• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9a754fb0b4b3626628cb35195837e83c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"240\" src=\"/files/u7480/breast_diagram.gif\" height=\"183\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ชื่อโรค..........</span></strong>มะเร็งเต้านม(Breast Cancer)\n</p>\n<p>\nมะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบบ่อยในหญิงไทยเป็นที่สองรองจากมะเร็งปากมด<br />\nลูกมักเกิดในหญิงอายุ 40 ปีขึ้นไปและพบมากในหญิงที่ไม่มีบุตรหรือมีบุตร<br />\nน้อยและในผู้ที่มีประวัติญาติพี่น้องเคยเป็นมะเร็งเต้านมหญิงอายุน้อยหรือชาย<br />\nก็อาจเป็นมะเร็งเต้านมได้ แต่พบได้น้อย\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ผู้ค้นพบ..........</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #999999\"></span></p>\n<p><span style=\"color: #ff0000\"><strong>สาเหตุของการเกิดโรค..........</strong></span><br />\nยังไม่ทราบแน่นอน แต่ในทางระบาดวิทยาอาหารไขมันสูง มีส่วน ทำให้เกิดโรคได้  ตำแหน่งเกิดของมะเร็งเต้านมมักเป็นที่ส่วนบน<br />\nด้านนอกของ เต้านมมากกว่า ส่วนอื่น หรือ อาจเกิดจาก ฮอร์โมน, พันธุกรรมและภาวะทางสภาพแวดล้อม โดยทั่วไปมักพบมะเร็งเต้านมในผู้ป่วยอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป3 (แต่ในแถบเอเชียพบในผู้ป่วยอายุน้อยกว่านี้ได้บ่อยขึ้น) ประวัติการมีประจำเดือนครั้งแรกอายุน้อย <br />\n(early menarche) และหมดประจำเดือนช้า (late menopause) การไม่มีบุตรหรือมีบุตรคนแรก เมื่ออายุมาก โดยเฉพาะมากกว่า 30 ปี มีประวัติมะเร็งเต้านมในครอบครัวเดียวกัน4 องค์ประกอบอื่น เช่น การได้รับรังสี5,6 และปริมาณไขมันในสารอาหารที่รับประทาน3 เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>อาการของโรค..........<br />\n</strong></span>ลักษณะอาการของโรค <br />\n- เริ่มจากการคลำก้อนไม่ได้จนถึงมีก้อนเล็กๆ ขึ้นที่เต้านม ส่วนมากจะไม่มี<br />\n  อาการ เจ็บปวด <br />\n- ก้อนจะโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ท ำให้เต้านมมีลักษณะผิดไป อาจทำให้เต้านม<br />\n  ใหญ่ขึ้น หรือบางชนิดทำให้เต้านมแข็ง หดตัวเล็กหรือแบนลงได้ ก้อนมะเร็ง<br />\n  อาจจะรั้งให ้หัวนมบุ๋ม เข้าไปจากระดับเดิม หรือทำให้ผิวหนังบริเวณเต้านม<br />\n  มีลักษณะ หยาบ และขรุขระ   <br />\n  บางรายเมื่อบีบบริเวณหัวนมจะมีน้ำเหลืองหรือเลือดไหลซึมออกมา  <br />\n  มะเร็งจะลุกลาม แพร่กระจายจากตำแหน่งที่เกิดได้อย่างรวดเร็วไปตาม<br />\n  หลอดเลือด และน้ำเหลืองสู่อวัยวะอื่นๆ <br />\n- บริเวณที่พบการแพร่กระจายได้เร็วและบ่อยที่สุดได้แก่ ต่อมน้ำเหลือง ที่รักแร้<br />\n- ในรายที่เป็นมากแล้วเนื้อมะเร็งบางส่วนจะเน่าตาย ทำให้เกิดเป็นแผลขยาย<br />\n  กว้างออกไป และมีกลิ่นเหม็นจัด\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>วิธีรักษา..........</strong></span><br />\nปัจจุบันนี้การรักษามะเร็งเต้านมที่ได้ผลดีที่สุดจะต้องเป็นการผสมผสานกัน38 (multidisciplinary) <br />\nระหว่างการผ่าตัด การฉายรังสี เคมีบำบัดและ/หรือฮอร์โมนบำบัด ซึ่งต้องอาศัยทีมงานที่ประกอบด้วย<br />\nศัลยแพทย์, รังสีรักษาแพทย์, แพทย์อายุรกรรมด้านโรคมะเร็ง ตลอดจนพยาธิแพทย์\n</p>\n<p>\n<strong>การผ่าตัด</strong> <br />\nถือเป็นส่วนที่สำคัญเพื่อให้ได้การวินิจฉัยโรคและใช้เป็นการรักษามะเร็งเต้านม <br />\nในระยะเวลาเป็นร้อยปีที่ผ่านมา มีการใช้การผ่าตัดหลายรูปแบบ ตั้งแต่การทำ radical mastectomy, <br />\nsupraradical mastectomy, modified radical mastectomy (MRM), simple <br />\nmastectomy และ segmentectomy หรือ tumorectomy39-42 จากการศึกษาต่าง ๆ42-44 <br />\nโดยเฉพาะ NSABP B-06 trial42 แสดงให้เห็นว่า การทำ segmentectomy (quadrantectomy) <br />\nหรือ tumorectomy และตามด้วยการฉายรังสีที่เต้านม สามารถใช้เป็นการรักษามาตรฐานสำหรับ<br />\nผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่เป็น T1 T2 lesion ซึ่งเป็นวิธีการผ่าตัดแบบสงวนเต้านม (breast conservation <br />\nsurgery) โดยมีผลการรักษาไม่แตกต่างจากการทำผ่าตัด modified radical mastectomy <br />\nซึ่งเป็นวิธีการที่ตัดเต้านมออกทั้งหมด สิ่งที่สำคัญอีกอย่างคือ จะต้องผ่าตัดเลาะต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้<br />\nระดับที่ I และ II ออกมาด้วย\n</p>\n<p>\n<strong>เคมีบำบัด และฮอร์โมนบำบัด</strong> แต่เดิมใช้ในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งเต้านมที่มีการแพร่กระจายของโรคหรือภาวะที่มีการลุกลามของโรคเฉพาะ<br />\nที่อย่างรุนแรง แต่ในปัจจุบันนี้ได้ถูกพัฒนามาใช้เพื่อเป็นการรักษาเสริม45-48 (adjuvant treatment) <br />\nในผู้ป่วยที่มีอัตราเสี่ยงต่อการกำเริบของโรคสูง เพื่อเพิ่มอัตราการปลอดโรคและเพิ่มอัตรารอดชีวิตแก่ผู้ป่วย <br />\nเนื่องจากมะเร็งเต้านมมักจะเป็น systemic disease แล้ว ในขณะที่ได้รับการวินิจฉัย <br />\nและการรักษาเฉพาะที่อย่างเดียวยากที่จะทำให้ผู้ป่วยหายขาดได้ National Cancer Institute (NCI) <br />\nของสหรัฐอเมริกาได้มี Consensus Development Committee49 ในปี ค.ศ. 1985ซึ่งแนะนำการใช้\n</p>\n<p>\n<strong>รังสีรักษา (Radiotherapy)</strong><br />\nความสำเร็จของการรักษามะเร็งเต้านม จะต้องสามารถควบคุมโรคเฉพาะที่และป้องกันหรือลดการแพร่<br />\nกระจายของโรคให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด ในส่วนของการควบคุมโรค<br />\nเฉพาะที่นั้น การใช้ยาเคมีบำบัดหรือฮอร์โมนบำบัดเพียงอย่างเดียว จะไม่สามารถให้การควบคุมโรค<br />\nเฉพาะที่ได้ดีเพียงพอโดยปราศจากการใช้การผ่าตัดและ/หรือรังสีรักษา27,50-52 ถึงแม้ว่าจะมีความพยายามในการทำผ่าตัดแบบถอนรากถอนโคนของเนื้อเยื่อ เต้านมและต่อมน้ำเหลือง<br />\nบริเวณใกล้เคียงก็ตาม ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกลุ่มหนึ่งก็ยังคงมีการกำเริบของโรคขึ้นที่บริเวณ chest wall<br />\nและ regional lymph nodes53\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>วิธีการป้องกัน..........</strong></span>\n</p>\n<p>\nยังไม่มีวิธีแน่นอนในการป้องกันมะเร็ง คุณสามารถป้องกันมะเร็งด้วยการลดปัจจัยเสี่ยงให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เช่นสมาคมมะเร็งของอเมริกาแนะนำวิธีป้องกันมะเร็งเต้านมดังนี้\n</p>\n<p>\nเปลี่ยนแปลงอาหาร เช่น ลดอาหารเนื้อแดง ลดอาหารมัน งดเกลือ <br />\nเลือกรับประทานอาหารพวก ผักและผลไม้ <br />\nควบคุมน้ำหนักมิให้อ้วน ออกกำลังกายอาทิตย์ละ 4 ชั่วโมงช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งเต้านมได้ <br />\nงดเว้นการสูบบุหรี่ และ แอลกอฮอล์ <br />\nให้เตรียมอาหารและเก็บอาหารอย่างปลอดภัย\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">สะท้อนความคิดเห็น..........</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>- </strong>ควรตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละครั้งเป็นประจำ หลังหมดประจำเดือน 7 <br />\n  วัน หากพบก้อนหรือสิ่งผิดปกติใด ๆ ควรรีบปรึกษาแพทย์โดยเร็ว<br />\n- ให้ความร่วมมือในการรักษา อย่าหลงเชื่อและเสียเวลาไปกับการรักษาโรค<br />\n  มะเร็ง ด้วย วิธีการ ทางไสยศาสตร์และยากลางบ้าน เพราะมะเร็งนั้นจะโต<br />\n  ขึ้นเรื่อยๆ โอกาสที่จะหายขาดจะลดลง ทุกขณะ<br />\n- พึงระลึกเสมอว่ามะเร็งของเต้านมหรืออวัยวะใดก็ตาม ถ้าได้รับการรักษาใน<br />\n  ระยะเริ่มต้น เร็วเท่าไร ความหวังที่โรคจะหายขาดก็ยิ่งมีมากขึ้นเพียงนั้น\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>อื่นๆ..........</strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong>คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับมะเร็งเต้านม</strong><br />\n1. ใครคือผู้มีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม <br />\n     ผู้หญิงทุกคน สำหรับผู้ชายมีเพียงส่วนน้อยแต่ก็สามารถเป็นได้\n</p>\n<p>\n2. จริงหรือไม่ที่มีผู้หญิงบางกลุ่มมีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม <br />\n     ใช่ เช่นผู้หญิงที่มีญาติใกล้ชิดเป็นมะเร็ง ผู้หญิงที่ไม่มีลูกหรือมีหลังจาก<br />\n     อายุ 30 ปีแล้ว แต่ผู้หญิงส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในกลุ่มนี้ พบว่า 80% <br />\n     ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมเป็นหญิงที่มีอายุมากกว่า 50 ปี\n</p>\n<p>\n3. อะไรเป็นสาเหตุของมะเร็งเต้านมและสามารถป้องกันได้หรือไม่ <br />\n     ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุและยังไม่มีวิธีการป้องกัน\n</p>\n<p>\n4. มีผู้หญิงจำนวนเท่าไรที่จะเป็นมะเร็งเต้านม <br />\n     ในสหรัฐอเมริกามีผู้หญิง 1 ใน 9 ที่จะเป็นมะเร็งเต้านมในช่วงชีวิต   <br />\n     มะเร็งเต้านมพบได้บ่อยในผู้หญิงในประเทศนี้\n</p>\n<p>\n5. ลักษณะก่อนที่เต้านมเป็นอย่างไร <br />\n     โดยทั่วไปก้อนที่เต้านมกว่า 80% เมื่อตรวจชิ้นเนื้อที่ผิดปกติพบว่าไม่ได<br />\n้     เป็นมะเร็งแต่ต้องได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์\n</p>\n<p>\n6. ถ้าพบก้อนที่เต้านมแล้วต้องทำอย่างไร <br />\n     ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางเพื่อตรวจและรับคำแนะนำต่อไป\n</p>\n<p>\n7. อะไรเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการเอาชนะมะเร็งเต้านม <br />\n     การค้นหามะเร็งระยะเริ่มแรกเป็ฯวิธีที่ดีที่สุด พบอัตราการอยู่รอด 5 ปี ถึง <br />\n     97 % หลังการรักษามะเร็งเต้านมที่เป็นระยะแรก\n</p>\n<p>\n8. โปรแกรมในการค้นหามะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรกที่ดีที่สุดคืออะไร <br />\n     ตรวจโดยแมมโมแกรมเป็นประจำเริ่มตั้งแต่อายุ 40 ปี ตรวจเต้านมโดย<br />\n     บุคลากรทางการแพทย์เป็นประจำ ตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละครั้ง   <br />\n     หลังจากมีประจำเดือนหรือหมดประจำเดือน ในวันเดียวกันทุกเดือน   <br />\n     ส่วนใหญ่ผู้หญิงมักพบสิ่งผิดปกติของเต้านมด้วยตนเอง\n</p>\n<p>\n9. จะสามารถตรวจเต้านมด้วยแมมโมแกรมได้ที่ไหน <br />\n     สถาบันมะเร็งแห่งชาติ โรงพยาบาลของทบวงมหาวิทยาลัย และ<br />\n     โรงพยาบาลเอกชนบางแห่ง\n</p>\n<p>\n10. ถ้าต้องการทราบเรื่องเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมมากกว่านี้จะเป็นอย่างไร <br />\n      จดหมายสอบถามได้ที่ นายแพทย์อดิศักดิ์ ศรพรหม ฝ่ายสุขศึกษา  <br />\n      สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 268/1 ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ <br />\n      10400\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มาของข้อมูล : <a href=\"http://www.thailabonline.com/sec7cabreast.htm\">http://www.thailabonline.com/sec7cabreast.htm</a>\n</p>\n<p>\nเรียบเรียงข้อมูลโดย : น.ส.ศุภาพิชญ์ อัครานุรักษ์กุล ม.6/4 เลขที่ 27 \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727541797, expire = 1727628197, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9a754fb0b4b3626628cb35195837e83c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:110fa5e5dd6890b9a595b9742d30fa1e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nสวัสดีจ่ะน้องมุก\n</p>\n<p>\nพี่น้ำเองนะ เพื่อนพี่ปรางทิพย์อ่ะ\n</p>\n<p>\nพี่อยากติดต่อมากๆแต่ว่า\n</p>\n<p>\nจะเขียนจดหมายไปหาก็กลัวจะย้ายบ้านกัน\n</p>\n<p>\nยังไงรบกวนบอกถึงปรางทิพย์ด้วยนะ\n</p>\n<p>\n<a href=\"mailto:loognam_ness@hotmail.com\">loognam_ness@hotmail.com</a>\n</p>\n<p>\nพี่ได้เห็นน้องมุกจากห้องพยาบาลรถโรงเรียน\n</p>\n<p>\nสวยขึ้นเยอะเลยนะ\n</p>\n<p>\nถ้าได้อ่านยังไงติดต่อมาหน่อยนะ\n</p>\n<p>\n0879005622\n</p>\n', created = 1727541797, expire = 1727628197, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:110fa5e5dd6890b9a595b9742d30fa1e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มะเร็งเต้านม(Breast Cancer)

รูปภาพของ sss28358

ชื่อโรค..........มะเร็งเต้านม(Breast Cancer)

มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบบ่อยในหญิงไทยเป็นที่สองรองจากมะเร็งปากมด
ลูกมักเกิดในหญิงอายุ 40 ปีขึ้นไปและพบมากในหญิงที่ไม่มีบุตรหรือมีบุตร
น้อยและในผู้ที่มีประวัติญาติพี่น้องเคยเป็นมะเร็งเต้านมหญิงอายุน้อยหรือชาย
ก็อาจเป็นมะเร็งเต้านมได้ แต่พบได้น้อย

ผู้ค้นพบ..........

สาเหตุของการเกิดโรค..........
ยังไม่ทราบแน่นอน แต่ในทางระบาดวิทยาอาหารไขมันสูง มีส่วน ทำให้เกิดโรคได้  ตำแหน่งเกิดของมะเร็งเต้านมมักเป็นที่ส่วนบน
ด้านนอกของ เต้านมมากกว่า ส่วนอื่น หรือ อาจเกิดจาก ฮอร์โมน, พันธุกรรมและภาวะทางสภาพแวดล้อม โดยทั่วไปมักพบมะเร็งเต้านมในผู้ป่วยอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป3 (แต่ในแถบเอเชียพบในผู้ป่วยอายุน้อยกว่านี้ได้บ่อยขึ้น) ประวัติการมีประจำเดือนครั้งแรกอายุน้อย
(early menarche) และหมดประจำเดือนช้า (late menopause) การไม่มีบุตรหรือมีบุตรคนแรก เมื่ออายุมาก โดยเฉพาะมากกว่า 30 ปี มีประวัติมะเร็งเต้านมในครอบครัวเดียวกัน4 องค์ประกอบอื่น เช่น การได้รับรังสี5,6 และปริมาณไขมันในสารอาหารที่รับประทาน3 เป็นต้น

อาการของโรค..........
ลักษณะอาการของโรค
- เริ่มจากการคลำก้อนไม่ได้จนถึงมีก้อนเล็กๆ ขึ้นที่เต้านม ส่วนมากจะไม่มี
  อาการ เจ็บปวด
- ก้อนจะโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ท ำให้เต้านมมีลักษณะผิดไป อาจทำให้เต้านม
  ใหญ่ขึ้น หรือบางชนิดทำให้เต้านมแข็ง หดตัวเล็กหรือแบนลงได้ ก้อนมะเร็ง
  อาจจะรั้งให ้หัวนมบุ๋ม เข้าไปจากระดับเดิม หรือทำให้ผิวหนังบริเวณเต้านม
  มีลักษณะ หยาบ และขรุขระ  
  บางรายเมื่อบีบบริเวณหัวนมจะมีน้ำเหลืองหรือเลือดไหลซึมออกมา 
  มะเร็งจะลุกลาม แพร่กระจายจากตำแหน่งที่เกิดได้อย่างรวดเร็วไปตาม
  หลอดเลือด และน้ำเหลืองสู่อวัยวะอื่นๆ
- บริเวณที่พบการแพร่กระจายได้เร็วและบ่อยที่สุดได้แก่ ต่อมน้ำเหลือง ที่รักแร้
- ในรายที่เป็นมากแล้วเนื้อมะเร็งบางส่วนจะเน่าตาย ทำให้เกิดเป็นแผลขยาย
  กว้างออกไป และมีกลิ่นเหม็นจัด

วิธีรักษา..........
ปัจจุบันนี้การรักษามะเร็งเต้านมที่ได้ผลดีที่สุดจะต้องเป็นการผสมผสานกัน38 (multidisciplinary)
ระหว่างการผ่าตัด การฉายรังสี เคมีบำบัดและ/หรือฮอร์โมนบำบัด ซึ่งต้องอาศัยทีมงานที่ประกอบด้วย
ศัลยแพทย์, รังสีรักษาแพทย์, แพทย์อายุรกรรมด้านโรคมะเร็ง ตลอดจนพยาธิแพทย์

การผ่าตัด
ถือเป็นส่วนที่สำคัญเพื่อให้ได้การวินิจฉัยโรคและใช้เป็นการรักษามะเร็งเต้านม
ในระยะเวลาเป็นร้อยปีที่ผ่านมา มีการใช้การผ่าตัดหลายรูปแบบ ตั้งแต่การทำ radical mastectomy,
supraradical mastectomy, modified radical mastectomy (MRM), simple
mastectomy และ segmentectomy หรือ tumorectomy39-42 จากการศึกษาต่าง ๆ42-44
โดยเฉพาะ NSABP B-06 trial42 แสดงให้เห็นว่า การทำ segmentectomy (quadrantectomy)
หรือ tumorectomy และตามด้วยการฉายรังสีที่เต้านม สามารถใช้เป็นการรักษามาตรฐานสำหรับ
ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่เป็น T1 T2 lesion ซึ่งเป็นวิธีการผ่าตัดแบบสงวนเต้านม (breast conservation
surgery) โดยมีผลการรักษาไม่แตกต่างจากการทำผ่าตัด modified radical mastectomy
ซึ่งเป็นวิธีการที่ตัดเต้านมออกทั้งหมด สิ่งที่สำคัญอีกอย่างคือ จะต้องผ่าตัดเลาะต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้
ระดับที่ I และ II ออกมาด้วย

เคมีบำบัด และฮอร์โมนบำบัด แต่เดิมใช้ในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งเต้านมที่มีการแพร่กระจายของโรคหรือภาวะที่มีการลุกลามของโรคเฉพาะ
ที่อย่างรุนแรง แต่ในปัจจุบันนี้ได้ถูกพัฒนามาใช้เพื่อเป็นการรักษาเสริม45-48 (adjuvant treatment)
ในผู้ป่วยที่มีอัตราเสี่ยงต่อการกำเริบของโรคสูง เพื่อเพิ่มอัตราการปลอดโรคและเพิ่มอัตรารอดชีวิตแก่ผู้ป่วย
เนื่องจากมะเร็งเต้านมมักจะเป็น systemic disease แล้ว ในขณะที่ได้รับการวินิจฉัย
และการรักษาเฉพาะที่อย่างเดียวยากที่จะทำให้ผู้ป่วยหายขาดได้ National Cancer Institute (NCI)
ของสหรัฐอเมริกาได้มี Consensus Development Committee49 ในปี ค.ศ. 1985ซึ่งแนะนำการใช้

รังสีรักษา (Radiotherapy)
ความสำเร็จของการรักษามะเร็งเต้านม จะต้องสามารถควบคุมโรคเฉพาะที่และป้องกันหรือลดการแพร่
กระจายของโรคให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด ในส่วนของการควบคุมโรค
เฉพาะที่นั้น การใช้ยาเคมีบำบัดหรือฮอร์โมนบำบัดเพียงอย่างเดียว จะไม่สามารถให้การควบคุมโรค
เฉพาะที่ได้ดีเพียงพอโดยปราศจากการใช้การผ่าตัดและ/หรือรังสีรักษา27,50-52 ถึงแม้ว่าจะมีความพยายามในการทำผ่าตัดแบบถอนรากถอนโคนของเนื้อเยื่อ เต้านมและต่อมน้ำเหลือง
บริเวณใกล้เคียงก็ตาม ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกลุ่มหนึ่งก็ยังคงมีการกำเริบของโรคขึ้นที่บริเวณ chest wall
และ regional lymph nodes53

วิธีการป้องกัน..........

ยังไม่มีวิธีแน่นอนในการป้องกันมะเร็ง คุณสามารถป้องกันมะเร็งด้วยการลดปัจจัยเสี่ยงให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เช่นสมาคมมะเร็งของอเมริกาแนะนำวิธีป้องกันมะเร็งเต้านมดังนี้

เปลี่ยนแปลงอาหาร เช่น ลดอาหารเนื้อแดง ลดอาหารมัน งดเกลือ
เลือกรับประทานอาหารพวก ผักและผลไม้
ควบคุมน้ำหนักมิให้อ้วน ออกกำลังกายอาทิตย์ละ 4 ชั่วโมงช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นมะเร็งเต้านมได้
งดเว้นการสูบบุหรี่ และ แอลกอฮอล์
ให้เตรียมอาหารและเก็บอาหารอย่างปลอดภัย

สะท้อนความคิดเห็น..........

- ควรตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละครั้งเป็นประจำ หลังหมดประจำเดือน 7 
  วัน หากพบก้อนหรือสิ่งผิดปกติใด ๆ ควรรีบปรึกษาแพทย์โดยเร็ว
- ให้ความร่วมมือในการรักษา อย่าหลงเชื่อและเสียเวลาไปกับการรักษาโรค
  มะเร็ง ด้วย วิธีการ ทางไสยศาสตร์และยากลางบ้าน เพราะมะเร็งนั้นจะโต
  ขึ้นเรื่อยๆ โอกาสที่จะหายขาดจะลดลง ทุกขณะ
- พึงระลึกเสมอว่ามะเร็งของเต้านมหรืออวัยวะใดก็ตาม ถ้าได้รับการรักษาใน
  ระยะเริ่มต้น เร็วเท่าไร ความหวังที่โรคจะหายขาดก็ยิ่งมีมากขึ้นเพียงนั้น


อื่นๆ..........

คำถามยอดฮิตเกี่ยวกับมะเร็งเต้านม
1. ใครคือผู้มีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม
     ผู้หญิงทุกคน สำหรับผู้ชายมีเพียงส่วนน้อยแต่ก็สามารถเป็นได้

2. จริงหรือไม่ที่มีผู้หญิงบางกลุ่มมีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม
     ใช่ เช่นผู้หญิงที่มีญาติใกล้ชิดเป็นมะเร็ง ผู้หญิงที่ไม่มีลูกหรือมีหลังจาก
     อายุ 30 ปีแล้ว แต่ผู้หญิงส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ถูกจัดอยู่ในกลุ่มนี้ พบว่า 80%
     ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมเป็นหญิงที่มีอายุมากกว่า 50 ปี

3. อะไรเป็นสาเหตุของมะเร็งเต้านมและสามารถป้องกันได้หรือไม่
     ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุและยังไม่มีวิธีการป้องกัน

4. มีผู้หญิงจำนวนเท่าไรที่จะเป็นมะเร็งเต้านม
     ในสหรัฐอเมริกามีผู้หญิง 1 ใน 9 ที่จะเป็นมะเร็งเต้านมในช่วงชีวิต  
     มะเร็งเต้านมพบได้บ่อยในผู้หญิงในประเทศนี้

5. ลักษณะก่อนที่เต้านมเป็นอย่างไร
     โดยทั่วไปก้อนที่เต้านมกว่า 80% เมื่อตรวจชิ้นเนื้อที่ผิดปกติพบว่าไม่ได
้     เป็นมะเร็งแต่ต้องได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์

6. ถ้าพบก้อนที่เต้านมแล้วต้องทำอย่างไร
     ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางเพื่อตรวจและรับคำแนะนำต่อไป

7. อะไรเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการเอาชนะมะเร็งเต้านม
     การค้นหามะเร็งระยะเริ่มแรกเป็ฯวิธีที่ดีที่สุด พบอัตราการอยู่รอด 5 ปี ถึง
     97 % หลังการรักษามะเร็งเต้านมที่เป็นระยะแรก

8. โปรแกรมในการค้นหามะเร็งเต้านมระยะเริ่มแรกที่ดีที่สุดคืออะไร
     ตรวจโดยแมมโมแกรมเป็นประจำเริ่มตั้งแต่อายุ 40 ปี ตรวจเต้านมโดย
     บุคลากรทางการแพทย์เป็นประจำ ตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละครั้ง  
     หลังจากมีประจำเดือนหรือหมดประจำเดือน ในวันเดียวกันทุกเดือน  
     ส่วนใหญ่ผู้หญิงมักพบสิ่งผิดปกติของเต้านมด้วยตนเอง

9. จะสามารถตรวจเต้านมด้วยแมมโมแกรมได้ที่ไหน
     สถาบันมะเร็งแห่งชาติ โรงพยาบาลของทบวงมหาวิทยาลัย และ
     โรงพยาบาลเอกชนบางแห่ง

10. ถ้าต้องการทราบเรื่องเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมมากกว่านี้จะเป็นอย่างไร
      จดหมายสอบถามได้ที่ นายแพทย์อดิศักดิ์ ศรพรหม ฝ่ายสุขศึกษา 
      สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 268/1 ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ
      10400

 

ที่มาของข้อมูล : http://www.thailabonline.com/sec7cabreast.htm

เรียบเรียงข้อมูลโดย : น.ส.ศุภาพิชญ์ อัครานุรักษ์กุล ม.6/4 เลขที่ 27 

 

สวัสดีจ่ะน้องมุก

พี่น้ำเองนะ เพื่อนพี่ปรางทิพย์อ่ะ

พี่อยากติดต่อมากๆแต่ว่า

จะเขียนจดหมายไปหาก็กลัวจะย้ายบ้านกัน

ยังไงรบกวนบอกถึงปรางทิพย์ด้วยนะ

loognam_ness@hotmail.com

พี่ได้เห็นน้องมุกจากห้องพยาบาลรถโรงเรียน

สวยขึ้นเยอะเลยนะ

ถ้าได้อ่านยังไงติดต่อมาหน่อยนะ

0879005622

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 237 คน กำลังออนไลน์