• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b90f7a8f462b1982dee23ec415223c91' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"296\" src=\"/files/u7314/spine.jpg\" height=\"183\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>ภาพจาก</strong> <span style=\"color: #000000\">: </span><a href=\"http://www.thailabonline.com/diseasegeneral/spine.jpg\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">http://www.thailabonline.com/diseasegeneral/spine.jpg</span></span></a><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>ชื่อภาษาไทย</strong> : โรคปวดกล้ามเนื้อหลัง\n</p>\n<p>\n<strong>ชื่อภาษาอังกฤษ</strong> : Musculotendinous Strain\n</p>\n<p>\n<strong>ชื่อย่อ</strong> : โรคปวดหลัง (Back pain)\n</p>\n<p>\n<strong>ผู้ค้นพบ</strong> :  ไม่ปรากฏผู้ค้นพบที่แน่ชัดแต่ได้มีการยื่นยันจากองค์กรอนามัยโรคแล้วว่าเป็นโรคชนิดหนึ่ง\n</p>\n<p>\n<strong>กลุ่มโรค</strong> : ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก\n</p>\n<p>\n<strong>ลักษณะทั่วไป</strong> : โรคปวดกล้ามเนื้อหลัง เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดของอาการปวดหลัง พบได้ตั้งแต่วัยหนุ่ม สาวเป็นต้นไป   เป็นภาวะที่ไม่มีอันตรายร้ายแรง และมักจะหายได้เอง แต่อาจเป็นๆ หาย ๆ  เรื้อรังได้\n</p>\n<p>\n<strong>แหล่งที่มาข้อมูล</strong> : <a href=\"http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm</span></a>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #ff0000\">สาเหตุ  อาการปวดหลัง</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u7314/pod.jpg\" height=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\">ภาพจาก : <a href=\"http://www.thaihealth.or.th/files/u4910/pod.jpg\"><span style=\"color: #000000\">http://www.thaihealth.or.th/files/u4910/pod.jpg</span></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        แพทย์ยังไม่สามารถหาหลักฐานยืนยันถึงต้นเหตุของอาการปวดหลังได้ มีเพียงร้อยละ 2-10 เท่านั้น ที่อาจมีต้นเหตุที่ยืนยันได้ เช่น ความพิการแต่กำเนิด , การติดเชื้อ , มะเร็ง การบาดเจ็บและโรคที่มีความผิดปกติในระบบเมตาบอลิซั่ม ของร่างกาย ผู้ป่วยเหล่านี้มักเป็นกลุ่มน้อย และมีอาการแสดงเฉพราะตามสาเหตุ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">        เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่สาเหตุที่พบบ่อยได้แก่</span> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. ความผิดปกติตั้งแต่กำเนิด</span>    <br />\nความผิดปกติของกระดูกสันหลังตั้งแต่กำเนิด อาจทำให้เกิดอาการปวดหลังตั้งแต่วัยเด็ก หรืออาจจะมาแสดงอาการในขณะที่อายุมากแล้วก็ได้ ซึ่งเป็นเพราะความเสื่อมสภาพที่เกิดขึ้นในภายหลัง โรคที่พบบ่อยในกลุ่มนี้ได้แก่โรคกระดูกสันหลังคด ซึ่งสามารถสังเกตได้ง่ายจากมี หลังเอียง หลังคด กระดูกสะบักสองข้างสูงไม่เท่ากัน  หน้าอกสองข้างนูนไม่เท่ากัน   \n</p>\n<p>\n            การรักษาโรคหลังคดมีรายละเอียดมาก ขึ้นอยู่กับความรุนแรงที่เป็น อายุของผู้ป่วย โดยมีจุดประสงค์ในการรักษาเพื่อพยายามทำให้กระดูกสันหลังตรงหรือไม่คดเพิ่มขึ้น ซึ่งมีวิธีรักษาหลายวิธี เช่น การออกกำลังกายกล้ามเนื้อ ใส่เฝือกหลัง ผ่าตัดกระดูกสันหลัง การเลือกวิธีรักษาจะแตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละคน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2. การใช้งานหลังที่ผิด</span>           <br />\nสาเหตุที่ทำให้ปวดหลังได้บ่อยที่สุด เกิดจากการทำงานที่ใช้หลังอย่างผิดวิธี เช่น การยกของหนักมาก ๆ ขึ้นจากพื้นในท่าก้มหลัง  การดันของหนัก ๆ เช่น โต๊ะ ตู้เตียง การนั่งก้มหลังทำงานนาน ๆ การนั่งขับรถเป็นระยะเวลานาน ซึ่งอาจจะทำให้เกิดอาการปวดหลังขึ้นมาทันทีหรือในวันสองวันหลังจากนั้น ซึ่งแบ่งได้เป็นสองกลุ่ม คือ        \n</p>\n<p>\n2.1 อาการปวดหลังจากกล้ามเนื้ออักเสบ <br />\nกล้ามเนื้อหลังเป็นส่วนที่ช่วยให้กำลังและความแข็งแรงในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ยืน เดิน และ ยกของ  กล้ามเนื้ออักเสบเกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อทำงานหนักมากเกินไปหรือใช้งานผิดท่า ซึ่งมีปัจจัยที่ทำให้อาการเป็นมากขึ้น ได้แก่ การใช้งานไม่เหมาะสม อ้วน การสูบบุหรี่ เมื่อเกิดกล้ามเนื้อหลังอักเสบจะทำให้ ปวด หลังแข็งเกร็ง ขยับเขยื้อนหลังไม่ได้ อาจมีอาการตัวเอียง เดินลำบาก มีแนวทางรักษาดังนี้              \n</p>\n<p>\n     - การนอนพัก ในท่าที่สบาย เช่น ท่านอนหงาย เข่างอเล็กน้อย โดยใช้หมอนใบเล็ก ๆ รองใต้เข่า หรือนอนตะแคงกอดหมอนข้าง หลีกเลี่ยงการนอนคว่ำเพราะทำให้หลังแอ่น และปวดมากขึ้น แต่ไม่ควรนอนพักนานเกินกว่า 2 – 4 วัน เพราะทำให้กล้ามเนื้อหลังอ่อนแอมากขึ้น และ หายช้ากว่าปกติ ยิ่งลับมาดำเนินชีวิตประจำวันได้เร็วเท่าไร อาการปวดหลังก็จะดีขึ้นเร็วเท่านั้น\n</p>\n<p>\n     - ให้ยารักษาตามอาการ ได้แก่ ยาลดความเจ็บปวด ลดการอักเสบ ยาคลายกล้ามเนื้อ\n</p>\n<p>\n     - การทำกายภาพบำบัด     \n</p>\n<p>\n2.2 หมอนรองกระดูกส่วนเอวกดทับเส้นประสาท                <br />\nหมอนรองกระดูก เป็นตัวทำให้เกิดความยืดหยุ่นของกระดูกสันหลัง และให้ความมั่นคงแข็งแรงกับสันหลัง เมื่ออายุมากขึ้น ส่วนประกอบที่เป็นน้ำภายในหมอนรองกระดูกจะลดลง ทำให้ความแข็งแรงและความยืดหยุ่นลดลง ถ้ามีแรงมากระทำต่อหมอนรองกระดูกในลักษณะเฉียง ๆ (ซึ่งมักจะเกิดในท่าก้มลงยกของหนัก) จะทำให้หมอนรองกระดูกแตก และเกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ ทำให้ปวดหลัง ในผู้ป่วยบางราย หมอนรองกระดูกที่แตกออกมาจะไปกดทับเส้นประสาททำให้เกิดอาการปวดหลัง ร่วมกับมีอาการปวดร้าวไปที่ขา ขาชา หรือ ขาอ่อนแรง ร่วมด้วย\n</p>\n<p>\n             ผู้ป่วยส่วนใหญ่หายได้ โดยวิธีรักษาแบบไม่ต้องผ่าตัด ซึ่งมีวิธีการรักษาคือ\n</p>\n<p>\n                  - นอนพัก แต่ไม่ควรนอนพักนานเกิน 2-3 วัน                     \n</p>\n<p>\n                  - รับประทานยาแก้ปวด ลดการอักเสบ ยาคลายกล้ามเนื้อ วิตามินบีบำรุงเส้นประสาท\n</p>\n<p>\n                  - ทำกายภาพบำบัด เช่น การดึงหลัง การอบหลังด้วยความร้อน หรือคลื่นเสียงอัลตร้า                  \n</p>\n<p>\n                  - การออกกำลังกายเพื่อบริหารกล้ามเนื้อหลังและหน้าท้อง ให้แข็งแรง                 \n</p>\n<p>\n            การผ่าตัดถือว่าเป็นวิธีรักษาวิธีสุดท้าย ซึ่งจะผ่าตัดเมื่อมีข้อบ่งชี้ที่ชัดเจน เช่น ปวดมากจนรบกวนต่อการดำเนิน-ชีวิตประจำวัน และรักษาด้วยวิธีไม่ผ่าตัดแล้วไม่ดีขึ้น หรือ ไม่สามารถกลั้นอุจจาระ ปัสสาวะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3. การติดเชื้อ</span>         <br />\n            ภาวะการติดเชื้อที่กระดูกสันหลังส่วนเอว มีสาเหตุคือเชื้อแบททีเรียกระจายมาตามกระแสเลือดแล้วไปที่กระดูกสันหลัง ทำให้มีไข้ขึ้น และมีอาการปวดหลังอย่างรุนแรง  การรักษาจำเป็นต้องให้การรักษาอย่างรวดเร็ว      \n</p>\n<p>\nเชื้อที่พบบ่อยอีกชนิดหนึ่งคือ เชื้อวัณโรค ซึ่งอาการจะค่อยเป็นค่อยไป อาการปวดหลังเพิ่มขึ้นทีละน้อย มีไข้ต่ำ ๆ ในตอนบ่าย น้ำหนักลดลง ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องก็จะทำให้หลังโก่ง และอาจจะเป็นอัมพาตได้ แต่ถ้าได้รับการวินิจฉัยและรักษาได้ทันก็จะหายเป็นปกติ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">4. กระดูกสันหลังเสื่อม</span><br />\n            เมื่ออายุมากขึ้น กระดูกสันหลังก็จะเสื่อมโทรมลงตามธรรมชาติ ซึ่งอาจแบ่งอาการของกระดูกสันหลังเสื่อม เป็น\n</p>\n<p>\n            ระยะข้อต่อหลวม เมื่อข้อเริ่มเสื่อมถึงจุดหนึ่งความแข็งแรงของข้อต่อกระดูกสันหลังจะลดลง ทำให้มีการเคลื่อนไหวของข้อต่อมากขึ้น (ข้อต่อหลวม) ทำให้เกิดอาการปวดหลัง ในช่วงเริ่มต้นมักจะมีอาการเวลาขยับตัวเปลี่ยนอิริยาบท เช่น นอนแล้วลุกขึ้นลำบาก แต่ถ้าข้อต่อหลวมมาก ก็จะมีอาการตลอดเวลา\n</p>\n<p>\nระยะข้อติดแข็ง (กระดูกงอก) ซึ่งเป็นระยะต่อมาที่ร่างกายมีกระบวนการซ่อมแซมตัวเองโดยการสร้างหินปูนมายึดเกาะข้อต่อให้แข็งแรงขึ้น อาการปวดที่เกิดขึ้นเนื่องจาก ข้อต่อหลวมก็จะหายไป แต่ถ้าหินปูนที่ร่างกายสร้างขึ้นมานั้นมีมากเกินไป จนกดทับเส้นประสาท ก็จะทำให้เกิดอาการปวดหลังอีก ซึ่งคราวนี้อาการปวดหลังมักจะเป็นเมื่อเริ่มออกเดินไปได้สักระยะหนึ่ง อาการปวดและชาที่ขาจะเป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ จนเดินไม่ไหวต้องหยุดเดินและนั่งพักอาการจึงจะดีขึ้น ระยะทางที่เดินได้โดยไม่ปวดจะสั้นลงเรื่อย ๆ ตามความรุนแรงของโรค\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">สรุป</span><span style=\"font-size: x-small; color: #000080; font-family: MS Sans Serif\"><span style=\"color: #0000ff\">สาเหตุอาการปวดหลัง</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif\">1.) การใช้กิริยาท่าทางต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันไม่ถูกต้อง <br />\n2.) ความเสื่อมของกระดูกและข้อจากวัยที่สูงขึ้น <br />\n3.) ขาดการออกกำลังกายหรือมีการเคลื่อนไหวที่จำกัด <br />\n4.) ความผิดปกติของกระดูกสันหลังแต่กำเนิด เช่น หลังคด หลังแอ่น <br />\n5.) การมีการอักเสบหรือติดเชื้อ เช่น วัณโรคของกระดูกสันหลัง <br />\n6.) การได้รับอุบัติเหตุ เช่น ตกจากที่สูง <br />\n7.) การมีเนื้องอกของประสาทไขสันหลังหรือมะเร็งที่แพร่กระจายมายังกระดูกสันหลัง <br />\n8.) อาการปวดร้าวมายังหลังจากโรคของอวัยวะในระบบอื่น ๆ เช่นนิ่วในไต เนื้องอกในอุ้งเชิงกราน <br />\n9.) ปัญหาที่ทำให้เกิดความตึงเครียด และความวิตกกังวลใน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #33cccc\">** ถ้ามีข้อสงสัยเกี่ยวกับอาการปวดหลัง แนวทางการรักษา และวิธีบริหารกล้ามเนื้อ ให้สอบถามกับแพทย์</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"> หรือ ศัลยแพทย์กระดูกและข้อ อีกครั้ง…. ** </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>แหล่งที่มาข้อมูล</strong> : <a href=\"http://www.geocities.com/phanomgon/knowlageDis/backpaincause\"><span style=\"color: #000000\">http://www.geocities.com/phanomgon/knowlageDis/backpaincause</span></a>\n</p>\n<p>\n                         หนังสือเรื่องรอบรู้เรื่องปวดหลังและโรคหมอนรองกระดูกสันหลัง\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><u>อาการของโรค</u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7314/15_back_pain_tips_4441_13.jpg\" height=\"450\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><strong>ภาพจาก</strong> : <span style=\"color: #000000\"> </span><a href=\"http://www.nstlearning.com/~km/?p=1847\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">www.nstlearning.com/<wbr></wbr>~km/?p=1847</span></span></a></span><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">           ผู้ป่วยจะรู้สึกปวดตรงกลางหลังส่วนล่าง (ตรงบริเวณกระเบนเหน็บ) ซึ่งอาจเกิดขึ้นเฉียบพลันหรือค่อย</span>เป็นทีละน้อย อาการปวดอาจเป็น อยู่ตลอดเวลา หรือปวดเฉพาะในท่าบางท่า การไอ จาม หรือบิดตัว เอี้ยวตัวอาจทำให้รู้สึกปวดมากขึ้น    โดยทั่วไปผู้ป่วยจะแข็งแรงดี และไม่มีอาการผิดปกติอื่น ๆร่วมด้วย\n</p>\n<p>\n      <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-frown.gif\" alt=\"Frown\" title=\"Frown\" /> <span style=\"color: #ff0000\">อาการสำคัญที่คนทำงานต้องตระหนักเนื่องจากเป็นอาการที่บ่งชี้ถึงความรุนแรงและพยาธิสภาพของต้นเหตุแห่งอาการปวด</span>      \n</p>\n<p>\n            - ปวดหลังรุนแรง\n</p>\n<p>\n            - ปวดหลังร้าวลงขา\n</p>\n<p>\n            - ปวดหลังรุนแรงร่วมกับอาการอ่อนแรง อาการช้าของขาและเท้า ระบบขับถ่ยปัสสาวะ อุจจาระผิดปกติ ควบคุมไม่ได้\n</p>\n<p>\n            - ปวดหลังร่วมกับอาการอ่อนกำลังของกล้ามเนื้อขาเป็นพักๆ พบในคนทำงานอายุเกิน 40 ปี\n</p>\n<p>\n            - ปวดหลังร่วมกับน้ำหนักลด คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ต้องคิดถึงการติดเชื้อเรื้อรัง , เนื้องอก\n</p>\n<p>\n            - ปวดหลังร่วมกับไข้ต้องคิดถึงการติดเชื้อเฉียบพลัน\n</p>\n<p>\n           \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #000000\"><strong>แหล่งที่มาข้อมูล</strong> :</span> <a href=\"http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm</span></span></a></span><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><u><strong><span style=\"color: #ff0000\">วิธีการรักษา</span></strong></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"425\" src=\"/files/u7314/backcare_diagrams.gif\" height=\"306\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><strong>ภาพจาก</strong> : </span><a href=\"http://tbn3.google.com/images?q=tbn:jyFPVAC2Gifb5M:http://i81.photobucket.com/albums\"><span style=\"color: #000000\">http://tbn3.google.com/images?q=tbn:jyFPVAC2Gifb5M:http://i81.photobucket.com/albums</span></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">การรักษา</span></span>\n</p>\n<p>\n1. สังเกตว่ามีสาเหตุจากอะไร แล้วแก้ไขเสีย เช่น ถ้าปวดหลังตอนตื่นนอน ก็อาจเกิดจากที่ <br />\n    นอนนุ่มไป หรือนอนเตียงสปริง ก็แก้ไขโดยนอนบนที่แข็งและเรียบแทนถ้าปวดหลังตอนเย็น <br />\n    ก็มักจะเกิดจากการนั่งตัวงอตัวเอียง หรือใส่รองเท้าส้นสูง ก็พยายามนั่งให้ถูกท่า หรือเปลี่ยน <br />\n    เป็นรองเท้าธรรมดาแทน ถ้าอ้วนไป ควรพยายามลดน้ำหนัก<br />\n2. ถ้ามีอาการปวดมาก    ให้นอนหงายบนพื้น แล้วใช้เท้าพาดบนเก้าอี้ให้เข่างอเป็นมุมฉาก  <br />\n    สักครู่หนึ่งก็อาจทุเลาได้ หรือจะใช้ยาหม่อง หรือน้ำมันระกำทานวด หรือใช้น้ำอุ่นประคบก็ได้  <br />\n    ถ้าไม่หาย ก็ให้ยาแก้ปวด เช่น แอสไพริน, พาราเซตามอล ครั้งละ 1-2 เม็ด     จะกินควบกับ <br />\n    ไดอะซีแพมขนาด 2 มก.ด้วยก็ได้ <br />\n    ถ้ายังไม่หาย อาจให้ยาคลายกล้ามเนื้อ เช่น เมโทคาร์บา มอล , คาริโซม่า ครั้งละ 1 เม็ด ซ้ำ<br />\n    ได้ทุก 6-8 ชั่วโมง   <br />\n    ผู้ป่วยควรนอนที่นอนแข็ง และหมั่นฝึก กายบริหารให้กล้ามเนื้อหลังแข็งแรง<br />\n3. ถ้าเป็นเรื้อรัง หรือมีอาการชาที่ขา หรือขาไม่มีแรง อาจเกิดจากสาเหตุอื่น ควรแนะนำ ผู้ป่วยไป<br />\n    โรงพยาบาล   อาจ ต้องเอกซเรย์หลัง หรือตรวจพิเศษอื่น ๆ และให้การรักษาตาม สาเหตุที่พบ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ข้อแนะนำ</span>\n</p>\n<p>\nอาการปวดหลังแบบนี้เป็นสิ่งที่พบได้บ่อยในหมู่ชาวไร่ชาวนา กรรมกรที่ทำงานหนัก และใน <br />\nหมู่คนที่ทำงานนั่งโต๊ะนาน ๆ  ซึ่งมักจะเข้าใจผิดว่า เป็นอาการของโรคไต โรคกษัย  และซื้อ <br />\nยาชุด ยาแก้กษัย  หรือยาแก้โรคไต  กินอย่างผิด ๆ ซึ่งบางครั้งอาจทำให้เกิดโทษได้  ดังนั้น <br />\nจึงควรแนะนำชาวบ้านเข้าใจถึง สาเหตุของอาการปวดหลัง  และควรใช้ยาเท่าที่จำเป็น <br />\nโดยทั่วไป การปวดหลังเนื่องจากกล้ามเนื้อมักจะปวดตรงกลางหลัง ส่วนโรคไตมักจะปวดที่สีข้าง  <br />\nและอาจมีไข้สูง หนาวสั่น หรือปัสสาวะขุ่นหรือแดงร่วมด้วย\n</p>\n<p>\n<strong>แหล่งที่มาข้อมูล</strong> : <a href=\"http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm</span></a>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><u>วิธีการป้องกัน</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7314/090603backp234.jpg\" height=\"300\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><strong>ภาพจาก</strong> <strong>:</strong> </span><a href=\"http://health2u.exteen.com/images/blog2009b/090603backp234.jpg\"><span style=\"color: #000000\">http://health2u.exteen.com/images/blog2009b/090603backp234.jpg</span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\">โรคปวดหลังป้องกันได้ไม่ยาก Back pain</span> \n</p>\n<p>\nโรคปวดหลังพบได้บ่อยรองจากโรคปวดหัว เมื่อคุณอายุมากอาจ จะต้อง <br />\nเผชิญกับโรคนี้ &quot;คิดป้องกันตอนนี้จะได้ไม่เป็นโรคปวดหลัง&quot; <br />\nสาเหตุของการปวดหลังนั้นมีมากมาย ขึ้นกับอายุของผู้ป่วย ในวัยหนุ่มสาวหรือกลางคน<br />\nส่วนใหญ่มักมีสาเหตุจากการอักเสบของเอ็น และกล้ามเนื้อบริเวณสันหลัง อาจเกิดจากการ<br />\nจัดท่าทางของร่างกายไม่ถูกต้อง เช่น นั่งหลังงอ, เดินหลังโก่ง หรือยกของหนักผิดวิธี ฯลฯ <br />\nการรักษาจึงเป็นเพียงการรับประทานยาเพื่อบรรเทาอาการอักเสบ แก้ปวด <br />\nการจัดท่าทางให้ถูกต้องและการบริหารกล้ามเนื้อเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง ก็จะเพียงพอ\n</p>\n<p>\nยังมีสาเหตุของการปวดหลังในวัยหนุ่มสาว และกลางคนที่พบได้ไม่น้อยเลยคือ <br />\nหมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาทขา ซึ่งจะทำให้มีอาการปวดหลังส่วนล่าง <br />\nปวดตะโพก ส่วนใหญ่จะร้าวลงขา มีบางรายอาจจะไม่ร้าวลงถึงต้นขา แต่อาการปวดจะ<br />\nยังคงอยู่แค่บริเวณตะโพกและหลังเท่านั้น ในรายเช่นนี้ อาการปวดมักจะเป็นมากขึ้น <br />\nเมื่อก้มหรือ ไอ , จาม และดีขึ้นเมื่อได้นอนราบ\n</p>\n<p>\nส่วนใหญ่ของผู้ป่วยที่มีอาการหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทนี้ สามารถวินิจฉัยได้จากการ<br />\nซักถามประวัติและตรวจร่างกาย, มีการตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาและการทำกายภาพบำบัด<br />\nค่อนข้างดี มีบางส่วนเท่านั้นที่อาการไม่ดีขึ้น ซึ่งต้องได้รับการยืนยันการวินิจฉัยโรค ด้วยการ<br />\nเอ็กซเรย์พิเศษอาจจะเป็นการฉีดสีเข้าบริเวณไขสันหลัง (Myelogram) หรือการเอ็กซเรย์<br />\nคอมพิวเตอร์แม่เหล็ก (MRI) ก็ได้ เมื่อยืนยันการวินิจฉัยได้แล้ว ก็สามารถให้การรักษาในขั้น<br />\nต่อไปได้ โดยอาจจะเป็นการฉีดยาเข้าบริเวณไขสันหลังหรือการผ่าตัดเอาหมอนรองกระดูกที่<br />\nทับเส้นประสาทนั้นออก\n</p>\n<p>\nส่วนในวัยสูงอายุ อาการปวดหลังมักมีสาเหตุจากการเสื่อมสภาพของกระดูกสันหลัง<br />\nเช่นกระดูกสันหลังงอกดทับเส้นประสาท หรือมีการเคลื่อนตัวของข้อกระดูกสันหลังออกจาก<br />\nตำแหน่งเดิม ซึ่งสามารถวินิจฉัยได้จากการซักประวัติ, ตรวจร่างกาย และเอ็กซเรย์ <br />\nการรักษาเบื้องต้นก็ยังคงเป็นการรับประทานยา, ใส่เสื้อรัดเอว, ทำกายภาพบำบัดเสียก่อน <br />\nถ้าอาการไม่ดีขึ้นหรือเป็นมากขึ้น ก็อาจจะพิจารณาเรื่องการผ่าตัดรักษา\n</p>\n<p>\nสาเหตุอื่นๆส่วนน้อย ที่ทำให้มีอาการปวดหลังได้ ก็คือ ปวดจากการร้าวของอวัยวะของ<br />\nช่องท้อง เช่น นิ่วที่ไต, ตับอ่อนอักเสบ ฯลฯ ซึ่งพบไม่บ่อยนัก จากประวัติอาการปวด, ตรวจ<br />\nร่างกาย, เอ็กซเรย์\n</p>\n<p>\nรวมถึงการตรวจทางห้องทดลอง (เลือด, ปัสสาวะ) ก็สามารถให้การวินิจฉัยได้ถูกต้อง<br />\nพอสมควรอยู่แล้ว \n</p>\n<p>\nการรักษา ที่ดีที่สุด คือ ป้องกันสาเหตุ ได้แก่\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">1. ลดน้ำหนักตัว</span> ไม่ใช่การอดอาหาร แต่เป็นการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่งดเว้นการกินอาหาร ที่มีแคลอรี่สูง มากเกิน ความจำเป็น เช่น ดื่มน้ำหวาน\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">2. ท่าทางเหมาะสม</span>\n</p>\n<p>\n    <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ท่ายืน ที่ถูกต้อง คือ แขม่วท้องอกผายไหล่ผึ่งเอวแอ่นน้อยที่สุด ถ้าต้องยืนเป็นเวลานานควรมี\n</p>\n<p>\n   <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ที่พักเท้า การยืนห่อไหล่พุงยื่น ทำให้เอวแอ่น มากปวดหลังได้\n</p>\n<p>\n    <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ท่านั่ง ที่ถูกต้อง สันหลังตรงพิงพนัก เก้าอี้สูงพอดี และควรมีที่พักแขน การนั่งห่างจากโต๊ะ มากทำให้กล้ามเนื้อหลังทำงานมากที่นั่ง  เหมาะสม ที่สุดในการพักผ่อน ควรเอียง 60 องศาจากแนวตั้ง มีส่วนหนุนหลัง มีที่วางแขน ทำด้วยวัสดุนุ่มแต่แน่น\n</p>\n<p>\n    <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ท่านั่งขับรถ ที่ถูกต้อง หลังพิงพนัก เข่างอเหนือระดับสะโพก การนั่งห่างเกินไป ทำให้เข่าต้อง เหยียดออกกระดูกสันหลังตึง\n</p>\n<p>\n    <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ท่ายกของ ที่ถูกต้อง ควรย่อตัว ยกของให้ชิดตัว แล้วลุกด้วยกำลังขา การก้มลงหยิบของในลักษณะเข่าเหยียดตรง ทำให้ปวดหลังได้\n</p>\n<p>\n    <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ท่าถือของ ที่ถูกต้องควรให้ชิดตัวที่สุด การถือของห่างจากลำตัว ทำให้กล้ามเนื้อหลังทำงานหนักปวดหลังได้\n</p>\n<p>\n    <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ท่าเข็นรถ ที่ถูกต้อง ควรดันไปข้างหน้า ออกแรงที่กล้ามท้อง การดึง ถอยหลังจะออกแรงที่กล้ามเนื้อ หลังเป็นเหตุให้ปวดหลัง\n</p>\n<p>\n    <img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-smile.gif\" alt=\"Smile\" title=\"Smile\" />ท่านอน ที่นอน ควรจะแน่น ยุบตัวน้อยที่สุด ไม่ควรใช้ฟูกฟองน้ำ หรือเตียงสปริง เพราะหลัง จะจมอยู่ในแอ่ง ทำให้กระดูกสันหลังแอ่น  มากปวดหลังได้\n</p>\n<p>\n       - นอนคว่ำ จะทำให้กระดูกสันหลังแอ่นมากที่สุด โดยเฉพาะระดับเอว ทำให้ปวดหลังได้<br />\n       - นอนหงาย ทำให้หลังแอ่นได้เล็กน้อย ควรใช้หมอนข้างใบใหญ่ หนุนใต้ โคนขา จะช่วยให้กระดูกสันหลังไม่แอ่น<br />\n       - นอนตะแคง เป็นท่านอนที่ดี ควรให้ขาล่างเหยียดตรง ขาบนงอ สะโพก และเข่ากอดหมอนข้าง\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #000000\">3. การออกกำลังกาย</span><br />\nกระดูกสันหลังปกติรับน้ำหนักมากอาจหลุดได้ แต่นักกีฬายกน้ำหนัก ได้มาก เพราะมีกล้ามเนื้อท้อง <br />\nแข็งแรง เปรียบเสมือนมีลูกบอลคอยช่วย รับน้ำหนักไว้ การออกกำลังกายที่จำเป็นต้องทำเป็นประจำ\n</p>\n<p>\n4. เรียนรู้การใช้กิริยาท่าทางที่ถูกต้องในชีวิตประจำวัน\n</p>\n<p>\n5. หลีกเหลี่ยงการอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลานาน\n</p>\n<p>\n6.หลีกเหลี่ยงการใช้แรงงานมาก ๆ และรู้ถึงขีดจำกัดกำลังของตัวเองในการยกของหนัก\n</p>\n<p>\n7. ควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้อ้วน ซึ่งทำให้กระดูกสันหลังส่วนเอวต้องรับน้ำหนักมาก โดย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์สำหรับร่างกายให้ครบทุกประเภท\n</p>\n<p>\n8. บำรุงรักษาสุขภาพร่างกายทั่วไปให้แข็งแรงสมบูรณ์อยู่เสมอ ร่วมกับการออกกำลังกาย  กลางแจ้ง เช่น วิ่ง ว่ายน้ำ รำมวยจีน จะช่วยลดอาการปวดหลังจากการทำงาน\n</p>\n<p>\n9. ปรึกษาแพทย์และรับการรักษาอย่างถูกต้องตั้งแต่เริ่มมีอาการ หรือสังเกตุเห็นความผิดปกติ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>แหล่งที่มา</strong> : <a href=\"http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm\"><span style=\"color: #000000\"><u>http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm</u></span></a>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><u><strong>วิธีการปฏิบัติตน</strong></u></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7314/back_011.jpg\" height=\"320\" style=\"width: 396px; height: 337px\" />\n</div>\n<p>     </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7314/back_012.jpg\" height=\"407\" style=\"width: 396px; height: 392px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><strong>ภาพจาก</strong> : <a href=\"http://content.mthai.com/upload_images/0-jaja/Beauty/April_2009/back_011.jpg\"><span style=\"color: #000000\">http://content.mthai.com/upload_images/0-jaja/Beauty/April_2009/back_011.jpg</span></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">                               </span><a href=\"http://content.mthai.com/upload_images/0-jaja/Beauty/April_2009/back_012.jpg\"><span style=\"color: #000000\">http://content.mthai.com/upload_images/0-jaja/Beauty/April_2009/back_012.jpg</span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\">การ</span><span style=\"background-color: #ffff00\">บริหารร่างกายป้องกันอาการปวดหลัง</span>\n</p>\n<p>\n1. ประโยชน์ <br />\n1.1 ทำให้กล้ามเนื้อคลายตัวไม่เกร็ง และแข็งแรงอยู่เสมอ <br />\n1.2 กระดูกและข้อเสื่อมช้าลง\n</p>\n<p>\n2. หลักการ <br />\n2.1 เป็นการออกกำลังบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ หน้าท้อง หลัง <br />\n       ตะโพก และต้นขา และเพื่อยึดกล้ามเนื้อด้านหลังของหลังและขา <br />\n2.2 ควรออกกำลังบริหารด้วยความตั้งใจ ทำช้า ๆ ไม่หักโหม บริหารอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง <br />\n       เช้า – เย็น และในแต่ละท่าการบริหารทำประมาณ 10 ครั้ง <br />\n2.3 ท่าบริหารท่าใดท่าที่ทำแล้วมีอาการปวดหลังมากขึ้น ให้งดทำในท่านั้น ๆ\n</p>\n<p>\n3. ท่าการบริหารป้องกันอาการปวดหลัง <br />\nท่านเตรียมบริหาร นอนหงายบนที่ราบ ศรีษะหนุนหมอน ขาเหยียดตรง มือวางข้างลำตัว\n</p>\n<p>\nท่าที่ 1 ยืดกล้ามเนื้อด้านหลังของขา <br />\nเริ่มในท่าเตรียมบริหาร ตั้งเข่าข้างหนึ่งขึ้นและวางเท้าราบกับพื้น ส่วนขาอีกข้างหนึ่งเหยียดตรง<br />\nวางราบกับพื้น ยกขาที่เหยียดตรงนี้ขึ้นให้สูงที่สุดเท่าที่ยกได้ โดยแผ่นหลังแนบกับพื้นตลอดเวลา<br />\nไม่เคลื่อนไหว แล้วจึงค่อย ๆ วางขานี้ลงราบกับพื้นเหมือนเดิม พักสักครู่ ทำประมาณ 10 ครั้ง <br />\nแล้วจึงสลับบริหารขากอีกข้างหนึ่งในลักษณะเดียวกัน\n</p>\n<p>\nท่าที่ 2 เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้องและตะโพก                                                                                      และลดความแอ่นของหลัง เริ่มในท่าเตรียมบริหาร ตั้งเข่าทั้งสองข้างขึ้น วางเท้าราบกับพื้น หายใจเข้าและออกช้า ๆ <br />\nพร้อมกับแขม่วหน้าท้อง กดหลังให้ติดแนบกับพื้น และเกร็งกล้ามเนื้อก้น [ขณะเกร็งกล้ามเนื้อก้น ก้นจะยกลอยขึ้น]                         ทำค้างไว้นานนับ 1-5 หรือ 5 วินาที และจึงคล้าย พักสักครู่และทำใหม่ในลักษณะเดียวกัน 10 ครั้ง\n</p>\n<p>\nท่าที่ 3 ยืดกล้ามเนื้อหลัง                                                                                                                                เริ่มในท่าเตรียมบริหาร ตั้งเข่าทั้งสองข้างเอามือกอดเข่าเข้ามาให้ชิดอก และยกศรีษะเข้ามา<br />\nให้คางชิดเข่า ทำค้างไว้นานนับ 1-10 แล้วจึงคลาย พักสักครู่ และเริ่มบริหารใหม่ในลักษณะ<br />\nเดียวกัน ทำประมาณ 10 ครั้ง\n</p>\n<p>\nท่าที่ 4 ยืดกล้ามเนื้อตะโพก <br />\nเริ่มในท่าเตรียมบริหาร เอามือกอดเข่าข้างหนึ่งเข้ามาให้ชิดอก พร้อมกับขาอีกข้างเหยียดตรง<br />\nเกร็งแนบกับพื้น ทำค้างไว้นานนับ 1-10 แล้วจึงคลาย พักสักครู่ทำประมาณ 10 ครั้ง แล้วจึง<br />\nสลับบริหารขาอีกข้างหนึ่งในลักษณะเดียวกัน\n</p>\n<p>\nท่าที่ 5 ยืดกล้ามเนื้อสีข้าง <br />\nเริ่มในท่าเตรียมบริหาร ตั้งเข่าข้างหนึ่งขึ้นหันเข้าด้านในของลำตัว พร้อมกับใช้สันเท้า<br />\nของอีกขาหนึ่งกอดเข่าที่ตั้งให้ติดพื้น โดยที่ไหล่ทั้งสองข้างติดพื้นตลอดเวลา ทำค้างไว้<br />\nนานนับ 1-10 แล้วจึงคลาย พักสักครู่ และเริ่มบริหารใหม่ ทำประมาณ 10 ครั้ง แล้วจึงสลับ<br />\nบริหารขาอีกข้างหนึ่งในลักษณะเดียวกัน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"430\" src=\"/files/u7314/090603backp23456.jpg\" height=\"466\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>ภาพจาก</strong> :<span style=\"color: #000000\"> </span><a href=\"http://health2u.exteen.com/images/blog2009b/090603backp23456.jpg\"><span style=\"color: #000000\">http://health2u.exteen.com/images/blog2009b/090603backp23456.jpg</span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>แหล่งที่มาข้อมูล</strong> : <a href=\"http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm\"><span style=\"color: #000000\">http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm</span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>สะท้อนความคิดเห็น</strong></span>\n</p>\n<p>\nการปวดหลังที่บางคนอาจจะมองข้ามคิดว่าเป็นปัญหาเพียงเล็กน้อย แต่ถ้าหากปล่อยไว้นานหรือทำกิจกรรมเดิมๆที่ก่อให้เกิดอาการปวดหลังโดยไม่ทราบแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้อง อาจเป็นปัญหาใหญ่ที่ก่อให้เกิดโรคปวดหลังได้ไม่เพียงเท่านั้นโรคนี้อาจจะกลายเป็นอาการปวดหลังเรื้อรังและจากปัญหาเพียงเล็กน้อยก็อาจทำให้เกิดเป็นปัญหาใหญ่ในที่สุด\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ทำไมจึงสนใจศึกษาเรื่องนี้</span></strong>\n</p>\n<p>\nเนื่องจากบิดาของข้าพเจ้าประสบอุบัติเหตุลื่นล้ม จึงเกิดอาการปวดหลังแต่ไม่ยอมไปพบแพทย์ เพราะคิดว่าจะหายไปเองแต่เมื่อเป็นเช่นนี้นานเข้าอาการจึงยิ่งทวีความรุนแรงจนเกิดอาการปวดหลังอย่างรุนแรง จึงได้ไปพบแพทย์ ผลตรวจออกมาว่าหมอนรองกระดูกเคลื่อน จึงได้ลองรักษามาแล้วหลายวิธีด้วยกัน เช่น การกายภาพบำบัด ฝั่งเข็ม นวดแผนโบราณ แต่ก็ทำได้เพียงแค่ให้อาการทุเลาลงเท่านั้นไม่หายขาด ข้าพเจ้าจึงสนใจที่อยากจะรู้วิธีการปฏิบัติตนที่ถูกต้องให้หายจากอาการปวดหลัง และวิธีออกกำลังกายที่ถูกวิธีสำหรับคนปวดหลัง เพื่อจะได้นำข้อมูลเหล่านี้ไปบอกบิดา และอยากเตือนให้ทุกคนตระหนักถึงอาการปวดหลังที่คิดว่าไม่ร้ายแรงแต่แท้จริงแล้วกลับเป็นโรคที่น่ากลัวและทรมานโรคหนึ่งที่ทุกคนมองข้ามไป ซึ่งหากเป็นแล้วการจะรักษาให้หายขาดนั้นเป็นเรื่องที่ยากมาก\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>คิดอย่างไรกับโรคนี้</strong></span>\n</p>\n<p>\nข้าพเจ้าคิดว่าหากมองไม่ลึกก็เป็นอาการชนิดหนึ่งที่เป็นเวลา ยกของหนัก หรือ ทำกิริยาท่าทางต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันไม่ถูกต้อง ซึ่งอาจจะหายไปเองแต่หากทำซ้ำๆเช่นเดิมทุกๆวันก็อาจก่อให้เกิดการสะสมทำให้เกิดเป็นโรคปวดหลังซึ่งเป็นโรคที่ทรมาน และรักษายาก\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1715689030, expire = 1715775430, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b90f7a8f462b1982dee23ec415223c91' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคปวดหลัง

รูปภาพของ sss27152

ภาพจาก : http://www.thailabonline.com/diseasegeneral/spine.jpg

 

ชื่อภาษาไทย : โรคปวดกล้ามเนื้อหลัง

ชื่อภาษาอังกฤษ : Musculotendinous Strain

ชื่อย่อ : โรคปวดหลัง (Back pain)

ผู้ค้นพบ :  ไม่ปรากฏผู้ค้นพบที่แน่ชัดแต่ได้มีการยื่นยันจากองค์กรอนามัยโรคแล้วว่าเป็นโรคชนิดหนึ่ง

กลุ่มโรค : ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก

ลักษณะทั่วไป : โรคปวดกล้ามเนื้อหลัง เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดของอาการปวดหลัง พบได้ตั้งแต่วัยหนุ่ม สาวเป็นต้นไป   เป็นภาวะที่ไม่มีอันตรายร้ายแรง และมักจะหายได้เอง แต่อาจเป็นๆ หาย ๆ  เรื้อรังได้

แหล่งที่มาข้อมูล : http://www.thailabonline.com/sec21muscularstrain.htm

รูปภาพของ pch6264

แวะเข้ามา ชม

 ^^  ดีจ้า Tongue out

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 467 คน กำลังออนไลน์