SAR นายสุริยา บุดดี โรงเรียนเวียงแก่นวิทยาคม

แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนเวียงแก่นวิทยาคม
ปีการศึกษา ๒๕๕๑
 เพื่อให้การรายงานผลงานของข้าราชการครู และบุคลากรของโรงเรียนเวียงแก่นวิทยาคมเป็นไปตามนัยแห่งพระราชบัญญัติครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๒๗(๑) – (๗),มาตรา ๗๒ จึงให้ข้าราชการครู และบุคลากรของโรงเรียน รายงานผลงานดังนี้

ตอนที่ ๑
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ – สกุล นายสุริยา   บุดดี
ตำแหน่ง  ครู คศ.๑     เลขที่ตำแหน่ง  ๗๙๕
วุฒิการศึกษา ครุศาสตร์บัณฑิต วิชาเอก ฟิสิกส์
เริ่มบรรจุเข้ารับราชการเมื่อ วันที่  ๒๖ เดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๖
เริ่มปฏิบัติหน้าที่ที่โรงเรียนนี้เมื่อ  วันที่  ๒ เดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๕๐
     
ประวัติการทำงานย้อนหลัง ๕ ปี
ปีงบประมาณ สถานที่ทำงาน ขั้นเงินเดือน สอนวิชา หน้าที่พิเศษ หมายเหตุ
๒๕๔๖ โรงเรียนบ้านแม่หม้อ ๖,๓๖๐ วิทยาศาสตร์ ป.๑      งานธุรการ
งานอาคารสถานที่
  งานกิจการนักเรียน 
   ภาษาไทย ป.๑  
   คณิตศาสตร์ ป.๑  
   ภาษาอังกฤษ ป.๑  
   สังคมศึกษา ป.๑  
   กอท. ป.๑  
   ศิลปะ ป.๑  
   สุขศึกษาฯ  ป.๑  
๒๕๔๗ โรงเรียนบ้านแม่หม้อ ๗,๒๖๐
๗,๔๓๐
๗,๖๑๐ วิทยาศาสตร์ ม.๑ งานพัสดุ 
   วิทยาศาสตร์ ม.๒  
   วิทยาศาสตร์ ม.๓  
   สังคมศึกษา ฯ ม.๑  
   สังคมศึกษา ฯ ม.๒  
   สังคมศึกษา ฯ ม.๓  
   ประวัติศาสตร์ ม.๓  
ปีงบประมาณ สถานที่ทำงาน ขั้นเงินเดือน สอนวิชา หน้าที่พิเศษ หมายเหตุ
   สุขศึกษาฯ  ม.๒  
   สุขศึกษาฯ  ม.๓  
๒๕๔๘ โรงเรียนขุนขวากพิทยา ๗,๘๑๐
๘,๒๑๐ วิทยาศาสตร์ ป.๔       งานธุรการ
เจ้าหน้าที่บัญชี 
   วิทยาศาสตร์ ป.๕  
   วิทยาศาสตร์ ป.๖  
   คณิตศาสตร์ ป.๔  
   คณิตศาสตร์ ป.๕  
   คณิตศาสตร์ ป.๖  
๒๕๔๙ โรงเรียนขุนขวากพิทยา ๘,๔๓๐
๘,๘๗๐ วิทยาศาสตร์ ป.๔       งานธุรการ
เจ้าหน้าที่บัญชี 
   วิทยาศาสตร์ ป.๕  
   วิทยาศาสตร์ ป.๖  
   คณิตศาสตร์ ป.๔  
   คณิตศาสตร์ ป.๕  
   คณิตศาสตร์ ป.๖  
๒๕๕๐ โรงเรียนเวียงแก่นวิทยาคม ๙,๑๑๐
๙,๓๒๐
๙,๗๐๐ วิทยาศาสตร์ ม.๑    งานสารสนเทศ
งานประกันคุณภาพ 
   วิทยาศาสตร์ ม.๓  
   ฟิสิกส์ ม.๔  
๒๕๕๑ โรงเรียนเวียงแก่นวิทยาคม ๙,๙๔๐
๑๐,๔๗๐
๑๐,๗๗๐ วิทยาศาสตร์ ม.๓    งานแผนงาน
   งานสารสนเทศ
งานประกันคุณภาพ 
   ฟิสิกส์ ม. ๔  
   ไดโนเสาร์ ม.๖  

ผลการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนย้อนหลัง(ให้ระบุ ๐.๕ หรือ ๑.๐ หรือ ๑.๕ขั้น)
ปีงบประมาณ ครั้งที่ ๑
(๑ เม.ย. – ๓๐ ก.ย.) ครั้งที่ ๒
(๑ ต.ค. – ๓๑ มี.ค.) หมายเหตุ
๒๕๔๖ - - 
๒๕๔๗ - ๐.๕ บรรจุเข้ารับราชการไม่ถึง ๔ เดือน
๒๕๔๘ ๐.๕ ๐.๕ 
๒๕๔๙ ๐.๕ ๑ 
๒๕๕๐ ๐.๕ ๑ 
๒๕๕๑ ๐.๕ - 
 
จำนวนวันลาในรอบที่ผ่านมา(๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๒)
ลักษณะการลา จำนวนครั้ง วัน หมายเหตุ
ลาป่วย - - 
ลากิจ ๑ ๑ ไปธนาคาร
ขาด - - 
มาสาย - - 
อื่นๆ - - 
รวม ๑ ๑ 
ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่ภาคเรียนที่ ๑ - ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๑
ผลงานด้านการจัดการเรียนการสอน
๑. สอนจำนวน  ๕  รายวิชาได้แก่
ภาคเรียนที่ รหัสวิชา ชื่อวิชา ชั้น จำนวนคาบ/สัปดาห์ จำนวนนักเรียน
๑ ว๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.๓/๑-๓/๔ ๑๒ ๑๐๐
 ว๔๐๑๐๑ ฟิสิกส์ ๑ ม.๔/๑-๔/๒ ๖ ๗๕
 ค๓๒๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.๒ ม.๒/๑-๒/๓ ๒ ๔๕
 ค๓๓๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.๓ ม.๓/๑-๓/๔ ๒ ๓๐
๒ ว๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.๓/๑-๓/๔ ๑๒ ๑๐๐
 ว๔๐๑๐๒ ฟิสิกส์ ๒ ม.๔/๑-๔/๒ ๖ ๗๓
 ว๔๓๒๐๒  ไดโนเสาร์ของไทย ม.๖/๒-๖/๓ ๒ ๕๐

๒.   การจัดทำกำหนดการสอน
รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.๓  กำหนดการสอน   ส่ง            ไม่ส่ง
รายวิชาฟิสิกส์ ๑    กำหนดการสอน   ส่ง            ไม่ส่ง
รายวิชาฟิสิกส์ ๒    กำหนดการสอน   ส่ง            ไม่ส่ง

๓. งานวิจัยในชั้นเรียนได้จัดทำ ๑ รายการ คือ
                     ๓.๑ เรื่องการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง “การพัฒนาทักษะการค้นคว้าความรู้
                            วิทยาศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๓
 

๔. สื่อการสอนที่ได้จัดทำ  ๑๓  รายการ คือ
   ๔.๑ Power point เรื่องการเคลื่อนที่แบบวงกลม
๔.๒ Power point เรื่องแบบโพรเจกไทล์
๔.๓ Power point เรื่องแบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย
๔.๔ Power point เรื่องโมเมนตัมและการดล
๔.๕ Power point เรื่องการเคลื่อนที่แบบหมุน
๔.๖ Power point เรื่องสภาพสมดุล
๔.๗ Power point เรื่องไฟฟ้าและพลังงาน
๔.๘ Power point เรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
๔.๙ Power point เรื่องอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
๔.๑๐ Power point เรื่องอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
๔.๑๑ Power point เรื่องไพ่ระบบสุริยะ
๔.๑๒ Power point เรื่องดวงจันทร์และดวงอาทิตย์
๔.๑๓ Power point เรื่องเอกภพ
            
             ๕.  การบริหารจัดการเรียนการสอนรายบุคคล
      ๕.๑ ด้านงบประมาณ (IDQ plane)
     ดำเนินการแล้ว      อยู่ระหว่างดำเนินการ งบประมาณ คงเหลือ   -    บาท
              ผลที่เกิดขึ้น    
ด้านปริมาณ ๑.  มีสื่อการสอนด้าน ICT วิชาฟิสิกส์ ม.๔  จำนวน ๖ เรื่อง
                    ๒. มีสื่อการสอนด้าน ICT วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.๓  จำนวน ๗ เรื่อง
         ๓.  มีแผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.๓  จำนวน ๕ หน่วย
                           ละๆ ๑ เล่ม
       ๔.  มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑
             หน่วย จำนวน ๔ แผน ๑ เล่ม หน่วยเรื่อง “ดำเนินวิถีชีวิตประจำวัน บน
             ถนนแห่งความพอเพียง”
      ๕.  มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design  จำนวน ๑ หน่วย
      ๖.  มีวิจัยในชั้นเรียน จำนวน ๑ เรื่อง เรื่องการพัฒนาทักษะการค้นคว้าความรู้
            วิทยาศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๓   
                 

                 ๗.  มีผลงานนักเรียนจำนวน  ๔  ชิ้น ในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.๓ ได้แก่
                                                  ปฏิทินเทคนิคการประหยัดพลังงานไฟฟ้า , ชิ้นงานหน่วยที่ ๑ – ๕ ,
                                                  โครงงานวิทยาศาสตร์,ชิ้นงานแผนบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
      ๘.  มีห้องวิทยาศาสตร์ ๑ ห้อง ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 
            ด้านคุณภาพ    ๑.  นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร์
                        ๒.  นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีพื้นฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์และไดโนเสาร์
                              ของไทย
                        ๓.  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ ๘๐
              ๖.   การจัดกิจกรรมด้านบูรณาการการเรียนการสอนหรือกิจกรรมนักเรียน(อาทิ เศรษฐกิจพอเพียง/
       ICT/ส่งเสริมการอ่าน/ การใช้แหล่งเรียนรู้ในและนอกโรงเรียน/การนำเสนอนิทรรศการฯ  
       (ระบุกิจกรรม)
                    ๑.  จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฐานเศรษฐกิจพอเพียง ๒๖  ฐานการเรียนรู้ของนักเรียนชั้น
                          มัธยมศึกษาปีที่ ๕/๒ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๑
๗.   การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนดังนี้
๑.  ชุมนุมเทเบิลเทนนิส 
      ผลงาน  ๑.  นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์
             ๒. นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีทักษะ และรู้ กฎ กติกา เทคนิควิธีเล่นที่ถูกต้อง
             ๓.  นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามคุณลักษณะอันพึง
                         ประสงค์ของโรงเรียน ข้อที่ ๒ เป็นบุคคลใฝ่เรียนรู้
๒.  ลูกเสือ-เนตรนารี ม.๓
       ผลงาน ๑.  นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีความซื่อสัตย์สุจริต กล้าหาญอดทน เชื่อมั่นในตนเอง
                   ๒.  นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีระเบียบ วินัย ความสามัคคี เห็นอกเห็นใจผู้อื่น
            ๓.  นักเรียนร้อยละ ๘๐ มีความเสียสละบำเพ็ญตนเพื่อสาธารณะประโยชน์
     ๔.  นักเรียนร้อยละ ๘๐ สามารถแก้ปัญหาและมีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
๓.  แนะแนว ม.๕/๒
    ผลงาน ๑.  นักเรียนร้อยละ ๘๐ รู้จักตนเองและค้นพบความถนัดของตน
      ๒. นักเรียนร้อยละ ๘๐ ได้รับการช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
๔.  ฐานเศรษฐกิจพอเพียง
      ผลงาน  ๑.  นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
                พอเพียง
             ๒. นักเรียนร้อยละ ๘๐ สามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้
                ในการดำรงชีวิตได้
                 ๓.  นักเรียนร้อยละ ๘๐ สามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปขยายผลสู่
                          ครอบครัวชุมชนและสังคมได้
๘. จำนวนครั้งของการเข้าสอนแทน    ๑๕  ครั้ง (ตรวจสอบตามแบบรายงานผลสอนแทนที่
       งานจัดการเรียนการสอน)
๙. การจัดบรรยากาศทางการเรียนรู้ห้อง ๓๒๖
๑.  จัดสัญลักษณ์สถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ผนังหน้าห้อง
๒.  ประตูทางเข้าห้องเรียนมีป้ายสถิติจำนวนแสดงจำนวนนักเรียนและข้อความต้อนรับ
๓.  ประตูทางออกมีป้ายนิเทศเรื่องระบบสุริยะจักรวาล
๔.  ผนังหน้าห้องเรียนด้านขวามือมีบอร์ดความรู้เรื่องไดโนเสาร์
๕.  ผนังหลังห้องเรียนมีป้ายสูตรฟิสิกส์
๖.  หน้าต่างมีความรู้เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม
 ๗.  ผนังหน้าห้องด้านซ้ายมือติดป้ายเวรพัฒนาเขตงานและเวรทำความสะอาดประจำวัน
                     ๘. จัดโต๊ะเก้าอี้อย่างเป็นระเบียบและเพียงพอกับจำนวนนักเรียน
           ๑๐.  วิธีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญของตนเอง ที่ถือได้ว่าประสบผลสำเร็จ
     ๑.  การสอนแบบค้นพบความรู้ด้วยตนเอง
     ๒.  การสอนแบบทดลอง
     ๓.  การสอนแบบเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
                     ๔.  การสอนแบบโครงงาน
           ๑๑.  ผลงานดีเด่นในด้านการจัดการเรียนการสอน
        ๑.  ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สกว . ไปฝึกอบรมการทำวิจัยที่พิพิธภัณฑ์สิริธร กาฬสินธ์
๒. เป็นครูแกนนำปฏิรูปการเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์ช่วงชั้นที่ ๓ 
                                                                ตอนที่ ๒
รายงานผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษา
ตารางที่ ๑ แสดงจำนวนนักเรียนแต่ละระดับผลการเรียน จำแนกตามรายวิชาที่สอน ภาคเรียนที่ ๑
รายวิชา ระดับผลการเรียน
 ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ
 ฟิสิกส์ ๑  ม.๔/๑ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๗.๘๙ ๑ ๒.๖๓ ๑ ๒.๖๓ ๒๑ ๕๕.๒๖ ๒ ๕.๒๖ ๑๐ ๒๖.๓๑ ๐ ๐.๐๐
 ฟิสิกส์ ๑  ม.๔/๒ ๓ ๗.๘๙ ๒ ๕.๒๖ ๕ ๑๓.๑๕ ๒ ๕.๒๖ ๑๓ ๓๔.๒๑ ๒ ๕.๒๖ ๔ ๑๐.๕๒ ๒ ๕.๒๖
เฉลี่ย ๗.๘๙ ๖.๕๘ ๗.๘๙ ๓.๙๔ ๔๔.๗๓ ๕.๒๖ ๑๘.๔๑ ๕.๒๖
             สรุปผล    
             นักเรียนส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ  ๔๔.๗๓   มีระดับผลการเรียน  ๒
             จุดเด่น  นักเรียนตั้งใจเรียนและมีความพยายามเรียนให้ได้
             จุดที่ควรพัฒนา  นักเรียนไม่ค่อยมีพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพราะเป็นวิชาที่
                           ต้องนำมาใช้ในการเรียนและการคิดคำนวณทำให้ได้ผลการเรียนที่ต่ำ
วิธีการพัฒนา  การสอนซ่อมเสริม การให้ฝึกคิดฝึกทำใบงาน แบบฝึกหัด ข้อสอบบ่อยๆ และอ่าน
                       หนังสือให้มากขึ้น 
ตารางที่ ๒ แสดงจำนวนนักเรียนแต่ละระดับผลการเรียน จำแนกตามรายวิชาที่สอน ภาคเรียนที่ ๒
รายวิชา ระดับผลการเรียน
 ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ
วิทยาศาสตร์ ม. ๓/๑ ๖ ๑๖.๖๗ ๕ ๑๓.๘๙ ๙ ๒๕.๐๐ ๙ ๒๕.๐๐ ๕ ๑๓.๘๙ ๒ ๕.๕๕ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐
วิทยาศาสตร์ ม. ๓/๒ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๘.๘๒ ๔ ๑๑.๗๕ ๕ ๑๔.๗๑ ๖ ๑๗.๕๕ ๗ ๒๐.๕๙ ๗ ๒๐.๕๙ ๒ ๕.๘๘
วิทยาศาสตร์ ม. ๓/๓ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๖.๖๗ ๒ ๑๐.๐๐ ๗ ๒๓.๓๓ ๘ ๒๖.๖๗ ๔ ๑๓.๓๓ ๔ ๑๓.๓๓ ๒ ๖.๖๗
ฟิสิกส์ ๒ ม.๔/๑ ๖ ๑๖.๓๘ ๕ ๑๒.๘๒ ๓ ๗.๖๙ ๒ ๕.๑๓ ๕ ๑๒.๘๒ ๕ ๑๒.๘๒ ๗ ๑๗.๙๕ ๖ ๑๕.๓๘
ฟิสิกส์ ๒ ม.๔/๒ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๒.๘๕ ๓ ๘.๕๗ ๕ ๑๗.๑๔ ๑ ๒.๘๕ ๕ ๑๗.๑๔ ๑๐ ๒๘.๕๗ ๘ ๒๒.๘๖
ไดโนเสาร์ไทย ม.๖ ๕ ๑๔.๗๑ ๔ ๑๑.๗๕ ๑๑ ๓๒.๓๕ ๙ ๒๕.๔๗ ๕ ๑๔.๗๑ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐
เฉลี่ย ๗.๙๖ ๙.๔๖ ๑๕.๘๙ ๑๘.๔๖ ๑๔.๗๔ ๑๑.๕๗ ๑๓.๔๐ ๘.๔๓
สรุปผล    นักเรียนส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ   ๑๘.๔๖    มีระดับผลการเรียน   ๒.๕
จุดเด่น    นักเรียนมีความสนใจในเนื้อหาวิชาที่จะเรียน
จุดที่ควรพัฒนา  กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์ยังไม่ค่อย
             หลากหลาย ขาดอุปกรณ์การทดลองบางอย่าง และนักเรียนไม่ค่อยได้ปฏิบัติจริง
              อีกทั้งบางชั่วโมงที่มีเรียนตรงกับการจัดกิจกรรมทำให้ผลการเรียนค่อนข้างต่ำ วิธีการพัฒนา  จัดกิจกรรมหลากหลายแปลกใหม่กระตุ้นความสนใจ ให้ปฏิบัติจริง ทดลองมากขึ้น
 
ตารางที่ ๓ แสดงจำนวนนักเรียนแต่ละระดับผลการเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๒ ภาคเรียนที่ ๑
รายวิชา ระดับผลการเรียน
 ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ
 ภาษาไทย ๒๑ ๕๖.๗๕ ๙ ๒๔.๓๒ ๕ ๑๕.๗๙ ๑ ๒.๗๐ ๑ ๒.๗๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐
 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ๑ ๒.๗๐ ๗ ๑๘.๙๑ ๑๒ ๓๒.๔๓ ๑๒ ๓๒.๔๓ ๓ ๘.๑๐ ๒ ๕.๔๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐
 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๐ ๐.๐๐ ๑ ๒.๗๐ ๒ ๕.๔๐ ๗ ๑๘.๙๑ ๑๑ ๒๙.๗๒ ๘ ๒๑.๖๒ ๘ ๒๑.๖๒ ๐ ๐.๐๐
ฟิสิกส์ ๑ ๑ ๒.๗๐ ๕ ๑๓.๕๑ ๗ ๑๘.๙๑ ๔ ๑๐.๘๑ ๖ ๑๕.๗๘ ๓ ๘.๑๐ ๑๑ ๒๙.๗๒ ๐ ๐.๐๐
วิทยาศาสตร์ ๓ ๘.๑๐ ๖ ๑๕.๗๘ ๖ ๑๕.๗๘ ๔ ๑๐.๘๑ ๕ ๑๕.๗๙ ๑๒ ๓๒.๔๓ ๑ ๒.๗๐ ๐ ๐.๐๐
เคมี ๑ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๒.๗๐ ๖ ๑๕.๗๘ ๓ ๘.๑๐ ๑๐ ๒๗.๐๒ ๘ ๒๑.๖๒ ๔ ๑๐.๘๑ ๕ ๑๕.๗๙
ชีววิทยา ๑ ๖ ๑๕.๗๘ ๕ ๑๕.๗๙ ๕ ๑๕.๗๙ ๓ ๘.๑๐ ๕ ๑๕.๗๙ ๗ ๑๘.๙๑ ๖ ๑๕.๗๘ ๐ ๐.๐๐
สังคมศึกษาฯ ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๕.๗๙ ๑๘ ๔๘.๖๔ ๑๐ ๒๗.๐๒ ๕ ๑๕.๗๙ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐
พระพุทธศาสนา ๖ ๑๕.๗๘ ๙ ๒๔.๓๒ ๑ ๒.๗๐ ๗ ๑๘.๙๑ ๑๐ ๒๗.๐๒ ๓ ๘.๑๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐
สุขศึกษาและพลศึกษา ๓๗ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐
ศิลปะ ๒๐ ๕๔.๐๕ ๙ ๒๔.๓๒ ๗ ๑๘.๙๑ ๑ ๒.๗๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐
เกษตร ๑๘ ๔๘.๖๔ ๑๔ ๓๗.๘๓ ๕ ๑๕.๗๙ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐
คอมพิวเตอร์ ๒๒ ๕๙.๔๕ ๖ ๑๕.๗๘ ๖ ๑๕.๗๘ ๒ ๕.๔๐ ๑ ๒.๗๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๘๑ ๗ ๑๘.๙๑ ๑๐ ๒๗.๐๒ ๑๐ ๒๗.๐๒ ๕ ๑๕.๗๙ ๑ ๒.๗๐
ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ๐ ๐.๐๐ ๒ ๕.๔๐ ๔ ๑๐.๘๑ ๘ ๒๑.๖๒ ๑๕ ๔๐.๕๔ ๕ ๑๕.๗๙ ๓ ๘.๑๐ ๐ ๐.๐๐
เฉลี่ย ๒๔.๒๖ ๑๔.๔๗ ๑๖.๒๒ ๑๒.๔๒ ๑๕.๑๙ ๑๐.๕๙ ๖.๙๖ ๑.๒๓
สรุปผล 
นักเรียนส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ   ๒๔.๒๖   มีระดับผลการเรียน   ๔
จุดเด่น  นักเรียนมีผลการเรียนวิชาที่ได้ลงมือปฏิบัติสูง  เช่น วิชาศิลปะ การงานอาชีพและ
              เทคโนโลยี  สุขศึกษาและพลศึกษา  ห้องสมุด
จุดที่ควรพัฒนา นักเรียนมีผลการเรียนวิชาต้องคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความจำการคำนวณต่ำ  เช่น
                          วิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ
วิธีการพัฒนา  การสอนซ่อมเสริม และจัดกิจกรรมที่หลากหลายที่กระตุ้นการคิดเสริมทักษะ
                       คำนวณ จัดค่ายวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย

 


 
ตารางที่ ๔ แสดงจำนวนนักเรียนแต่ละระดับผลการเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕/๒ ภาคเรียนที่ ๒
รายวิชา ระดับผลการเรียน
 ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ
 ภาษาไทย                
 คณิตศาสตร์พื้นฐาน                
 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม                
ฟิสิกส์ ๒                
วิทยาศาสตร์                
เคมี ๒                
ชีววิทยา ๒                
สังคมศึกษาฯ                
พระพุทธศาสนา                
สุขศึกษาและพลศึกษา                
ศิลปะ                
เกษตร                
คอมพิวเตอร์                
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน                
ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม                
เฉลี่ย        
สรุปผล 
นักเรียนส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ      มีระดับผลการเรียน  
จุดเด่น  นักเรียนมีผลการเรียนวิชาที่ได้ลงมือปฏิบัติสูง  เช่น วิชาศิลปะ การงานอาชีพและ
              เทคโนโลยี  สุขศึกษาและพลศึกษา  ห้องสมุด
จุดที่ควรพัฒนา นักเรียนมีผลการเรียนวิชาต้องคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ความจำการคำนวณต่ำ  เช่น
                          วิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ
วิธีการพัฒนา  การสอนซ่อมเสริม และจัดกิจกรรมที่หลากหลายที่กระตุ้นการคิดเสริมทักษะ
                        คำนวณ จัดค่ายวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย


ตารางที่ ๕  แสดงจำนวนนักเรียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและ
                  ค่านิยมที่พึง ประสงค์
ตัวบ่งชี้ที่ ๑
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.  มาโรงเรียนทันเวลา ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๙ ๒๖.๓๒ ๒๘ ๗๓.๖๘ ๔
๒. ปฏิบัติตามระเบียบโรงเรียน ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๓.๑๖ ๑๑ ๓๑.๕๗ ๒๑ ๕๕.๒๗ ๔
๓. รับผิดชอบงานที่ครูมอบหมาย ๐ ๐.๐๐ ๑๙ ๕๒.๖๔ ๙ ๒๓.๖๙ ๙ ๒๓.๖๗ ๒
๔. แต่งกายเรียบร้อย ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๘ ๒๓.๖๘ ๒๙ ๗๖.๓๒ ๔
๕. สุภาพมีสัมมาคารวะ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๖ ๑๕.๗๙ ๓๑ ๘๔.๒๑ ๔
๖.  มีมารยาท ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๓.๑๖ ๓๒ ๘๖.๘๔ ๔
๗. ปฏิบัติตามหลักธรรมศาสนา ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๗.๘๙ ๓๔ ๙๒.๑๑ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๙.๔๐ ๒๐.๓๐ ๗๐.๓๐ ๔

ตัวบ่งชี้ที่ ๒
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.  ไม่ลอกการบ้านลอกงาน ๖ ๑๕.๗๘ ๑๔ ๓๙.๔๘ ๑๒ ๓๑.๕๘ ๕ ๑๓.๑๖ ๒
๒. ไม่พูดโกหก ๕ ๑๓.๑๖ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๑๕ ๔๒.๑๑ ๗ ๑๘.๔๒ ๓
๓. ไม่ลักขโมยของผู้อื่น ๐ ๐.๐๐ ๘ ๒๑.๐๕ ๑๓ ๓๖.๘๔ ๑๖ ๔๒.๑๑ ๔
เฉลี่ย ๑๔.๔๗ ๒๘.๙๕ ๓๖.๘๔ ๒๔.๕๖ ๓

ตัวบ่งชี้ที่ ๓
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑. เคารพพ่อแม่ผู้ปกครองผู้มีบุญคุณ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๖ ๑๘.๔๒ ๓๑ ๘๑.๕๘ ๔
๒.ระลึกถึงพระคุณครูอาจารย์ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๓.๑๖ ๓๒ ๘๖.๘๔ ๔
๓.ทำตนเป็นประโยชน์ต่อชุมชน ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๗.๘๙ ๓๔ ๙๒.๑๑ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๓.๑๖ ๘๖.๘๔ ๔


ตัวบ่งชี้ที่ ๔
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑. เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ๐ ๐.๐๐ ๖ ๑๕.๗๙ ๘ ๒๑.๐๕ ๒๓ ๖๓.๑๖ ๔
๒. มีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่น ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๙ ๒๓.๖๘ ๒๔ ๖๕.๗๙ ๔
๓. แบ่งปันสิ่งของให้ผู้อื่น ๐ ๐.๐๐ ๒ ๕.๒๖ ๔ ๑๐.๕๓ ๓๑ ๘๔.๒๑ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๑๐.๕๓ ๑๘.๔๒ ๗๑.๐๕ ๔

ตัวบ่งชี้ที่ ๕
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.  ใช้สิ่งของอย่างประหยัด ๔ ๑๐.๕๓ ๗ ๑๘.๔๒ ๑๙ ๕๒.๖๓ ๗ ๑๘.๔๒ ๓
๒. ใช้อุปกรณ์การเรียนประหยัด ๖ ๑๕.๗๙ ๕ ๑๓.๑๖ ๑๖ ๔๔.๗๔ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๓
๓. เข้าร่วมกิจกรรมการประหยัด ๐ ๐.๐๐ ๒ ๕.๒๖ ๖ ๑๕.๗๙ ๒๙ ๗๘.๙๕ ๔
๔. ใช้ไฟน้ำโรงเรียนอย่างประหยัด ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๓.๑๖ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๒๓ ๖๐.๕๓ ๔
เฉลี่ย ๑๓.๑๖ ๑๒.๕๐ ๓๔.๘๗ ๔๖.๐๖ ๔

ตัวบ่งชี้ที่ ๖
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.  สนใจประเพณีท้องถิ่น ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑๑ ๒๘.๙๕ ๒๖ ๗๑.๐๕ ๔
๒.เข้าร่วมงานส้มโอประเพณีชุมชน ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๓๓ ๘๙.๔๗ ๔
๓. มีผลงานด้านศิลปะในชุมชน ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๓.๑๖ ๑๔ ๓๖.๘๔ ๑๘ ๕๐.๐๐ ๔
๔. มีความเป็นไทย ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๖ ๑๕.๗๙ ๓๑ ๘๔.๒๑ ๔
๕.เผยแพร่วัฒนธรรมท้องถิ่น ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๙ ๒๓.๖๘ ๒๔ ๖๕.๗๙ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๑๑.๘๕ ๒๓.๑๕ ๗๒.๑๐ ๔
สรุปผล
นักเรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะตามมาตรฐานที่  ๑   อยู่ในระดับ  ๔  (ดีมาก)
จุดเด่น  นักเรียนมีความกตัญญูกตเวที ประหยัด และปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ
จุดที่ควรพัฒนา  นักเรียนไม่มีความซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ เช่น การลอกการบ้าน ไม่ส่งงานที่ครูสั่ง
วิธีการพัฒนา  บอกผลเสียของการลอกการบ้านและไม่ส่งงานอาจทำให้ทำข้อสอบไม่ได้ส่งผลให้ติด๐และ ร

ตารางที่ ๖  แสดงจำนวนนักเรียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนา
                  สิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ ๑
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.ใช้และรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่า ๐ ๐.๐๐ ๖ ๑๕.๗๙ ๕ ๑๓.๑๖ ๒๖ ๗๑.๐๕ ๔
๒.ตระหนัก รู้คุณค่าด้านสิ่งแวดล้อม ๐ ๐.๐๐ ๒๙ ๗๘.๙๕ ๔ ๑๐.๕๓ ๔ ๑๐.๕๓ ๒
๓.ร่วมพัฒนาเขตพื้นที่ สวนหย่อม ห้องเรียน ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๗ ๑๘.๔๒ ๓๐ ๘๑.๕๘ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๓๑.๕๘ ๑๔.๐๔ ๕๔.๓๘ ๔

ตัวบ่งชี้ที่ ๒
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนชุมชน ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๘ ๒๑.๐๕ ๒๙ ๗๘.๙๕ ๔
๒.เข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์พัฒนาสิ่งแวดล้อม ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๓.๑๖ ๓๒ ๘๖.๘๔ ๔
๓.ให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๓.๑๖ ๓๒ ๘๖.๘๔ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๕.๗๙ ๘๔.๒๑ ๔

สรุปผล 
นักเรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะตามมาตรฐานที่  ๒  อยู่ในระดับ  ๔ (ดีมาก)
จุดเด่น  นักเรียนเข้าร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชนอย่างสม่ำเสมอ เช่น
             การพัฒนาเขตพื้นที่รับผิดชอบบริเวณสนามฟุตบอล  การทำความสะอาดห้องเรียน ห้อง  
                          ๓๒๖ การพัฒนาสถานที่สำคัญในหมู่บ้าน เช่นวัด หอประชุมประจำหมู่บ้าน ตามโครงการ
                          ร้อยรักสามัคคีทำความดีถวายในหลวง
จุดที่ควรพัฒนา  นักเรียนยังขาดจิตสำนึกในการอนุรักษ์และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม เช่น ทิ้งขยะไม่
                            เป็นที่ ไม่ทิ้งลงถัง เวลาเห็นขยะไม่เก็บ
วิธีการพัฒนา  ปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมโดยการสอนในรายวิชา
                                      วิทยาศาสตร์ วิชาลูกเสือ-เนตรนารีและสอดแทรกในกิจกรรมแนะแนว  โดยบอก
                                       ผลเสียของการที่ไม่ช่วยกันอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมว่ามีผลกระทบต่อมนุษย์
                                       และสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนโลกอย่างไร      
ตารางที่ ๗  แสดงจำนวนนักเรียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน
                   สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
 ตัวบ่งชี้ที่ ๑
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.วางแผนการทำงานเป็นขั้นตอน ๖ ๑๕.๗๙ ๗ ๑๘.๔๒ ๑๕ ๔๒.๑๑ ๙ ๒๓.๖๘ ๓
๒.ทำงานตามแผน ผลงานบรรลุเป้าหมาย ๗ ๑๘.๔๒ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๖ ๔๔.๗๔ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๓
๓.มีการประเมินผลการทำงาน ๙ ๒๓.๖๘ ๓ ๗.๘๙ ๑๙ ๕๒.๖๓ ๕ ๑๓.๑๖ ๓
๔.ทำงานถูกต้อง รวดเร็ว งานมีคุณภาพ ๓ ๗.๘๙ ๕ ๑๓.๑๖ ๒๑ ๕๗.๘๙ ๘ ๒๑.๐๕ ๓
เฉลี่ย ๑๖.๔๔ ๑๒.๕๐ ๖๗.๖๖ ๒๑.๐๕ ๓

ตัวบ่งชี้ที่ ๒
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.อธิบายผลงานที่ได้ทั้งที่ดีและข้อบกพร่อง ๒ ๕.๒๖ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๗ ๔๗.๓๗ ๑๔ ๓๖.๘๔ ๓
๒.กระตือรือร้น มีความสุขในการทำงาน  ๐ ๐.๐๐ ๓ ๗.๘๙ ๒๔ ๖๕.๗๙ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๓
๓.ละเอียดรอบคอบมีเจตคติที่ดีต่องาน ๐ ๐.๐๐ ๘ ๒๑.๐๕ ๑๘ ๕๐.๐๐ ๑๑ ๒๘.๙๕ ๓
เฉลี่ย ๕.๒๖ ๑๓.๑๖ ๕๔.๓๘ ๓๐.๗๐ ๓

ตัวบ่งชี้ที่ ๓
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.รัก เต็มใจ พอใจในการทำงาน ๕ ๑๓.๑๖ ๓ ๗.๘๙ ๑๘ ๕๐.๐๐ ๑๑ ๒๘.๙๕ ๓
๒. ปรับปรุงพัฒนางานอย่างเต็มความสามารถ ๒ ๕.๒๖ ๕ ๑๓.๑๖ ๒๑ ๕๗.๘๙ ๙ ๒๓.๖๘ ๓
๓.พอใจภูมิใจผลงานตนเอง ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๒๖ ๗๑.๐๕ ๗ ๑๘.๔๒ ๓
เฉลี่ย ๙.๒๑ ๑๐.๕๓ ๕๙.๖๕ ๒๓.๖๘ ๓


ตัวบ่งชี้ที่ ๔
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.ร่วมกันทำงานเป็นกลุ่มเป็นทีมได้ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๗.๘๙ ๒๓ ๖๓.๑๖ ๑๑ ๒๘.๙๕ ๓
๒. แบ่งงานตามความถนัดความสนใจ ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๓.๑๖ ๑๖ ๔๔.๗๔ ๑๖ ๔๒.๑๑ ๓
๓.เป็นผู้นำและสมาชิกกลุ่มได้ ๓ ๗.๘๙ ๖ ๑๕.๗๙ ๑๔ ๓๙.๔๗ ๑๔ ๓๖.๘๔ ๓
๔.รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ๐ ๐.๐๐ ๙ ๒๓.๖๘ ๑๙ ๕๒.๖๓ ๙ ๒๓.๖๘ ๓
๕.แสดงความคิดเห็นรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น ๐ ๐.๐๐ ๘ ๒๑.๐๕ ๒๒ ๖๐.๕๓ ๗ ๑๘.๔๒ ๓
๖.เป็นกันเองกับคนในกลุ่ม ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑๑ ๓๑.๕๘ ๒๖ ๖๘.๔๒ ๔
เฉลี่ย ๗.๘๙ ๓๑.๙๖ ๔๘.๖๙ ๓๖.๔๐ ๓

ตัวบ่งชี้ที่ ๕
รายการ ระดับ mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.สามารถจำแนกอาชีพสุจริตและไม่สุจริตได้ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๗ ๑๘.๔๒ ๓๐ ๘๑.๕๘ ๔
๒. เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑๐ ๒๖.๓๑ ๒๗ ๗๓.๖๘ ๔
๓.เรียนรู้การทำงานจากประสบการณ์ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๗.๘๙ ๖ ๑๕.๗๙ ๒๘ ๗๖.๓๑ ๔
๔.บอกวิธีการประกอบอาชีพที่ตนสนใจ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๓.๑๖ ๓๒ ๘๖.๘๔ ๔
๕.พอใจ ภูมิใจอาชีพของครอบครัว ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๕.๒๖ ๓๕ ๙๔.๗๔ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๗.๘๙ ๑๕.๗๙ ๘๒.๖๓ ๔

สรุปผล 
นักเรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะตามมาตรฐานที่  ๓   อยู่ในระดับ  ๓  (ดี)
จุดเด่น  นักเรียนจำแนกอาชีพสุจริตและไม่สุจริตได้ รวมทั้งภูมิใจในอาชีพของครอบครัวที่ทำอยู่     
จุดที่ควรพัฒนา  นักเรียนไม่ช่วยกันทำงานไม่ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม มีคนทำคนเดียว
                            ทำให้งานที่ทำเสร็จไม่ทันส่งตามที่กำหนดและงานไม่ค่อยมีคุณภาพ 
วิธีการพัฒนาการ  ให้นักเรียนวางแผน แบ่งงานกันอย่างชัดเจน ทำงานที่ได้รับมอบหมายเต็มที่
                              สมาชิกในกลุ่มคอยปรึกษาหารือและให้ความช่วยเหลือกันเมื่อเกิดปัญหา และ
                              ร่วมกันภูมิใจในผลงานที่ได้
 
ตารางที่ ๘  แสดงจำนวนนักเรียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
                    คิดสังเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์
ตัวบ่งชี้ที่ ๑
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.จำแนกแยกแยะสิ่งต่างๆอย่างมีหลักเกณฑ์ ๖ ๑๕.๗๙ ๑๖ ๔๔.๗๔ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๕ ๑๓.๑๖ ๒
๒.จัดลำดับข้อมูลได้ถูกต้องเหมาะสม ๗ ๑๘.๔๒ ๑๘ ๕๐.๐๐ ๘ ๒๑.๐๕ ๔ ๑๐.๕๓ ๒
๓.เปรียบเทียบข้อมูลได้ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๕ ๔๒.๑๑ ๙ ๒๓.๖๗ ๙ ๒๓.๖๗ ๒
๔.สรุปความรู้ได้อย่างถูกต้อง ๖ ๑๕.๗๙ ๑๔ ๓๙.๔๗ ๑๑ ๒๘.๙๕ ๖ ๑๕.๗๙ ๒
๕.อธิบายเรื่องราวต่างๆได้อย่างมีเหตุผล ๒ ๕.๒๖ ๑๖ ๔๔.๗๔ ๑๒ ๓๑.๕๙ ๗ ๑๘.๔๒ ๒
๖.มีความคิดสร้างสรรค์ ๓ ๗.๘๙ ๑๑ ๓๑.๕๙ ๑๙ ๕๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๓
เฉลี่ย ๑๒.๒๘ ๔๒.๑๑ ๓๐.๒๖ ๑๕.๓๕ ๒

ตัวบ่งชี้ที่ ๒
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.คาดคะเนสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล ๘ ๒๑.๐๕ ๑๖ ๔๔.๗๔ ๗ ๑๘.๔๒ ๖ ๑๕.๗๙ ๒
๒.กำหนดจุดประสงค์ของเรื่องที่ศึกษาได้ ๒ ๕.๒๖ ๑๓ ๓๖.๘๔ ๑๖ ๔๒.๑๑ ๖ ๑๕.๗๙ ๓
๓.เลือกวิธีการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม ๔ ๑๐.๕๓ ๑๗ ๔๗.๓๗ ๑๓ ๔๒.๒๑ ๓ ๗.๘๙ ๓
เฉลี่ย ๑๒.๒๘ ๔๒.๙๘ ๑๔.๐๓ ๑๓.๑๖ ๓

ตัวบ่งชี้ที่ ๓
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.วิเคราะห์แนวทางในการแก้ไขปัญหาได้ ๖ ๑๕.๗๙ ๑๗ ๔๗.๓๗ ๗ ๑๘.๔๒ ๗ ๑๘.๔๒ ๒
๒.ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดแก้ปัญหา ๔ ๑๐.๕๓ ๑๔ ๓๙.๔๗ ๑๒ ๓๑.๕๘ ๗ ๑๘.๔๒ ๒
๓.รวบรวม จัดระบบข้อมูลได้ ๘ ๒๑.๐๕ ๑๘ ๕๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๗ ๑๘.๔๒ ๒
๔.สรุปและประเมินผลการแก้ปัญหาได้ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๕ ๔๒.๑๑ ๑๒ ๓๑.๕๘ ๖ ๑๕.๗๙ ๒
เฉลี่ย ๑๔.๔๘ ๔๔.๗๔ ๒๓.๐๓ ๑๗.๗๖ ๒


ตัวบ่งชี้ที่ ๔
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.รวบรวมเนื้อหาเดิมมาเป็นเนื้อหาใหม่ได้ ๒ ๕.๒๖ ๑๘ ๕๐.๐๐ ๙ ๒๓.๖๘ ๘ ๒๑.๐๕ ๒
๒.คิดนอกกรอบคิดสิ่งใหม่ๆ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๖ ๔๔.๗๔ ๑๑ ๒๘.๙๕ ๖ ๑๕.๗๙ ๒
๓.มีผลงานสร้างสรรค์ เช่น งานศิลปะ ๓ ๗.๘๙ ๑๖ ๔๔.๗๔ ๑๓ ๓๔.๒๑ ๕ ๑๓.๑๖ ๒
๔.มองโลกในแง่ดี ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๐ ๒๘.๙๕ ๒๓ ๖๐.๕๓ ๔
เฉลี่ย ๗.๘๙ ๓๗.๕๐ ๒๘.๙๕ ๒๗.๖๓ ๒

สรุปผล 
นักเรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะตามมาตรฐานที่  ๔  อยู่ในระดับ  ๒  (พอใช้)
จุดเด่น  นักเรียนมองโลกในแง่ดี
จุดที่ควรพัฒนา  นักเรียนไม่ค่อยคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ และไม่ค่อยมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
วิธีการพัฒนา  ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทุกรายวิชาให้มีใบงาน หรืองานที่ฝึกให้นักเรียน
                        คิดจนสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้ รวมทั้งจัดกิจกรรมเสริมต่างๆที่ฝึกให้นักเรียน
                       ได้คิดด้วยตนเองและแปลกใหม่ให้มากๆ
 
ตารางที่ ๙  แสดงจำนวนนักเรียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตาม
                   หลักสูตร
 ตัวบ่งชี้ที่ ๓
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.เสนอความคิด ผ่านการพูดเขียนสื่อความได้ ๓ ๗.๘๙ ๙ ๒๓.๖๘ ๑๗ ๔๗.๓๗ ๘ ๒๑.๐๕ ๓
๒.ใช้เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอได้ ๖ ๑๕.๗๙ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๑๖ ๔๔.๗๔ ๕ ๑๓.๑๖ ๓
เฉลี่ย ๑๑.๘๔ ๒๕.๐๐ ๔๖.๐๖ ๑๗.๑๑ ๓

ตัวบ่งชี้ที่ ๔
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.แสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟังได้ ๒ ๕.๒๖ ๒ ๕.๒๖ ๑๐ ๒๘.๙๕ ๒๓ ๖๐.๕๓ ๔
๒.แลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้อย่างเหมาะ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๓ ๓๖.๘๔ ๒๐ ๕๒.๖๓ ๔
๓.วิเคราะห์ วิจารเรื่องที่อ่านได้ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๗.๘๙ ๒๑ ๕๗.๘๙ ๑๓ ๓๔.๒๑ ๓
๔.เขียนบรรยายได้ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๕.๒๖ ๖ ๑๘.๔๒ ๒๙ ๗๖.๓๒ ๔
เฉลี่ย ๕.๒๖ ๗.๒๔ ๓๕.๕๓ ๕๕.๙๒ ๔

ตัวบ่งชี้ที่ ๕
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.ใช้คอมพิวเตอร์ค้นหาความรู้ได้ ๐ ๐.๐๐ ๖ ๑๕.๗๙ ๘ ๒๑.๐๕ ๒๓ ๖๓.๑๖ ๔
๒.นำเสนอข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ ๗ ๑๘.๔๒ ๑๖ ๔๒.๑๑ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๔ ๑๓.๑๖ ๒
๓.สร้างชิ้นงาน/โครงงานด้วยคอมพิวเตอร์ได้ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๓ ๓๔.๒๑ ๑๗ ๔๗.๓๗ ๓ ๗.๘๙ ๓
๔.ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการประเมินผลได้ ๙ ๒๓.๖๘ ๑๖ ๔๔.๗๔ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๒ ๕.๒๖ ๒
เฉลี่ย ๑๗.๕๔ ๓๔.๒๑ ๓๐.๒๗ ๒๒.๓๗ ๓
สรุปผล 
นักเรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะตามมาตรฐานที่  ๕  อยู่ในระดับ  ๓ (ดี)
จุดเด่น นักเรียนสามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารและใช้คอมพิวเตอร์ค้นคว้าหาความรู้ได้ดี
จุดที่ควรพัฒนา  นักเรียนไม่สามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้
วิธีการพัฒนา  จัดค่ายภาษาต่างประเทศ  และเชิญวิทยากรเจ้าของภาษาต่างประเทศมาสอนโดยตรง 
ตารางที่ ๑๐  แสดงจำนวนนักเรียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วย
                     ตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ตัวบ่งชี้ที่ ๑
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.อ่านหนังสือนอกหลักสูตร ๔ ๑๐.๕๓ ๗ ๑๘.๔๒ ๒๑ ๕๗.๘๙ ๕ ๑๓.๑๖ ๓
๒.อ่านวารสารหนังสือพิมพ์อยู่เสมอ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๒๖ ๗๑.๐๕ ๗ ๑๘.๔๒ ๓
๓.ค้นคว้าหาความรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน ๐ ๐.๐๐ ๗ ๑๘.๔๒ ๑๗ ๔๗.๓๗ ๑๓ ๓๔.๒๑ ๓
๔.สรุปประเด็นที่สำคัญจากการอ่านได้ ๓ ๗.๘๙ ๓ ๗.๘๙ ๑๙ ๕๒.๖๓ ๑๒ ๓๑.๕๘ ๓
เฉลี่ย ๙.๒๑ ๑๓.๘๒ ๕๗.๒๔ ๑๕.๗๙ ๓
ตัวบ่งชี้ที่ ๒
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.บอกแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียนได้ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๙ ๒๖.๓๒ ๒๘ ๗๓.๖๘ ๔
๒.เข้าห้องสมุดสม่ำเสมอเป็นประจำ ๐ ๐.๐๐ ๕ ๑๓.๑๖ ๑๓ ๓๖.๘๔ ๑๙ ๕๐.๐๐ ๔
๓.จดบันทึกอย่างเป็นระบบ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๐ ๒๘.๙๕ ๒๓ ๖๐.๕๓ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๑๑.๘๕ ๓๐.๗๐ ๖๑.๔๐ ๔

ตัวบ่งชี้ที่ ๓
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.ค้นพบวิธีการเรียนรู้ของตนเอง ๔ ๑๐.๕๓ ๗ ๑๘.๔๒ ๑๘ ๕๐.๐๐ ๘ ๒๑.๐๕ ๓
๒.แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นเสมอ ๕ ๑๓.๑๖ ๓ ๗.๘๙ ๑๙ ๕๒.๖๓ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๓
๓.นำความรู้ที่ได้มาพัฒนาตนเอง ๒ ๕.๒๖ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๔ ๓๙.๔๗ ๑๗ ๔๔.๗๔ ๔
๔.สนุก กระตือรือร้นในการเรียนรู้ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๘ ๒๓.๖๘ ๒๙ ๗๖.๓๒ ๔
เฉลี่ย ๙.๖๕ ๑๒.๒๘ ๔๑.๔๕ ๔๐.๐๓ ๔
สรุปผล   นักเรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะตามมาตรฐานที่  ๖  อยู่ในระดับ  ๔  (ดีมาก)
จุดเด่น  นักเรียนอ่านหนังสือเรียนและหนังสือเสริมการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ห้องสมุดและแหล่งอื่นๆ
จุดที่ควรพัฒนา นักเรียนไม่ค่อยนำความรู้ที่ได้จากการอ่านมาพัฒนาตนเอง
วิธีการพัฒนา  การจดบันทึกความรู้ที่ได้ลงในสมุดบันทึกรักการอ่านกันลืม เวลาที่จะนำความรู้ที่ได้ไปใช้
                        ประโยชน์ การอ่านเพียงอย่างเดียวอาจไมเพียงพอให้เราจำความรู้ที่ได้จากการอ่าน
ตารางที่ ๑๑  แสดงจำนวนนักเรียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพและสุขภาพจิตที่ดี
              ตัวบ่งชี้ที่ ๑
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๖ ๑๕.๗๙ ๓๑ ๘๔.๒๑ ๔
๒.ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๗.๘๙ ๓๔ ๙๒.๑๑ ๔
๓.ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้อย่างถูกต้อง ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๕.๒๖ ๓๕ ๙๔.๗๔ ๔
๔.เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาสุขภาพตามวัย ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๓๓ ๘๙.๔๗ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๙.๘๗ ๙๐.๑๓ ๔

ตัวบ่งชี้ที่ ๒
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๓๓ ๘๙.๔๗ ๔
๒.มีสมรรถภาพทางกายได้มาตรฐาน ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๗ ๑๘.๔๒ ๓๐ ๘๑.๕๘ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๔.๔๘ ๘๕.๕๓ ๔

ตัวบ่งชี้ที่ ๓
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.รู้เข้าใจโทษสิ่งเสพติดและอบายมุข ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๒๓ ๖๓.๑๖ ๑๔ ๓๖.๘๒ ๓
๒.มีทักษะการปฏิเสธสิ่งเสพติดและอบายมุข ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๙ ๕๒.๖๓ ๑๔ ๓๖.๘๔ ๓
๓.รู้จักเหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดและความรุนแรง ๐ ๐.๐๐ ๗ ๑๘.๔๒ ๑๗ ๔๗.๓๗ ๑๓ ๓๔.๒๑ ๓
๔.เข้าร่วมกิจกรรมคลายเครียด เช่น กีฬา ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๖ ๑๕.๗๙ ๓๑ ๘๔.๒๑ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๑๔.๔๘ ๔๔.๗๔ ๔๘.๐๒ ๔


ตัวบ่งชี้ที่ ๔
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.มีความกล้าแสดงออก ๓ ๗.๘๙ ๓ ๗.๘๙ ๒๑ ๕๗.๘๙ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๓
๒.รู้จักตนเอง ภูมิใจในตนเอง ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐.๕๓ ๒๔ ๖๕.๗๙ ๙ ๒๓.๖๘ ๓
๓.คุมอารมณ์และพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมได้ ๕ ๑๓.๑๖ ๔ ๑๐.๕๓ ๑๙ ๕๒.๖๓ ๙ ๒๓.๖๘ ๓
๔.เป็นแบบอย่างที่ดี ให้คำปรึกษาผู้อื่นได้ ๐ ๐.๐๐ ๘ ๒๑.๐๕ ๒๐ ๕๕.๒๖ ๙ ๒๓.๖๘ ๓
เฉลี่ย ๑๐.๕๓ ๑๒.๕๐ ๕๗.๘๙ ๒๔.๓๔ ๓

ตัวบ่งชี้ที่ ๕
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.ร่าเริง ยิ้มแย้ม แจ่มใส ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๗.๘๙ ๓๔ ๙๒.๑๑ ๔
๒.เข้าร่วมกิจกรรมกับเพื่อนตามวัย ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๖ ๑๕.๗๙ ๓๑ ๘๔.๒๑ ๔
๓.มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับครู เพื่อน ผู้อื่น ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๒๗ ๗๓.๖๘ ๔
๔.ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑๔ ๓๖.๘๔ ๒๓ ๖๓.๑๖ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๔๒.๕๐ ๗๘.๒๙ ๔

สรุปผล 
นักเรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะตามมาตรฐานที่  ๗  อยู่ในระดับ  ๔  (ดีมาก)
จุดเด่น  นักเรียนออกกำลังกายสม่ำเสมอ สุขภาพแข็งแรง ร่าเริง แจ่มใส ห่างไกลยาเสพติด
จุดที่ควรพัฒนา  นักเรียนไม่ค่อยกล้าแสดงออก
วิธีการพัฒนา ฝึกให้นักเรียนกล้าแสดงออกมากขึ้น เช่น การให้ออกมานำเสนองานหน้าชั้นเรียน
                       การแสดงบนเวที การจัดกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนปฏิบัติด้วยตนเอง

 

 

 


ตารางที่ ๑๒  แสดงจำนวนนักเรียนที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ ๘ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้าน
                      ศิลปะ ดนตรี และกีฬา 
 ตัวบ่งชี้ที่ ๑
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.เข้าร่วมกิจกรรมศิลปะ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑๑ ๒๘.๙๕ ๒๖ ๗๑.๐๕ ๔
๒.สร้างผลงานด้านศิลปะที่ตนเองภูมิใจ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๖ ๑๕.๗๙ ๓๑ ๘๔.๒๑ ๔
๓.แสดงความคิดเห็นงานศิลปะได้เหมาะสม ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๗.๘๙ ๓๔ ๙๒.๑๑ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๗.๕๔ ๘๒.๔๖ ๔

ตัวบ่งชี้ที่ ๒
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.เข้าร่วมกิจกรรมดนตรี/นาฏศิลป์ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๒๗ ๗๓.๖๘ ๑๐ ๒๖.๓๒ ๓
๒.มีความสามารถด้านดนตรีนาฏศิลป์ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๒๙ ๗๘.๙๕ ๘ ๒๑.๐๕ ๓
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๗๖.๓๒ ๒๓.๖๙ ๓

ตัวบ่งชี้ที่ ๓
รายการ ระดับ Mode
 ๑ ๒ ๓ ๔ 
 คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ คน ร้อยละ 
๑.เข้าร่วมกิจกรรมกีฬา/นันทนาการ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๕.๒๖ ๓๕ ๙๔.๗๔ ๔
๒.เป็นผู้ชมที่ดีมีน้ำใจเป็นนักกีฬา ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๙ ๒๓.๖๘ ๒๘ ๗๖.๓๒ ๔
เฉลี่ย ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๔.๔๗ ๘๕.๕๓ ๔

สรุปผล 
นักเรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะตามมาตรฐานที่ ๘  อยู่ในระดับ  ๔  (ดีมาก)
จุดเด่น นักเรียนมีผลงานด้านศิลปะและมีความสามารถด้านกีฬา
จุดที่ควรพัฒนา นักเรียนไม่มีพื้นฐานด้านการเล่นดนตรีและด้านนาฏศิลป์
วิธีการพัฒนา จัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้านดนตรี นาฏศิลป์ให้มากขึ้น  ตั้งชุมนุมดนตรี
                       นาฏศิลป์ หาวิทยากรที่มีความรู้ด้านดนตรี นาฏศิลป์มาสอนนักเรียนโดยตรง
 

 

 

 

 

 

 

ภาคผนวก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 365 คน กำลังออนไลน์