• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1fe87f663b165ea515d671dbc7139030' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nโรคคิคูชิ (Kikushi Disease) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า Histiocytic Necrotizing Lymphadenitis หรือ Kikushi-Fujimoto disease\n</p>\n<p>\n    เป็นโรคที่พบได้น้อยมาก และยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดคาดกันว่า สาเหตุที่ทำให้เกิดโรค เป็นผลมาจากการติดเชื้อบางอย่าง\n</p>\n<p>\n -อยู่ในกลุ่มโรคประเภท-\n</p>\n<p>\n    โรคต่อมน้ำเหลืองโตแบบไม่ติดเชื้อ ไม่มีสาเหตุของโรค และเป็นโรคที่เกิดกับคนผิวขาว\n</p>\n<p>\n-ผู้ค้นพบ-\n</p>\n<p>\n    แพทย์ญี่ปุ่นเป็นผู้ค้นพบโรคนี้ จึงเป็นที่มาของชื่อโรค\n</p>\n<p>\n -สาเหตุของการเกิดโรค-\n</p>\n<p>\n      เกิดจากเชื้อ Cytomegalovirus, Epstein-Barr virus, Herpes virus, Varicella-zoster virus, Parainfluenza virus, <br />\n      Parvovirus B19 และ Paramyxovirus\n</p>\n<p>\n      นอกจากนี้ ยังมีบางทฤษฎีที่เชื่อว่า Kikushi มีความเกี่ยวเนื่องกับโรค SLE ด้วย หรืออาการคล้าย กับโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ซึ่งการแยกให้ชัดเจน จำเป็นจะต้องทำการใช้เข็มเจาะดูด หรือผ่าเอาต่อม น้ำเหลืองมาตรวจจึงจะตอบได้แต่สาเหตุที่แน่ชัดยังต้องรอการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมต่อไป\n</p>\n<p>\n-อาการของโรค-\n</p>\n<p>\n  ลักษณะของโรคมักเป็นดังนี้\n</p>\n<p>\n1. 63% ของผู้ป่วยที่รวบรวมมา 108 คนเป็นคนผิวขาว\n</p>\n<p>\n2. พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณ 3:1\n</p>\n<p>\n3. สามารถพบได้ในผู้ป่วยอายุ 4-75 ปี แต่ส่วนใหญ่มักพบในวัยหนุ่มสาว เฉลี่ยอายุประมาณ 30 ปี \n</p>\n<p>\n    อาการที่แสดงออกมา\n</p>\n<p>\n1. ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต\n</p>\n<p>\n2. มักจะเป็นต่อมน้ำเหลืองโดดๆ\n</p>\n<p>\n3. อาจมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ร่วมด้วย (50% ของผู้ป่วยทั้งหมด) เช่น ปวดหัว, อาเจียน, ปวด เมื่อยตามตัว, น้ำหนัก ลด, ปวดข้อ, \n</p>\n<p>\n    ผื่นขึ้น, ปวดท้อง\n</p>\n<p>\n4. อาการอื่นๆ ที่พบได้บ้างแต่น้อยได้แก่ ตับม้ามโต, เยื่อหุ้มสมองอักเสบ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n-วิธีรักษา-\n</p>\n<p>\n    โรค Kikushi ส่วนใหญ่จะหายได้เอง คือใช้เวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์ หรืออาจ ไปจนถึง 6 เดือน โอกาสเป็นซ้ำแค่ 3% และอัตราตายน้อยมาก เท่าที่ทราบตอนนี้มีแค่ 3 รายเท่านั้น ดังนั้นถ้าพิสูจน์ทราบว่าเป็นโรคนี้ ก็ยังไม่ต้องแตกตื่นตกใจครับ ถือเป็นโรคที่มีการพยากรณ์โรคที่ค่อน ข้างดี การรักษาในทางการแพทย์แบบแผน โดยทั่วไปจะให้ยาในกล่ม NSAID แต่ถ้าอาการเป็นมาก แพทย์อาจ ใช้ยาในกลุ่ม Steroid ร่วมด้วย\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1715657695, expire = 1715744095, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1fe87f663b165ea515d671dbc7139030' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคคิคูชิ

รูปภาพของ sss27171

โรคคิคูชิ (Kikushi Disease) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า Histiocytic Necrotizing Lymphadenitis หรือ Kikushi-Fujimoto disease

    เป็นโรคที่พบได้น้อยมาก และยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดคาดกันว่า สาเหตุที่ทำให้เกิดโรค เป็นผลมาจากการติดเชื้อบางอย่าง

 -อยู่ในกลุ่มโรคประเภท-

    โรคต่อมน้ำเหลืองโตแบบไม่ติดเชื้อ ไม่มีสาเหตุของโรค และเป็นโรคที่เกิดกับคนผิวขาว

-ผู้ค้นพบ-

    แพทย์ญี่ปุ่นเป็นผู้ค้นพบโรคนี้ จึงเป็นที่มาของชื่อโรค

 -สาเหตุของการเกิดโรค-

      เกิดจากเชื้อ Cytomegalovirus, Epstein-Barr virus, Herpes virus, Varicella-zoster virus, Parainfluenza virus, 
      Parvovirus B19 และ Paramyxovirus

      นอกจากนี้ ยังมีบางทฤษฎีที่เชื่อว่า Kikushi มีความเกี่ยวเนื่องกับโรค SLE ด้วย หรืออาการคล้าย กับโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง ซึ่งการแยกให้ชัดเจน จำเป็นจะต้องทำการใช้เข็มเจาะดูด หรือผ่าเอาต่อม น้ำเหลืองมาตรวจจึงจะตอบได้แต่สาเหตุที่แน่ชัดยังต้องรอการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมต่อไป

-อาการของโรค-

  ลักษณะของโรคมักเป็นดังนี้

1. 63% ของผู้ป่วยที่รวบรวมมา 108 คนเป็นคนผิวขาว

2. พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณ 3:1

3. สามารถพบได้ในผู้ป่วยอายุ 4-75 ปี แต่ส่วนใหญ่มักพบในวัยหนุ่มสาว เฉลี่ยอายุประมาณ 30 ปี 

    อาการที่แสดงออกมา

1. ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต

2. มักจะเป็นต่อมน้ำเหลืองโดดๆ

3. อาจมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ร่วมด้วย (50% ของผู้ป่วยทั้งหมด) เช่น ปวดหัว, อาเจียน, ปวด เมื่อยตามตัว, น้ำหนัก ลด, ปวดข้อ, 

    ผื่นขึ้น, ปวดท้อง

4. อาการอื่นๆ ที่พบได้บ้างแต่น้อยได้แก่ ตับม้ามโต, เยื่อหุ้มสมองอักเสบ

 

-วิธีรักษา-

    โรค Kikushi ส่วนใหญ่จะหายได้เอง คือใช้เวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์ หรืออาจ ไปจนถึง 6 เดือน โอกาสเป็นซ้ำแค่ 3% และอัตราตายน้อยมาก เท่าที่ทราบตอนนี้มีแค่ 3 รายเท่านั้น ดังนั้นถ้าพิสูจน์ทราบว่าเป็นโรคนี้ ก็ยังไม่ต้องแตกตื่นตกใจครับ ถือเป็นโรคที่มีการพยากรณ์โรคที่ค่อน ข้างดี การรักษาในทางการแพทย์แบบแผน โดยทั่วไปจะให้ยาในกล่ม NSAID แต่ถ้าอาการเป็นมาก แพทย์อาจ ใช้ยาในกลุ่ม Steroid ร่วมด้วย


 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 490 คน กำลังออนไลน์