมกันปฏิบัติ โดยมีกระทรวงการต่างประเทศเป็นผู้นำเคาะประตูประเทศต่างๆ ในการเจรจากรุยทาง เพื่อนำไปสู่ความเห็นพ้องร่วมกันก่อนที่จะจัดทำข้อตกลงฯ หลังจากนั้น จะมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นผู้เจรจาในรายละเอียด โดยมีกระทรวงพาณิชย์ หรือกระทรวงการต่างประเทศ เป็นเจ้าภาพหลักในการเจรจารายละเอียดของสินค้าและบริการ และมีผู้แทนของภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องร่วมในการเจรจา ที่ผ่านมา นายกรัฐมนตรีมอบรัฐมนตรีต่างประเทศไปอินเดียเพื่อกรุยทางเรื่องการจัดทำ </span>FTA <span lang=\"TH\">ไทย-อินเดีย รัฐมนตรีต่างประเทศได้หยิบยกเรื่อง </span>FTA <span lang=\"TH\">กับรัฐมนตรีต่างประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ </span>11-14 <span lang=\"TH\">ก.ค.</span>44 <span lang=\"TH\">จากนั้นในระหว่างการเยือนอินเดียอย่างเป็นทางการของท่านนายกรัฐมนตรีก็ได้เห็นชอบเรื่องนี้ กับท่านนายกรัฐมนตรีอินเดียเมื่อวันที่ </span>26-29 <span lang=\"TH\">พ.ย.</span>2544 <span lang=\"TH\">และ </span>1 <span lang=\"TH\">ก.พ.</span>2545 <span lang=\"TH\">กับญี่ปุ่นหลังจากได้ให้กระทรวงการต่างประเทศได้ทาบทามความเห็นฝ่ายญี่ปุ่นระยะหนึ่งแล้วท่านนายกรัฐมนตรีทั้งสองประเทศ ได้เห็นชอบให้มีการจัดทำ </span>FTA <span lang=\"TH\">ในกรอบที่เรียกว่า การประชุมคณะกรรมาธิการร่วม ไทย-ญี่ปุ่น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ หุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น(</span>Japan-Thailand Economic Partnership <span lang=\"TH\">หรือ </span>JTEP) <span lang=\"TH\">ในระหว่างที่นายกรัฐมนตรีทั้งสองพบกันที่เกาะไหหลำคราวเข้าร่วมประชุม </span>Boao Forum For Asia <span lang=\"TH\">เมื่อวันที่ </span>12 <span lang=\"TH\">เม.ย.</span>2545 <span lang=\"TH\">และเห็นชอบให้กระทรวงการต่างประเทศทั้งสองประเทศ เป็นผู้ประสานงานเตรียมการเจรจาอย่างเป็นทางการ ขณะนี้ คณะทำงานดังกล่าว ของฝ่ายไทยนำโดย อธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเปิดให้ภาคเอกชนและนักวิชาการเข้าร่วมด้วยนั้น จะพบกันที่กรุงโตเกียวเป็นรอบที่</span> 4 <span lang=\"TH\">คาดว่า การเจรจาอย่างเป็นทางการจะเริ่มในครึ่งหลังของปี และสิ้นสุดในปลายปีนี้ กับ บาห์เรน ออสเตรเลีย สหรัฐ ก็เป็นไปตามแนวทางที่ท่านนายกฯมอบไว้คือ รัฐมนตรีต่างประเทศเป็นผู้นำไปปฏิบัติในการทาบทามกรุยทาง เมื่อมีลู่ทางเป็นไปได้แล้วนายกรัฐมนตรีก็จะหารือเพื่อความเห็นชอบจากผู้นำประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบด้านการค้าก็จะเป็นเจ้าของเรื่อง เป็นผู้เจรจาในด้านเทคนิคพร้อมกับหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน </span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มีการฟื้นฟูและยกระดับความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้นโยบายขยายสัมพันธ์เชิงรุก(</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">Forward Engagement) <span lang=\"TH\">ซึ่งทำให้สถานะความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านพัฒนารุดหน้าในด้านต่างๆ เกิดความไว้วางใจและความร่วมมือที่เป็นรูปธรรม ตัวอย่างที่เห็นคือ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">กับพม่า รัฐบาลสามารถคลี่คลายสถานการณ์ความตึงเครียดบริเวณชายแดนและเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกันระหว่างผู้นำ จนนำไปสู่ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาอย่างใกล้ชิดระหว่างสองประเทศ เห็นได้จากการเยือนของบุคคลระดับสูงที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในช่วง </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">ปีที่ผ่านมา มีการลงนามบันทึกความเข้าใจ ด้านยาเสพติด สามารถเชิญชวนให้พม่าเข้าร่วมในกรอบความร่วมมือ </span>4 <span lang=\"TH\">ฝ่าย(ไทย พม่า จีน ลาว) และเมื่อเร็วๆ นี้ ในระหว่างการเยือนอินเดียอย่างเป็นทางการ ที่กรุงนิวเดลี </span>1 <span lang=\"TH\">ก.พ.</span>45 <span lang=\"TH\">อินเดียก็พร้อมเข้าร่วมด้วยอีกประเทศหนึ่ง มีความเห็นชอบกับพม่าในการสร้างสะพานแห่งที่ </span>2 <span lang=\"TH\">ข้ามแม่น้ำแม่สาย รัฐบาลไทยกำลังให้ความช่วยเหลือพม่า ทั้งแบบให้เปล่า และเงินกู้ในการเชื่อมเส้นทางทั้งจากแม่สอด เมียวดี-พะอัน รัฐมนตรีต่างประเทศได้เป็นผู้ริเริ่มร่วมกับรัฐมนตรีต่างประเทศพม่า และอินเดีย ในการจัดกรอบการประชุมเพื่อเชื่อมต่อเส้นทางระหว่างไทย-พม่า-อินเดีย อันจะเป็นส่วนสำคัญที่มาเชื่อมต่อ </span>East-West Corridor <span lang=\"TH\">ที่ไทยมีบทบาทสำคัญ นอกจากนี้ พม่ายังได้แสดงความขอบคุณไทยที่มีสิ่งที่ดีๆ ต่อการเสริมสร้างกระบวนการปรองดองแห่งชาติ และการพัฒนาเศรษฐกิจของพม่าอีกด้วย กับลาว และเวียดนาม มีการแก้อุปสรรคต่างๆ เพื่อเชื่อมต่อเส้นทางจากมุกดาหาร ไปออกทะเลจีนใต้ที่เมืองดานัง จนลงนามความตกลงต่างๆ เกี่ยวกับการก่อสร้างได้หมดแล้ว ในระหว่างการประชุมทั้งในกรอบคณะกรรมาธิการร่วม(</span>Joint Committee-JC) <span lang=\"TH\">และคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วม(</span>Joint Border Committee-JBC) <span lang=\"TH\">ร่วมกับประเทศลาวนั้น ทุกหน่วยงานยอมรับว่าเป็นไปได้ด้วยบรรยากาศที่เป็นมิตรและมีความร่วมมือ การเจรจาเส้นเขตแดนมีความคืบหน้า ในปีที่ผ่านมาสามารถจัดทำหลักเขตแดนได้เพิ่มขึ้นอีก </span>23 <span lang=\"TH\">หลัก ระยะทางประมาณ </span>109.5 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร ขณะนี้ได้ </span>171 <span lang=\"TH\">หลัก ระยะทาง </span>667 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร ของความยาวเขตแดนทางบก </span>702 <span lang=\"TH\">กิโลเมตร โดยทั้งสองฝ่ายมีแผนที่จะดำเนินการให้แล้วเสร็จทั้งหมดภายในปี </span>2546 <span lang=\"TH\">ซึ่งรวมถึงการสำรวจและจัดทำเขตแดนทางน้ำด้วย ไทยให้เงินกู้แก่ลาวในการสร้างทางเชื่อมเชียงของ ผ่านลาวไปสู่ยูนนาน ซึ่งเป็นโครงการที่ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย-</span>ADB <span lang=\"TH\">ยกย่องว่าเป็นตัวอย่างของความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง(</span>GMS) <span lang=\"TH\">และลาวให้ความร่วมมือแข็งขันในการเชื่อมต่อการขนส่งและการท่องเที่ยวผ่านทางแม่น้ำโขง นอกจากนี้ ลาวขยายเวลาเปิดสะพานข้ามแม่น้ำโขงที่หนองคายอีก </span>2 <span lang=\"TH\">ชั่วโมงอีกด้วย กระทรวงการต่างประเทศเป็นผู้ผลักดันในการจัดสร้างศูนย์ส่งเสริมการส่งออกสินค้าลาวที่เวียงจันทน์ เพื่อขยายความร่วมมือทางการค้าสองฝ่ายให้มากยิ่งขึ้น และไทยให้ความช่วยเหลือในการสร้างหอพักนอนของนักเรียนที่โรงเรียนบ่อแก้ว แขวงไชยะบุรี เพื่อส่งเสริมมิตรภาพในระดับประชาชนให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น กับกัมพูชา นอกเหนือจากการที่สมเด็จนโรดมสีหนุได้พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์สหไมตรี ให้แก่ ท่านนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีต่างประเทศ ในฐานะบุคคลที่ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศทั้งสอง เมื่อ </span>11 <span lang=\"TH\">ต.ค.</span>44 <span lang=\"TH\">แล้ว ไทย-กัมพูชา ยังมีความร่วมมือที่แสดงถึงพัฒนาการของความสัมพันธ์ในมิติใหม่ๆ เห็นได้จากผลการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมเมื่อวันที่ </span>6-7 <span lang=\"TH\">ธ.ค.</span>2544 <span lang=\"TH\">ไทยกับกัมพูชาเริ่มมีการตั้งคณะกรรมการเจรจาเขตทับซ้อนทางทะเลอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรก โดยมีทั้งระดับรัฐมนตรี และระดับเจ้าหน้าที่เทคนิค ซึ่งกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กับกระทรวงอุตสาหกรรม รับผิดชอบอยู่ กัมพูชายังเป็นประเทศแรก ในบรรดาประเทศเพื่อนบ้านที่ลงนามในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจแบบครอบคลุมครบวงจร ซึ่งจะเป็นรูปแบบที่ไทยที่จะเสนอกับประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ นอกจากนี้ กัมพูชาเป็นประเทศที่ไทยให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ ทุนฝึกอบรมผ่านกรมวิเทศสหการเป็นจำนวนมาก ในด้านการสร้างและซ่อมถนน ฝ่ายไทยให้ความช่วยเหลือ สำหรับเส้นทางตราด-เกาะกง-สแรอัมเปิล การตัดถนนผ่านช่องสะงำผ่านศรีสะเกษมาที่เมืองเสียมราฐ กล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์ทั้งในภาพรวม และระดับต่างๆ เป็นไปอย่างแน่นแฟ้น ส่วนเหตุการณ์การเผาสถานทูต และทรัพย์สินของเอกชนไทยในกรุงพนมเปญนั้น ผู้เขียนบทความซึ่งเป็นอาจารย์ทางด้านรัฐศาสตร์ และอดีตข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศ น่าจะทราบดีว่า มีสาเหตุมาจากการเมืองภายในของกัมพูชาเอง มิได้เป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย แต่อย่างไรก็ตาม รัฐบาลได้ดำเนินการทางทูตอย่างรวดเร็วและเต็มที่ในการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นในภาครัฐและเอกชนไทย และให้ความช่วยเหลือคนไทยที่อาศัยอยู่ในกัมพูชาให้เดินทางกลับประเทศไทยได้อย่างปลอดภัย </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความร่วมมือในกรอบเอเชีย(</span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">ACD) <o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มีความคืบหน้าชัดเจนนับตั้งแต่การประชุมระดับรัฐมนตรีต่างประเทศ ครั้งแรกเมื่อวันที่ </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">18 <span lang=\"TH\">มิ.ย.</span>2545 <span lang=\"TH\">ที่ อ.ชะอำ ทั้งในส่วนของการหารือระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศ </span>ACD <span lang=\"TH\">และในส่วนของความร่วมมือต่างๆ ในส่วนรัฐมนตรีต่างประเทศ </span>ACD <span lang=\"TH\">ยังได้พบหารือกันต่อในระหว่างการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อวันที่ </span>14 <span lang=\"TH\">ก.ย.</span>2545 <span lang=\"TH\">สำหรับในเรื่องของความร่วมมือ ขณะนี้มีประเทศ </span>ACD <span lang=\"TH\">ต่างๆ อาสาเป็นผู้ขับเคลื่อนความร่วมมือในสาขาที่ตนเห็นว่ามีจุดแข็งน่าจะร่วมมือกันได้ในกรอบ</span> ACD <span lang=\"TH\">เช่น บาห์เรน และอินโดนีเซีย จะจัดประชุมเรื่องพลังงานในเดือนเมษายน </span>2546 <span lang=\"TH\">บังกลาเทศกำลังจัดการประชุมเรื่องการแก้ไขความยากจนโดยพิจารณาปัญหาของการใช้แรงงานเด็กอยู่ในขณะนี้กรุงธากา สิงคโปร์ จะจัดประชุมหน่วยงานที่ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(</span>SMEs) <span lang=\"TH\">ในเดือนพฤษภาคม </span>2546(<span lang=\"TH\">รายละเอียดมีอยู่มากใน </span>website <span lang=\"TH\">กต. </span>www.mfa.qo.th. <span lang=\"TH\">คลิกเข้าไปที่กรอบความร่วมมือ </span>ACD <span lang=\"TH\">ได้) ที่ผู้เขียนบทความได้ให้เกรด </span>C <span lang=\"TH\">ในเรื่อง </span>ACD <span lang=\"TH\">โดยกล่าวว่าแม้รัฐบาลจะจัดประชุมครั้งแรกได้ ก็เป็นไปอย่างทุลักทุเลนั้น ข้อเท็จจริงเป็นไปอย่างตรงกันข้าม เพราะจริงๆ แล้วฝ่ายไทย มีความลำบากใจที่จำเป็นต้องตอบปฏิเสธอีกหลายประเทศที่อยากเข้าร่วมประชุม นอกจากนี้ ในกรณีของญี่ปุ่นที่ผู้เขียนไม่ทราบได้ข้อมูลมาแบบใด ว่าต้องมาแบบเสียไม่ได้นั้น ข้อเท็จจริงคือ รัฐมนตรีต่างประเทศญี่ปุ่น ติดประชุมสภา แม้แต่การไปร่วมประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเชีย-ยุโรป ที่กรุงมาดริดในช่วงต้นเดือนมิถุนายนก็ยังไปไม่ได้ แต่เพื่อต้องการแสดงบทบาทของญี่ปุ่นในกรอบความร่วมมือในเอเชีย จึงได้ขออนุญาตรัฐสภาเข้าร่วมประชุมตั้งแต่ต้นจนจบ และรัฐสภาได้อนุญาตเพราะเห็นว่าเป็นการประชุมที่สำคัญยิ่ง </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นอกจากนี้ ในระหว่างการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ที่นครนิวยอร์ก เมื่อ ก.ย.</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">44 <span lang=\"TH\">รัฐมนตรีต่างประเทศเกือบทุกประเทศ รวมทั้งญี่ปุ่น จีน อินเดีย ก็ได้เข้าร่วมการประชุมที่เรียกว่า </span>ACD Breakfast Meeting <span lang=\"TH\">ซึ่งแสดงถึงความสนใจและความกระตือรือร้นของประเทศสมาชิก </span>ACD <span lang=\"TH\">ในการผลักดันแนวคิดของไทยให้เป็นรูปธรรม การหารือกันในครั้งนี้ยังได้แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์อิรักอย่างสร้างสรรค์อีกด้วย เพราะอย่าลืมว่า </span>ACD <span lang=\"TH\">มีประเทศที่อยู่ในอนุภูมิภาคต่างๆ ของเอเชีย มีทั้งประเทศที่มีประชากรพันล้าน มีทั้งประเทศที่เป็นมุสลิม มีทั้งประเทศที่เป็นยักษ์ใหญ่เศรษฐกิจ สำหรับการเป็นเจ้าภาพครั้งที่ </span>2 <span lang=\"TH\">ในเดือนมิถุนายนที่จะถึงนี้นั้น ผู้เขียนน่าจะสอบถามเพื่อนฝูงในกระทรวงการต่างประเทศว่า ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นคือมีหลายประเทศเสนอตัวขอเป็นเจ้าภาพ แต่ความเห็นของรัฐมนตรีต่างประเทศ </span>ACD <span lang=\"TH\">ส่วนใหญ่ ขอให้ไทยในฐานะผู้ประสานงานรับต่อไปอีก </span>1 <span lang=\"TH\">ปีก่อน ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าตามองค์ประกอบของ </span>ACD <span lang=\"TH\">อาเซียนทั้ง </span>10 <span lang=\"TH\">ประเทศ ก็มีบทบาทสำคัญเป็นแกนของ </span>ACD <span lang=\"TH\">อยู่แล้ว </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บทบาทไทยในกรอบอาเซียน </span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บทความดังกล่าวยังเห็นว่าไทยไม่มีบทบาทเด่นในอาเซียน และแทบไม่มีข้อเสนอในอาเซียนอันเป็นความล้มเหลวของนโยบายต่างประเทศไทยนั้น ข้อเท็จจริง ก็คือ ไทยไม่มีความทะเยอทะยานจะเป็นผู้นำอาเซียนในลักษณะที่ผู้เขียนนึกคิด สิ่งที่รัฐบาลมุ่งหมายและดำเนินการมาโดยตลอดคือ การผลักดันให้อาเซียนมีความเข้มแข็งทั้งภายในอาเซียนและภายนอก ซึ่งก็คือความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับภูมิภาคเอเชียตะวันออก และเอเชียใต้ ไทยสนับสนุนการเจรจาจัดตั้งเขตการค้าเสรีระหว่างอาเซียน กับญี่ปุ่น จีนและอินเดีย แม้แต่ผู้นำเช่น อินเดีย และจีน ก็กล่าวขอบคุณไทยในบทบาทนี้ต่อหน้าสาธารณชน ไทยเป็นผู้ผลักดันให้เขตการค้าเสรีอาเซียน(</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">ASEAN Free Trade Area - AFTA) <span lang=\"TH\">มีความศักดิ์สิทธิ์ เช่น การขอให้มาเลเซียปฏิบัติตามความตกลงในกรอบ </span>AFTA <span lang=\"TH\">ไทยผลักดันอย่างเป็นรูปธรรมในเรื่องของการลดช่องว่างของประเทศสมาชิก ผ่านกลไกข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (</span>Initative for ASEAN Integration - IAI <span lang=\"TH\">และความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง(</span>GMS) <span lang=\"TH\">ไทยผลักดันบทบาทของ </span>ARF <span lang=\"TH\">โดยสนับสนุนให้ประธาน </span>ARF <span lang=\"TH\">คือ รัฐมนตรีต่างประเทศกัมพูชา มีบทบาทในการลดความตึงเครียดของสถานการณ์ในคาบสมุทรเกาหลี </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในช่วงหลังของเหตุการณ์ </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">11 <span lang=\"TH\">ก.ย. ไทยผลักดันให้เกิดการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศในลักษณะ </span>retreat <span lang=\"TH\">ที่ภูเก็ต เพื่อให้อาเซียนสามารถผนึกกำลังแสดงบทบาททางการเมืองของตนในด้านการต่อต้านการก่อการร้าย ไทยจะร่วมมือกับสิงคโปร์ในการจัด </span>ASEAN Show case <span lang=\"TH\">ในระหว่างการประชุมผู้นำ </span>APEC <span lang=\"TH\">เดือนตุลาคมนี้ ซึ่งจะเป็นการนำจุดเด่นทางเศรษฐกิจของอาเซียนให้ปรากฏอย่างชัดเจนในสายตาผู้นำเศรษฐกิจ และผู้นำ </span>CEO <span lang=\"TH\">ทั่วโลก ที่จะมาชุมนุมกันในกรุงเทพฯ กว่า </span>500 <span lang=\"TH\">คน นอกจากนี้ ไทยยังร่วมมือกับสิงคโปร์ในการชี้นำอนาคตของอาเซียนที่จะเคลื่อนไปสู่เป้าหมายของการเป็นชุมชนด้านเศรษฐกิจ ซึ่งได้รับการตอบสนองอย่างดีจากผู้นำสหภาพยุโรป ในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน-สหภาพยุโรป (</span>AEMM) <span lang=\"TH\">ที่กรุงบรัสเซลส์ ในสัปดาห์สุดท้ายของเดือนมกราคมที่ผ่านมา </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สหภาพยุโรป </span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แนวทางความสัมพันธ์ระหว่างกันในอนาคต ซึ่งมีประเด็นสำคัญ </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">4 <span lang=\"TH\">ประการ คือ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">1.<span lang=\"TH\">ไทยและคณะกรรมาธิการยุโรปควรกระชับความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น เสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พัฒนาความร่วมมือระหว่างกันในภูมิภาคเอเชียและในระดับระหว่างประเทศ เช่น ความร่วมมือในกรอบ </span>WTO <span lang=\"TH\">ในประเด็นที่เป็นความท้าทายระหว่างประเทศ อาทิ การต่อสู้กับการก่อการร้าย และอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">2.<span lang=\"TH\">คณะกรรมาธิการยุโรปเห็นว่า ไทยมีศักยภาพเป็นศูนย์กลางการค้าและการลงทุนในภูมิภาค </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">3.<span lang=\"TH\">ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบที่จะพิจารณาความเป็นไปได้ในการทำความตกลงด้านความร่วมมือ(</span>Cooperation Agreement) <span lang=\"TH\">ระหว่างกันในอนาคตอันใกล้ เพื่อใช้เป็นช่องทางผลักดันความร่วมมือในทุกด้านในระยะยาว โดยเฉพาะด้านการค้า การลงทุน </span>SMEs <span lang=\"TH\">มาตรฐานสุขอนามัยพืชและสัตว์ความปลอดภัยอาหาร และการวิจัยพัฒนา </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">4.<span lang=\"TH\">ทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องที่จะยกระดับกลไกการหารือระดับทวิภาคีระหว่างกัน โดยให้มีการพบปะกันอย่างสม่ำเสมอระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และกรรมาธิการยุโรปด้านการต่างประเทศ และให้จัดตั้งกลไกการประสานงานเพื่อติดตามการดำเนินโครงการความร่วมมือที่มีระหว่างกัน </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สำหรับประเด็นการเจรจาจัดทำเขตการค้าเสรี(</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">FTA) <span lang=\"TH\">กับสหภาพยุโรป ตามที่บทความได้วิพากษ์ วิจารณ์นั้น แม้ว่าในภาพรวม สหภาพยุโรปจะยังไม่มีนโยบายพิจารณาจัดทำ </span>FTA <span lang=\"TH\">กับประเทศที่สามจนกว่าการเจรจาการค้ารอบ </span>Doha <span lang=\"TH\">จะเสร็จสิ้นลง ในการเดินทางไปประชุมระดับรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน-สหภาพยุโรป ครั้งที่ </span>14 <span lang=\"TH\">ระหว่างวันที่ </span>27-28 <span lang=\"TH\">มกราคม </span>2546 <span lang=\"TH\">ที่กรุงบรัสเซลส์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้พยายามผลักดันประเด็นดังกล่าว โดยได้มีแถลงการณ์ภายใต้หัวข้อ &quot;พัฒนาการในอาเซียน&quot; ในการประชุมดังกล่าว โดยเน้นว่าความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนกำลังมุ่งหน้าไปสู่การพัฒนาการ ที่ไม่จำกัดเฉพาะการเปิดเสรีทางการค้าอาเซียน แต่ได้มุ่งไปสู่การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(</span>ASEAN Economic Community:AEC) <span lang=\"TH\">อีกทั้งการขยายความร่วมมือกับประเทศคู่เจรจาในรูปของ </span>FTA <span lang=\"TH\">และ </span>Closer Economic Partnership (CEP) <span lang=\"TH\">กับจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และอินเดีย </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ทีมไทยแลนด์/ออท. </span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">CEO <o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สำหรับโครงการ ออท. </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">CEO <span lang=\"TH\">ทาง กต. ก็ได้ขอให้สถาบันสนับสนุนการวิจัย หรือ สกว. จัดทีมนักวิชาการ นำโดย ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง เลขาธิการ กพร.มาประเมินผล ขณะนี้การทำงานมีความคืบหน้าเป็นอย่างยิ่ง ปลายปีนี้โครงการ ออท. </span>CEO <span lang=\"TH\">จะขยายผลใช้กับสถานทูต สถานกงสุล ของเราทุกแห่งในโลก ในเรื่องที่เกี่ยวกับปัญหาการแบ่งบทบาทการดำเนินการระหว่างกระทรวงการต่างประเทศกับกระทรวงพาณิชย์ นับเป็นเรื่องที่มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนอยู่เสมอๆ เพราะบทบาทของแต่ละกระทรวงในด้านเศรษฐกิจมีความชัดเจนว่า กระทรวงการต่างประเทศรับผิดชอบในเรื่องของการวางกรอบความร่วมมือในด้านเศรษฐกิจ และเมื่อมีกรอบที่ชัดเจน กระทรวงพาณิชย์จะมีหน้าที่สำคัญในด้านการเจรจาทางการค้า และการส่งเสริมสินค้าส่งออก ซึ่งเรื่องนี้ ในการประชุม </span>APEC <span lang=\"TH\">จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า กระทรวงการต่างประเทศจะเป็นผู้ประสานงานในด้านสารัตถะ และด้านการจัดประชุมในกรอบกว้างทั้งหมด ส่วนในเนื้อหาสาระเฉพาะเรื่อง เช่นในด้านการค้า จะเป็นภารกิจของกระทรวงพาณิชย์ และด้านอื่นๆ ก็เป็นของกระทรวงที่เกี่ยวข้องชำนาญการในด้านนั้นๆ ไม่มีเรื่องใดต้องมาแย่งกันอย่างที่เข้าใจ </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บทบาทของไทยในเวทีโลก </span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตลอดระยะเวลา </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">ปีที่ผ่านมา บทบาทของไทยในเวทีโลก มีความโดดเด่นอย่างชัดเจนและเป็นที่ยอมรับขององค์การระหว่างประเทศตลอดจนประเทศต่างๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ การเข้าไปมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศติมอร์ตะวันออก ซึ่งนอกจากในกรอบของสหประชาชาติแล้ว ไทยยังได้ให้ความร่วมมือในกรอบทวิภาคีโดยผ่านโครงการความช่วยเหลือต่างๆ ด้วย ในกรณีของอัฟกานิสถาน ประเทศไทยก็ได้เข้าไปมีบทบาทในการฟื้นฟูประเทศทั้งในด้านการกู้กับระเบิด และในเรื่องโครงการปลูกพืชทดแทน การสร้างเศรษฐกิจในป่า ซึ่งเป็นเรื่องที่ทุกฝ่ายยอมรับ นอกจากนั้น ยังมีตัวอย่างของการเจรจาสันติภาพในศรีลังกา ซึ่งไทยได้เข้าไปมีบทบาทเช่นกัน </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การยอมรับในบทบาทของไทยเห็นได้ชัดเจน จากกรณีที่เมื่อผู้นำประเทศไทยได้ไปประชุมระหว่างประเทศครั้งใดจะได้รับการยกย่องในท่าทีของไทย และจะมีผู้นำประเทศอื่นต้องการจะเข้ามาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันเป็นจำนวนมาก ล่าสุดในการประชุมสุดยอดกลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ </span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">24 <span lang=\"TH\">ก.พ. </span>2546 <span lang=\"TH\">เป็นต้น ทั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หารือทวิภาคีกับประเทศต่างๆ ถึง </span>19 <span lang=\"TH\">ประเทศ ด้านการลงทุน ความไม่มั่นใจของนักลงทุนต่อนโยบายการลงทุนของไทยเกิดขึ้นจากความเข้าใจที่ไม่ตรงกันของแต่ละบุคคล ซึ่งรัฐบาลได้ย้ำอย่างชัดเจนมาโดยตลอดว่า ไทยจะมุ่งสร้างความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจฐานรากในระดับประชาชน ควบคู่ไปกับการเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจเสรีภายนอกประเทศอย่างเกื้อกูลและสมดุล ทั้งนี้ เพื่อให้โครงสร้างเศรษฐกิจภายในประเทศมีความแข็งแกร่งและเป็นภูมิคุ้มกันจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศได้ทำความเข้าใจเรื่องนี้กับภาครัฐ และเอกชนต่างประเทศมาโดยตลอด นอกจากนี้ จากการดำเนินนโยบายการทูตเชิงรุกด้านเศรษฐกิจของไทยที่มุ่งเน้นการสร้างความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ มากขึ้น ภายใต้นโยบาย </span>Forward Engagement <span lang=\"TH\">ยังช่วยให้ภาคเอกชนไทยมีลู่ทางในการลงทุนและทำการค้าในต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น เช่น นักลงทุนไทยได้งานก่อสร้างในกาตาร์ หรือการที่ภาคเอกชนไทยสามารถส่งออกสินค้าไปต่างประเทศเพิ่มมากขึ้นซึ่งหากความสัมพันธ์ในภาพรวม และบรรยากาศทางการเมืองไม่ได้รับการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นแล้วโอกาสที่จะส่งออกสินค้าเพิ่มมากขึ้นก็จะไม่มีตามมา </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> </p>\n<p align=\"left\">\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n', created = 1718495050, expire = 1718581450, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3f2379ba812e7037294445e948f79aad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b490090e99d488c4ebe0f2013eb4490f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<em>แวะเข้ามาชมหนูโดนัท<img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-sealed.gif\" alt=\"Sealed\" title=\"Sealed\" /></em>\n</p>\n<p>\n<em>วู้ดดี้ 6/1</em>\n</p>\n', created = 1718495050, expire = 1718581450, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b490090e99d488c4ebe0f2013eb4490f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

นโยบายการต่างประเทศของไทยในปัจจุบัน (สมัย พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร)

 นต่ะเมัรั.ต.ท.ทัษิ ชิวั

1. มุ่งดำเนินนโยบายการต่างประเทศโดยเน้นการทูตเชิงรุกด้าย   เศรษฐกิจประกอบกับการทูตในด้านต่างๆ เพื่อฟื้นฟูและสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งแสวงหาความร่วมมือระหว่างประเทศในทุกด้าน                                                       

2. ยึดหลักการดำเนินงานด้านความมั่นคง การพัฒนาและการสร้างสันติภาพระหว่างประเทศ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมภายใต้กรอบ แห่งสหประชาชาติและองค์กรระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องซึ่ง ประเทศไทยเป็นสมาชิก

3. เพิ่มบทบาทเชิงรุกในสังคมระหว่างประเทศ โดยริเริ่มการขยายความร่วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนไปยังภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียใต้ และภูมิภาคอื่นๆ ให้ใกล้ชิกยิ่งขึ้น รวมทั้งจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสานให้เกิดความร่วมมือเพื่อดำรงสันติภาพและระงับความขัดแย้งระหว่างประเทศในภูมิภาค

4. ส่งเสริม รักษา และคุ้มครองสิทธิและผลประโยชน์ของประเทศรวมทั้งของภาคเอกชนไทยแรงงานไทย และคนไทยในต่างประเทศ

5. ฟื้นฟูและกระชับความสัมพันธ์และความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในภูมิภารเอเชียอย่างเร่งด่วน ด้วยการสานต่อหรือริเริ่มความสัมพันธ์และความร่วมมือเพื่อการพัฒนาในทุกด้าน ทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคื เพื่อนำมาซึ่งความเข้าใจอันดีระหว่งกันในการแก้ไขปัญหาและการแสวงหาผลประโยชน์ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ จริงใจ และโดนสันติวิธีในทุกด้าน

ประเมิน 2 ปี นโยบายต่างประเทศรัฐบาลทักษิณ รูปธรรมของการทูตเชิงรุกด้านเศรษฐกิจ(1) การเจรจาเขตการค้าเสรี(Free Trade Agreement FTA) FTA เป็นยุทธศาสตร์ของรัฐบาล ที่มอบให้ทุกส่วนราชการที่เกี่ยวข้องร่วมกันปฏิบัติ โดยมีกระทรวงการต่างประเทศเป็นผู้นำเคาะประตูประเทศต่างๆ ในการเจรจากรุยทาง เพื่อนำไปสู่ความเห็นพ้องร่วมกันก่อนที่จะจัดทำข้อตกลงฯ หลังจากนั้น จะมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นผู้เจรจาในรายละเอียด โดยมีกระทรวงพาณิชย์ หรือกระทรวงการต่างประเทศ เป็นเจ้าภาพหลักในการเจรจารายละเอียดของสินค้าและบริการ และมีผู้แทนของภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องร่วมในการเจรจา ที่ผ่านมา นายกรัฐมนตรีมอบรัฐมนตรีต่างประเทศไปอินเดียเพื่อกรุยทางเรื่องการจัดทำ FTA ไทย-อินเดีย รัฐมนตรีต่างประเทศได้หยิบยกเรื่อง FTA กับรัฐมนตรีต่างประเทศอินเดีย เมื่อวันที่ 11-14 ก.ค.44 จากนั้นในระหว่างการเยือนอินเดียอย่างเป็นทางการของท่านนายกรัฐมนตรีก็ได้เห็นชอบเรื่องนี้ กับท่านนายกรัฐมนตรีอินเดียเมื่อวันที่ 26-29 พ.ย.2544 และ 1 ก.พ.2545 กับญี่ปุ่นหลังจากได้ให้กระทรวงการต่างประเทศได้ทาบทามความเห็นฝ่ายญี่ปุ่นระยะหนึ่งแล้วท่านนายกรัฐมนตรีทั้งสองประเทศ ได้เห็นชอบให้มีการจัดทำ FTA ในกรอบที่เรียกว่า การประชุมคณะกรรมาธิการร่วม ไทย-ญี่ปุ่น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ หุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น(Japan-Thailand Economic Partnership หรือ JTEP) ในระหว่างที่นายกรัฐมนตรีทั้งสองพบกันที่เกาะไหหลำคราวเข้าร่วมประชุม Boao Forum For Asia เมื่อวันที่ 12 เม.ย.2545 และเห็นชอบให้กระทรวงการต่างประเทศทั้งสองประเทศ เป็นผู้ประสานงานเตรียมการเจรจาอย่างเป็นทางการ ขณะนี้ คณะทำงานดังกล่าว ของฝ่ายไทยนำโดย อธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเปิดให้ภาคเอกชนและนักวิชาการเข้าร่วมด้วยนั้น จะพบกันที่กรุงโตเกียวเป็นรอบที่ 4 คาดว่า การเจรจาอย่างเป็นทางการจะเริ่มในครึ่งหลังของปี และสิ้นสุดในปลายปีนี้ กับ บาห์เรน ออสเตรเลีย สหรัฐ ก็เป็นไปตามแนวทางที่ท่านนายกฯมอบไว้คือ รัฐมนตรีต่างประเทศเป็นผู้นำไปปฏิบัติในการทาบทามกรุยทาง เมื่อมีลู่ทางเป็นไปได้แล้วนายกรัฐมนตรีก็จะหารือเพื่อความเห็นชอบจากผู้นำประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบด้านการค้าก็จะเป็นเจ้าของเรื่อง เป็นผู้เจรจาในด้านเทคนิคพร้อมกับหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน มีการฟื้นฟูและยกระดับความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้นโยบายขยายสัมพันธ์เชิงรุก(Forward Engagement) ซึ่งทำให้สถานะความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านพัฒนารุดหน้าในด้านต่างๆ เกิดความไว้วางใจและความร่วมมือที่เป็นรูปธรรม ตัวอย่างที่เห็นคือ กับพม่า รัฐบาลสามารถคลี่คลายสถานการณ์ความตึงเครียดบริเวณชายแดนและเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกันระหว่างผู้นำ จนนำไปสู่ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาอย่างใกล้ชิดระหว่างสองประเทศ เห็นได้จากการเยือนของบุคคลระดับสูงที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา มีการลงนามบันทึกความเข้าใจ ด้านยาเสพติด สามารถเชิญชวนให้พม่าเข้าร่วมในกรอบความร่วมมือ 4 ฝ่าย(ไทย พม่า จีน ลาว) และเมื่อเร็วๆ นี้ ในระหว่างการเยือนอินเดียอย่างเป็นทางการ ที่กรุงนิวเดลี 1 ก.พ.45 อินเดียก็พร้อมเข้าร่วมด้วยอีกประเทศหนึ่ง มีความเห็นชอบกับพม่าในการสร้างสะพานแห่งที่ 2 ข้ามแม่น้ำแม่สาย รัฐบาลไทยกำลังให้ความช่วยเหลือพม่า ทั้งแบบให้เปล่า และเงินกู้ในการเชื่อมเส้นทางทั้งจากแม่สอด เมียวดี-พะอัน รัฐมนตรีต่างประเทศได้เป็นผู้ริเริ่มร่วมกับรัฐมนตรีต่างประเทศพม่า และอินเดีย ในการจัดกรอบการประชุมเพื่อเชื่อมต่อเส้นทางระหว่างไทย-พม่า-อินเดีย อันจะเป็นส่วนสำคัญที่มาเชื่อมต่อ East-West Corridor ที่ไทยมีบทบาทสำคัญ นอกจากนี้ พม่ายังได้แสดงความขอบคุณไทยที่มีสิ่งที่ดีๆ ต่อการเสริมสร้างกระบวนการปรองดองแห่งชาติ และการพัฒนาเศรษฐกิจของพม่าอีกด้วย กับลาว และเวียดนาม มีการแก้อุปสรรคต่างๆ เพื่อเชื่อมต่อเส้นทางจากมุกดาหาร ไปออกทะเลจีนใต้ที่เมืองดานัง จนลงนามความตกลงต่างๆ เกี่ยวกับการก่อสร้างได้หมดแล้ว ในระหว่างการประชุมทั้งในกรอบคณะกรรมาธิการร่วม(Joint Committee-JC) และคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วม(Joint Border Committee-JBC) ร่วมกับประเทศลาวนั้น ทุกหน่วยงานยอมรับว่าเป็นไปได้ด้วยบรรยากาศที่เป็นมิตรและมีความร่วมมือ การเจรจาเส้นเขตแดนมีความคืบหน้า ในปีที่ผ่านมาสามารถจัดทำหลักเขตแดนได้เพิ่มขึ้นอีก 23 หลัก ระยะทางประมาณ 109.5 กิโลเมตร ขณะนี้ได้ 171 หลัก ระยะทาง 667 กิโลเมตร ของความยาวเขตแดนทางบก 702 กิโลเมตร โดยทั้งสองฝ่ายมีแผนที่จะดำเนินการให้แล้วเสร็จทั้งหมดภายในปี 2546 ซึ่งรวมถึงการสำรวจและจัดทำเขตแดนทางน้ำด้วย ไทยให้เงินกู้แก่ลาวในการสร้างทางเชื่อมเชียงของ ผ่านลาวไปสู่ยูนนาน ซึ่งเป็นโครงการที่ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย-ADB ยกย่องว่าเป็นตัวอย่างของความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง(GMS) และลาวให้ความร่วมมือแข็งขันในการเชื่อมต่อการขนส่งและการท่องเที่ยวผ่านทางแม่น้ำโขง นอกจากนี้ ลาวขยายเวลาเปิดสะพานข้ามแม่น้ำโขงที่หนองคายอีก 2 ชั่วโมงอีกด้วย กระทรวงการต่างประเทศเป็นผู้ผลักดันในการจัดสร้างศูนย์ส่งเสริมการส่งออกสินค้าลาวที่เวียงจันทน์ เพื่อขยายความร่วมมือทางการค้าสองฝ่ายให้มากยิ่งขึ้น และไทยให้ความช่วยเหลือในการสร้างหอพักนอนของนักเรียนที่โรงเรียนบ่อแก้ว แขวงไชยะบุรี เพื่อส่งเสริมมิตรภาพในระดับประชาชนให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น กับกัมพูชา นอกเหนือจากการที่สมเด็จนโรดมสีหนุได้พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์สหไมตรี ให้แก่ ท่านนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีต่างประเทศ ในฐานะบุคคลที่ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศทั้งสอง เมื่อ 11 ต.ค.44 แล้ว ไทย-กัมพูชา ยังมีความร่วมมือที่แสดงถึงพัฒนาการของความสัมพันธ์ในมิติใหม่ๆ เห็นได้จากผลการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมเมื่อวันที่ 6-7 ธ.ค.2544 ไทยกับกัมพูชาเริ่มมีการตั้งคณะกรรมการเจรจาเขตทับซ้อนทางทะเลอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรก โดยมีทั้งระดับรัฐมนตรี และระดับเจ้าหน้าที่เทคนิค ซึ่งกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กับกระทรวงอุตสาหกรรม รับผิดชอบอยู่ กัมพูชายังเป็นประเทศแรก ในบรรดาประเทศเพื่อนบ้านที่ลงนามในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจแบบครอบคลุมครบวงจร ซึ่งจะเป็นรูปแบบที่ไทยที่จะเสนอกับประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ นอกจากนี้ กัมพูชาเป็นประเทศที่ไทยให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ ทุนฝึกอบรมผ่านกรมวิเทศสหการเป็นจำนวนมาก ในด้านการสร้างและซ่อมถนน ฝ่ายไทยให้ความช่วยเหลือ สำหรับเส้นทางตราด-เกาะกง-สแรอัมเปิล การตัดถนนผ่านช่องสะงำผ่านศรีสะเกษมาที่เมืองเสียมราฐ กล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์ทั้งในภาพรวม และระดับต่างๆ เป็นไปอย่างแน่นแฟ้น ส่วนเหตุการณ์การเผาสถานทูต และทรัพย์สินของเอกชนไทยในกรุงพนมเปญนั้น ผู้เขียนบทความซึ่งเป็นอาจารย์ทางด้านรัฐศาสตร์ และอดีตข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศ น่าจะทราบดีว่า มีสาเหตุมาจากการเมืองภายในของกัมพูชาเอง มิได้เป็นผลมาจากการดำเนินนโยบายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย แต่อย่างไรก็ตาม รัฐบาลได้ดำเนินการทางทูตอย่างรวดเร็วและเต็มที่ในการเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นในภาครัฐและเอกชนไทย และให้ความช่วยเหลือคนไทยที่อาศัยอยู่ในกัมพูชาให้เดินทางกลับประเทศไทยได้อย่างปลอดภัย ความร่วมมือในกรอบเอเชีย(ACD) มีความคืบหน้าชัดเจนนับตั้งแต่การประชุมระดับรัฐมนตรีต่างประเทศ ครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 มิ.ย.2545 ที่ อ.ชะอำ ทั้งในส่วนของการหารือระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศ ACD และในส่วนของความร่วมมือต่างๆ ในส่วนรัฐมนตรีต่างประเทศ ACD ยังได้พบหารือกันต่อในระหว่างการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 14 ก.ย.2545 สำหรับในเรื่องของความร่วมมือ ขณะนี้มีประเทศ ACD ต่างๆ อาสาเป็นผู้ขับเคลื่อนความร่วมมือในสาขาที่ตนเห็นว่ามีจุดแข็งน่าจะร่วมมือกันได้ในกรอบ ACD เช่น บาห์เรน และอินโดนีเซีย จะจัดประชุมเรื่องพลังงานในเดือนเมษายน 2546 บังกลาเทศกำลังจัดการประชุมเรื่องการแก้ไขความยากจนโดยพิจารณาปัญหาของการใช้แรงงานเด็กอยู่ในขณะนี้กรุงธากา สิงคโปร์ จะจัดประชุมหน่วยงานที่ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs) ในเดือนพฤษภาคม 2546(รายละเอียดมีอยู่มากใน website กต. www.mfa.qo.th. คลิกเข้าไปที่กรอบความร่วมมือ ACD ได้) ที่ผู้เขียนบทความได้ให้เกรด C ในเรื่อง ACD โดยกล่าวว่าแม้รัฐบาลจะจัดประชุมครั้งแรกได้ ก็เป็นไปอย่างทุลักทุเลนั้น ข้อเท็จจริงเป็นไปอย่างตรงกันข้าม เพราะจริงๆ แล้วฝ่ายไทย มีความลำบากใจที่จำเป็นต้องตอบปฏิเสธอีกหลายประเทศที่อยากเข้าร่วมประชุม นอกจากนี้ ในกรณีของญี่ปุ่นที่ผู้เขียนไม่ทราบได้ข้อมูลมาแบบใด ว่าต้องมาแบบเสียไม่ได้นั้น ข้อเท็จจริงคือ รัฐมนตรีต่างประเทศญี่ปุ่น ติดประชุมสภา แม้แต่การไปร่วมประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเชีย-ยุโรป ที่กรุงมาดริดในช่วงต้นเดือนมิถุนายนก็ยังไปไม่ได้ แต่เพื่อต้องการแสดงบทบาทของญี่ปุ่นในกรอบความร่วมมือในเอเชีย จึงได้ขออนุญาตรัฐสภาเข้าร่วมประชุมตั้งแต่ต้นจนจบ และรัฐสภาได้อนุญาตเพราะเห็นว่าเป็นการประชุมที่สำคัญยิ่ง นอกจากนี้ ในระหว่างการประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ที่นครนิวยอร์ก เมื่อ ก.ย.44 รัฐมนตรีต่างประเทศเกือบทุกประเทศ รวมทั้งญี่ปุ่น จีน อินเดีย ก็ได้เข้าร่วมการประชุมที่เรียกว่า ACD Breakfast Meeting ซึ่งแสดงถึงความสนใจและความกระตือรือร้นของประเทศสมาชิก ACD ในการผลักดันแนวคิดของไทยให้เป็นรูปธรรม การหารือกันในครั้งนี้ยังได้แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์อิรักอย่างสร้างสรรค์อีกด้วย เพราะอย่าลืมว่า ACD มีประเทศที่อยู่ในอนุภูมิภาคต่างๆ ของเอเชีย มีทั้งประเทศที่มีประชากรพันล้าน มีทั้งประเทศที่เป็นมุสลิม มีทั้งประเทศที่เป็นยักษ์ใหญ่เศรษฐกิจ สำหรับการเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในเดือนมิถุนายนที่จะถึงนี้นั้น ผู้เขียนน่าจะสอบถามเพื่อนฝูงในกระทรวงการต่างประเทศว่า ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นคือมีหลายประเทศเสนอตัวขอเป็นเจ้าภาพ แต่ความเห็นของรัฐมนตรีต่างประเทศ ACD ส่วนใหญ่ ขอให้ไทยในฐานะผู้ประสานงานรับต่อไปอีก 1 ปีก่อน ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าตามองค์ประกอบของ ACD อาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ก็มีบทบาทสำคัญเป็นแกนของ ACD อยู่แล้ว บทบาทไทยในกรอบอาเซียน บทความดังกล่าวยังเห็นว่าไทยไม่มีบทบาทเด่นในอาเซียน และแทบไม่มีข้อเสนอในอาเซียนอันเป็นความล้มเหลวของนโยบายต่างประเทศไทยนั้น ข้อเท็จจริง ก็คือ ไทยไม่มีความทะเยอทะยานจะเป็นผู้นำอาเซียนในลักษณะที่ผู้เขียนนึกคิด สิ่งที่รัฐบาลมุ่งหมายและดำเนินการมาโดยตลอดคือ การผลักดันให้อาเซียนมีความเข้มแข็งทั้งภายในอาเซียนและภายนอก ซึ่งก็คือความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับภูมิภาคเอเชียตะวันออก และเอเชียใต้ ไทยสนับสนุนการเจรจาจัดตั้งเขตการค้าเสรีระหว่างอาเซียน กับญี่ปุ่น จีนและอินเดีย แม้แต่ผู้นำเช่น อินเดีย และจีน ก็กล่าวขอบคุณไทยในบทบาทนี้ต่อหน้าสาธารณชน ไทยเป็นผู้ผลักดันให้เขตการค้าเสรีอาเซียน(ASEAN Free Trade Area - AFTA) มีความศักดิ์สิทธิ์ เช่น การขอให้มาเลเซียปฏิบัติตามความตกลงในกรอบ AFTA ไทยผลักดันอย่างเป็นรูปธรรมในเรื่องของการลดช่องว่างของประเทศสมาชิก ผ่านกลไกข้อริเริ่มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initative for ASEAN Integration - IAI และความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง(GMS) ไทยผลักดันบทบาทของ ARF โดยสนับสนุนให้ประธาน ARF คือ รัฐมนตรีต่างประเทศกัมพูชา มีบทบาทในการลดความตึงเครียดของสถานการณ์ในคาบสมุทรเกาหลี ในช่วงหลังของเหตุการณ์ 11 ก.ย. ไทยผลักดันให้เกิดการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศในลักษณะ retreat ที่ภูเก็ต เพื่อให้อาเซียนสามารถผนึกกำลังแสดงบทบาททางการเมืองของตนในด้านการต่อต้านการก่อการร้าย ไทยจะร่วมมือกับสิงคโปร์ในการจัด ASEAN Show case ในระหว่างการประชุมผู้นำ APEC เดือนตุลาคมนี้ ซึ่งจะเป็นการนำจุดเด่นทางเศรษฐกิจของอาเซียนให้ปรากฏอย่างชัดเจนในสายตาผู้นำเศรษฐกิจ และผู้นำ CEO ทั่วโลก ที่จะมาชุมนุมกันในกรุงเทพฯ กว่า 500 คน นอกจากนี้ ไทยยังร่วมมือกับสิงคโปร์ในการชี้นำอนาคตของอาเซียนที่จะเคลื่อนไปสู่เป้าหมายของการเป็นชุมชนด้านเศรษฐกิจ ซึ่งได้รับการตอบสนองอย่างดีจากผู้นำสหภาพยุโรป ในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน-สหภาพยุโรป (AEMM) ที่กรุงบรัสเซลส์ ในสัปดาห์สุดท้ายของเดือนมกราคมที่ผ่านมา สหภาพยุโรป แนวทางความสัมพันธ์ระหว่างกันในอนาคต ซึ่งมีประเด็นสำคัญ 4 ประการ คือ 1.ไทยและคณะกรรมาธิการยุโรปควรกระชับความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น เสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พัฒนาความร่วมมือระหว่างกันในภูมิภาคเอเชียและในระดับระหว่างประเทศ เช่น ความร่วมมือในกรอบ WTO ในประเด็นที่เป็นความท้าทายระหว่างประเทศ อาทิ การต่อสู้กับการก่อการร้าย และอาชญากรรมข้ามชาติ เป็นต้น 2.คณะกรรมาธิการยุโรปเห็นว่า ไทยมีศักยภาพเป็นศูนย์กลางการค้าและการลงทุนในภูมิภาค 3.ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบที่จะพิจารณาความเป็นไปได้ในการทำความตกลงด้านความร่วมมือ(Cooperation Agreement) ระหว่างกันในอนาคตอันใกล้ เพื่อใช้เป็นช่องทางผลักดันความร่วมมือในทุกด้านในระยะยาว โดยเฉพาะด้านการค้า การลงทุน SMEs มาตรฐานสุขอนามัยพืชและสัตว์ความปลอดภัยอาหาร และการวิจัยพัฒนา 4.ทั้งสองฝ่ายเห็นพ้องที่จะยกระดับกลไกการหารือระดับทวิภาคีระหว่างกัน โดยให้มีการพบปะกันอย่างสม่ำเสมอระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และกรรมาธิการยุโรปด้านการต่างประเทศ และให้จัดตั้งกลไกการประสานงานเพื่อติดตามการดำเนินโครงการความร่วมมือที่มีระหว่างกัน สำหรับประเด็นการเจรจาจัดทำเขตการค้าเสรี(FTA) กับสหภาพยุโรป ตามที่บทความได้วิพากษ์ วิจารณ์นั้น แม้ว่าในภาพรวม สหภาพยุโรปจะยังไม่มีนโยบายพิจารณาจัดทำ FTA กับประเทศที่สามจนกว่าการเจรจาการค้ารอบ Doha จะเสร็จสิ้นลง ในการเดินทางไปประชุมระดับรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน-สหภาพยุโรป ครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ 27-28 มกราคม 2546 ที่กรุงบรัสเซลส์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้พยายามผลักดันประเด็นดังกล่าว โดยได้มีแถลงการณ์ภายใต้หัวข้อ "พัฒนาการในอาเซียน" ในการประชุมดังกล่าว โดยเน้นว่าความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนกำลังมุ่งหน้าไปสู่การพัฒนาการ ที่ไม่จำกัดเฉพาะการเปิดเสรีทางการค้าอาเซียน แต่ได้มุ่งไปสู่การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community:AEC) อีกทั้งการขยายความร่วมมือกับประเทศคู่เจรจาในรูปของ FTA และ Closer Economic Partnership (CEP) กับจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และอินเดีย ทีมไทยแลนด์/ออท. CEO สำหรับโครงการ ออท. CEO ทาง กต. ก็ได้ขอให้สถาบันสนับสนุนการวิจัย หรือ สกว. จัดทีมนักวิชาการ นำโดย ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง เลขาธิการ กพร.มาประเมินผล ขณะนี้การทำงานมีความคืบหน้าเป็นอย่างยิ่ง ปลายปีนี้โครงการ ออท. CEO จะขยายผลใช้กับสถานทูต สถานกงสุล ของเราทุกแห่งในโลก ในเรื่องที่เกี่ยวกับปัญหาการแบ่งบทบาทการดำเนินการระหว่างกระทรวงการต่างประเทศกับกระทรวงพาณิชย์ นับเป็นเรื่องที่มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนอยู่เสมอๆ เพราะบทบาทของแต่ละกระทรวงในด้านเศรษฐกิจมีความชัดเจนว่า กระทรวงการต่างประเทศรับผิดชอบในเรื่องของการวางกรอบความร่วมมือในด้านเศรษฐกิจ และเมื่อมีกรอบที่ชัดเจน กระทรวงพาณิชย์จะมีหน้าที่สำคัญในด้านการเจรจาทางการค้า และการส่งเสริมสินค้าส่งออก ซึ่งเรื่องนี้ ในการประชุม APEC จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า กระทรวงการต่างประเทศจะเป็นผู้ประสานงานในด้านสารัตถะ และด้านการจัดประชุมในกรอบกว้างทั้งหมด ส่วนในเนื้อหาสาระเฉพาะเรื่อง เช่นในด้านการค้า จะเป็นภารกิจของกระทรวงพาณิชย์ และด้านอื่นๆ ก็เป็นของกระทรวงที่เกี่ยวข้องชำนาญการในด้านนั้นๆ ไม่มีเรื่องใดต้องมาแย่งกันอย่างที่เข้าใจ บทบาทของไทยในเวทีโลก ตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา บทบาทของไทยในเวทีโลก มีความโดดเด่นอย่างชัดเจนและเป็นที่ยอมรับขององค์การระหว่างประเทศตลอดจนประเทศต่างๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน ได้แก่ การเข้าไปมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศติมอร์ตะวันออก ซึ่งนอกจากในกรอบของสหประชาชาติแล้ว ไทยยังได้ให้ความร่วมมือในกรอบทวิภาคีโดยผ่านโครงการความช่วยเหลือต่างๆ ด้วย ในกรณีของอัฟกานิสถาน ประเทศไทยก็ได้เข้าไปมีบทบาทในการฟื้นฟูประเทศทั้งในด้านการกู้กับระเบิด และในเรื่องโครงการปลูกพืชทดแทน การสร้างเศรษฐกิจในป่า ซึ่งเป็นเรื่องที่ทุกฝ่ายยอมรับ นอกจากนั้น ยังมีตัวอย่างของการเจรจาสันติภาพในศรีลังกา ซึ่งไทยได้เข้าไปมีบทบาทเช่นกัน การยอมรับในบทบาทของไทยเห็นได้ชัดเจน จากกรณีที่เมื่อผู้นำประเทศไทยได้ไปประชุมระหว่างประเทศครั้งใดจะได้รับการยกย่องในท่าทีของไทย และจะมีผู้นำประเทศอื่นต้องการจะเข้ามาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันเป็นจำนวนมาก ล่าสุดในการประชุมสุดยอดกลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 24 ก.พ. 2546 เป็นต้น ทั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หารือทวิภาคีกับประเทศต่างๆ ถึง 19 ประเทศ ด้านการลงทุน ความไม่มั่นใจของนักลงทุนต่อนโยบายการลงทุนของไทยเกิดขึ้นจากความเข้าใจที่ไม่ตรงกันของแต่ละบุคคล ซึ่งรัฐบาลได้ย้ำอย่างชัดเจนมาโดยตลอดว่า ไทยจะมุ่งสร้างความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจฐานรากในระดับประชาชน ควบคู่ไปกับการเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจเสรีภายนอกประเทศอย่างเกื้อกูลและสมดุล ทั้งนี้ เพื่อให้โครงสร้างเศรษฐกิจภายในประเทศมีความแข็งแกร่งและเป็นภูมิคุ้มกันจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศได้ทำความเข้าใจเรื่องนี้กับภาครัฐ และเอกชนต่างประเทศมาโดยตลอด นอกจากนี้ จากการดำเนินนโยบายการทูตเชิงรุกด้านเศรษฐกิจของไทยที่มุ่งเน้นการสร้างความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ มากขึ้น ภายใต้นโยบาย Forward Engagement ยังช่วยให้ภาคเอกชนไทยมีลู่ทางในการลงทุนและทำการค้าในต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น เช่น นักลงทุนไทยได้งานก่อสร้างในกาตาร์ หรือการที่ภาคเอกชนไทยสามารถส่งออกสินค้าไปต่างประเทศเพิ่มมากขึ้นซึ่งหากความสัมพันธ์ในภาพรวม และบรรยากาศทางการเมืองไม่ได้รับการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นแล้วโอกาสที่จะส่งออกสินค้าเพิ่มมากขึ้นก็จะไม่มีตามมา  

 

รูปภาพของ silavacharee

Kiss

รูปภาพของ sila15039

แวะเข้ามาชมหนูโดนัทSealed

วู้ดดี้ 6/1

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 1075 คน กำลังออนไลน์